ข้ามไปเนื้อหา

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23
ชุดที่ 22 ชุดที่ 24
ภาพรวม
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมอาคารรัฐสภาไทย
วาระ23 ธันวาคม 2550 – 10 พฤษภาคม 2554
(3 ปี 138 วัน)
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีสมัคร (2551)
คณะรัฐมนตรีสมชาย (2551)
คณะรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ (2551-2554)
ฝ่ายค้านพรรคประชาธิปัตย์ (2551)
พรรคเพื่อไทย และพรรคร่วมฝ่ายค้าน 2 พรรค (2551-2554)
สภาผู้แทนราษฎร
สมาชิก480
ประธานยงยุทธ ติยะไพรัช
จนถึง 30 เมษายน 2551
ชัย ชิดชอบ
ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2551
รองประธานคนที่ 1สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
จนถึง 19 กันยายน 2551
สามารถ แก้วมีชัย
ตั้งแต่ 13 ตุลาคม 2551
รองประธานคนที่ 2พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย
นายกรัฐมนตรีสมัคร สุนทรเวช
จนถึง 9 กันยายน 2551
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
จนถึง 2 ธันวาคม 2551
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ตั้งแต่ 17 ธันวาคม 2551
ผู้นำฝ่ายค้านอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
จนถึง 17 ธันวาคม 2551
พรรคครองพรรคพลังประชาชน (2551)
พรรคประชาธิปัตย์ (2551-2554)
สมัยประชุม
ที่ 121 มกราคม – 20 พฤษภาคม 2551
ที่ 21 สิงหาคม – 28 พฤศจิกายน 2551
ที่ 321 มกราคม – 20 พฤษภาคม 2552
ที่ 41 สิงหาคม – 28 พฤศจิกายน 2552
ที่ 521 มกราคม – 20 พฤษภาคม 2553
ที่ 61 สิงหาคม – 28 พฤศจิกายน 2553
ที่ 721 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2554
สมัยประชุมวิสามัญ
ที่ 115 ธันวาคม 2551 – 9 มกราคม 2552
ที่ 225 พฤษภาคม – 22 มิถุนายน 2552
ที่ 324 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน 2553

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และประกาศยุบสภาในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

องค์ประกอบของสภา[แก้]

สภาผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 480 ที่นั่ง

พรรค จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ผลการเลือกตั้ง ณ วันสิ้นอายุสภา
เพื่อไทย - 184
ประชาธิปัตย์ 165 172
ภูมิใจไทย - 37
เพื่อแผ่นดิน 24 31
ชาติไทยพัฒนา - 24
รวมชาติพัฒนา 9 9
ประชาราช 5 8
กิจสังคม - 5
มาตุภูมิ - 3
พลังประชาชน 233 -
ชาติไทย 37 -
มัชฌิมาธิปไตย 7 -
รวม 480 473
ว่าง - 7

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน[แก้]

ได้รับการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ
ออกจากตำแหน่ง
ได้รับเลื่อนขึ้นมาภายหลัง

มีรายนามดังนี้

พรรคประชาธิปัตย์ (33)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 1
1 เทอดพงษ์ ไชยนันทน์
2 สามารถ ราชพลสิทธิ์
3 พลเอกพิชาญเมธ ม่วงมณี
4 สุรสิทธิ์ ตรีทอง
กลุ่มจังหวัดที่ 2
1 ไพฑูรย์ แก้วทอง
2 มาลินี สุขเวชชวรกิจ ลาออก 13 ตุลาคม พ.ศ. 2551
3 พุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย
4 สัญชัย อินทรสูตร เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2551[1]
กลุ่มจังหวัดที่ 3
1 สุทัศน์ เงินหมื่น
2 รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท
กลุ่มจังหวัดที่ 4
1 วิฑูรย์ นามบุตร
2 ดนัย นพสุวรรณวงศ์
กลุ่มจังหวัดที่ 5
1 ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
2 สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์
3 พันเอกวินัย สมพงษ์
4 ภุชงค์ รุ่งโรจน์
กลุ่มจังหวัดที่ 6
1 อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
2 เจริญ คันธวงศ์
3 หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ลาออก 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
4 ผุสดี ตามไท
5 ประกอบ จิรกิติ ลาออก 14 ตุลาคม พ.ศ. 2551
6 บุรณัชย์ สมุทรักษ์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551[2]
7 อานิก อัมระนันทน์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551[3]
กลุ่มจังหวัดที่ 7
1 พลตรีมนูญกฤต รูปขจร ลาออก 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
2 นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
3 สุวโรช พะลัง
4 อรรถพร พลบุตร
5 ปัญญวัฒน์ บุญมี
6 บรรพต ต้นธีรวงศ์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551[4]
กลุ่มจังหวัดที่ 8
1 ชวน หลีกภัย
2 บัญญัติ บรรทัดฐาน
3 ไตรรงค์ สุวรรณคีรี
4 จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
5 ชำนิ ศักดิเศรษฐ์
6 นิพนธ์ บุญญามณี
7 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีรยศ ราฮิมมูลา
8 เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์


พรรคเพื่อไทย (27)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 1
- ถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- สุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- นิคม เชาว์กิตติโสภณ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- สมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
กลุ่มจังหวัดที่ 2
- สันติ พร้อมพัฒน์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- สุนัย จุลพงศธร ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- กฤษณา สีหลักษณ์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- สุชน ชามพูนท ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- สุรชัย เบ้าจรรยา ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
กลุ่มจังหวัดที่ 3
- ชวลิต วิชยสุทธิ์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- ธนเทพ ทิมสุวรรณ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- ชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
กลุ่มจังหวัดที่ 4
- อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- พลตำรวจเอกวิรุฬห์ พื้นแสน ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- พฤฒิชัย วิริยะโรจน์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- ประเกียรติ นาสิมมา ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
กลุ่มจังหวัดที่ 5
- วิรุฬ เตชะไพบูลย์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- สมพล เกยุราพันธุ์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- อัสนี เชิดชัย ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
กลุ่มจังหวัดที่ 6
- ร้อยตำรวจเอกเฉลิม อยู่บำรุง ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- จตุพร พรหมพันธุ์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
กลุ่มจังหวัดที่ 7
- พลตรีศรชัย มนตริวัต ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- ร้อยตำรวจโทเชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- เรวัต สิรินุกุล ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน


พรรคเพื่อแผ่นดิน (7)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 1
1 สุรเดช ยะสวัสดิ์
กลุ่มจังหวัดที่ 2
1 สมเกียรติ ศรลัมพ์ ลาออก 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
2 อรรถพล ชัยนันท์สมิตย์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2554[5]
กลุ่มจังหวัดที่ 3
1 พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก ลาออก 18 เมษายน พ.ศ. 2554[6]
(ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย ทำให้การเป็นสมาชิกของพรรคเพื่อแผ่นดินสิ้นสุดลง)
2 กว้าง รอบคอบ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2554[7]
กลุ่มจังหวัดที่ 4
1 วัลลภ ไทยเหนือ
กลุ่มจังหวัดที่ 5
1 ปุระพัฒน์ วิเศษจินดาวัฒนา
กลุ่มจังหวัดที่ 6
1 หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ไชยันต์ พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล
2 ถิรชัย วุฒิธรรม เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553[8]
ลาออก 22 เมษายน พ.ศ. 2554[9]
(ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย ทำให้การเป็นสมาชิกของพรรคเพื่อแผ่นดินสิ้นสุดลง)
5 พฤฒิชัย ดำรงรัตน์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2554[10]
(ข้ามลำดับที่ 3-4)
กลุ่มจังหวัดที่ 8
1 มานพ ปัตนวงศ์

พรรคภูมิใจไทย (3)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 3
- วีระ รักความสุข ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน, เสียชีวิต[11]
- ภูมิพัฒน์ พชรทรัพย์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
กลุ่มจังหวัดที่ 4
- ชัย ชิดชอบ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน
- เพิ่มพูน ทองศรี ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน

พรรคกิจสังคม (1)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 3
- เทวฤทธิ์ นิกรเทศ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน


พรรครวมชาติพัฒนา (1)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 5
1 พลเอกเชษฐา ฐานะจาโร ลาออก
2 วิรัช รัตนเศรษฐ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2551[12]


พรรคประชาราช (1)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 5
1 เสนาะ เทียนทอง


พรรคมาตุภูมิ (1)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 8
- อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ ย้ายมาจากพรรคพลังประชาชน



พรรคชาติไทยพัฒนา (1)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 2
- อัศวิน วิภูศิริ ย้ายมาจากพรรคชาติไทย



พรรคพลังประชาชน (0)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 1
1 ยงยุทธ ติยะไพรัช ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
2 สมชาย วงศ์สวัสดิ์ ยุบพรรค ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
3 สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ ลาออก 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551[13]
4 พันตำรวจโทกานต์ เทียนแก้ว ลาออก 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551[13]
5 สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ ลาออก 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551[13]
6 ถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2551[14]
ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
7 สุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
9 นิคม เชาว์กิตติโสภณ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
(ข้ามลำดับที่ 8)
10 สมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
กลุ่มจังหวัดที่ 2
1 สันติ พร้อมพัฒน์ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
2 รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล ลาออก 26 กันยายน พ.ศ. 2551
3 สุนัย จุลพงศธร ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
4 - ทองปักษ์ เพียงเกษ
ถึงแก่กรรมระหว่างช่วงก่อนวันลงคะแนน วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2550
5 กฤษณา สีหลักษณ์ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
6 สุชน ชามพูนท ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
7 สุรชัย เบ้าจรรยา เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2551[15]
ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
กลุ่มจังหวัดที่ 3
1 ศรีเมือง เจริญศิริ ลาออก 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
2 ชวลิต วิชยสุทธิ์ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
3 สุขุมพงศ์ โง่นคำ ลาออก[13]
4 ธนเทพ ทิมสุวรรณ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
5 กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
6 เทวฤทธิ์ นิกรเทศ ย้ายไปสังกัดพรรคกิจสังคม
7 วีระ รักความสุข ย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย
8 ชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551[16], ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
9 ภูมิพัฒน์ พชรทรัพย์ ย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย
กลุ่มจังหวัดที่ 4
1 สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี ลาออก[13]
2 ชัย ชิดชอบ ย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย
3 เพิ่มพูน ทองศรี ย้ายไปสังกัดพรรคภูมิใจไทย
4 อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
5 พลตำรวจเอกวิรุฬห์ พื้นแสน ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
6 พฤฒิชัย วิริยะโรจน์ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
8 ประเกียรติ นาสิมมา ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย (ข้ามลำดับที่ 7)
กลุ่มจังหวัดที่ 5
1 วิรุฬ เตชะไพบูลย์ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
2 สมพล เกยุราพันธุ์ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
3 อัสนี เชิดชัย ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
กลุ่มจังหวัดที่ 6
1 สมัคร สุนทรเวช ลาออก 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
2 ร้อยตำรวจเอกเฉลิม อยู่บำรุง ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
3 มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
4 จตุพร พรหมพันธุ์ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
5 มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2551[17], ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
กลุ่มจังหวัดที่ 7
1 ไชยา สะสมทรัพย์ ลาออก 24 พ.ย.51
2 พลตรีศรชัย มนตริวัต ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
3 ร้อยตำรวจโทเชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
4 เรวัต สิรินุกุล เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551[18]
ย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย
กลุ่มจังหวัดที่ 8
1 อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ ย้ายไปสังกัดพรรคมาตุภูมิ


พรรคชาติไทย (0)[แก้]

# รายนาม เพิ่มเติม
กลุ่มจังหวัดที่ 2
1 อัศวิน วิภูศิริ ย้ายไปสังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา
กลุ่มจังหวัดที่ 4
1 วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ ยุบพรรค ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
กลุ่มจังหวัดที่ 7
1 กัญจนา ศิลปอาชา ยุบพรรค ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
2 ประภัตร โพธสุธน ยุบพรรค ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต[แก้]

มีรายนามดังนี้ [19]

กรุงเทพมหานคร[แก้]

หน่วยการปกครอง เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กรุงเทพมหานคร 1 หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล พรรคประชาธิปัตย์
อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ พรรคประชาธิปัตย์
เจิมมาศ จึงเลิศศิริ พรรคประชาธิปัตย์
2 กรณ์ จาติกวณิช พรรคประชาธิปัตย์
สมเกียรติ ฉันทวานิช พรรคประชาธิปัตย์ พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล
อภิรักษ์ โกษะโยธิน พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 12 ธ.ค. 2553
อนุชา บูรพชัยศรี พรรคประชาธิปัตย์
3 พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค พรรคประชาธิปัตย์
ธนา ชีรวินิจ พรรคประชาธิปัตย์
สรรเสริญ สมะลาภา พรรคประชาธิปัตย์
4 บุญยอด สุขถิ่นไทย พรรคประชาธิปัตย์
อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี พรรคประชาธิปัตย์
สกลธี ภัททิยกุล พรรคประชาธิปัตย์
5 อนุสรณ์ ปั้นทอง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
การุณ โหสกุล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
6 สมัย เจริญช่าง พรรคประชาธิปัตย์
ทิวา เงินยวง พรรคประชาธิปัตย์ เสียชีวิต
พนิช วิกิตเศรษฐ์ พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 25 ก.ค. 2553
ไพโรจน์ อิสรเสรีพงษ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
7 ดนุพร ปุณณกันต์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วิชาญ มีนชัยนันท์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ พรรคประชาธิปัตย์
8 คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช พรรคประชาธิปัตย์
สามารถ มะลูลีม พรรคประชาธิปัตย์
สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ พรรคประชาธิปัตย์
9 นันทพร วีรกุลสุนทร พรรคประชาธิปัตย์
สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
วิลาศ จันทร์พิทักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
10 ถวิล ไพรสณฑ์ พรรคประชาธิปัตย์
สากล ม่วงศิริ พรรคพลังประชาชนพรรคประชาธิปัตย์
สุวัฒน์ วรรณศิริกุล พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
11 อรอนงค์ คล้ายนก พรรคประชาธิปัตย์
โกวิทย์ ธารณา พรรคประชาธิปัตย์
สุธา ชันแสง พรรคพลังประชาชน ลาออก
วัชระ เพชรทอง พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 26 ต.ค. 2551
12 องอาจ คล้ามไพบูลย์ พรรคประชาธิปัตย์
ชนินทร์ รุ่งแสง พรรคประชาธิปัตย์
รัชดา ธนาดิเรก พรรคประชาธิปัตย์

ภาคกลาง[แก้]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กำแพงเพชร 1 นายแพทย์ปรีชา มุสิกุล พรรคประชาธิปัตย์
สุขวิชชาญ มุสิกุล พรรคประชาธิปัตย์
สำราญ ศรีแปงวงค์ พรรคประชาธิปัตย์
2 ปริญญา ฤกษ์หร่าย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
อนันต์ ผลอำนวย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ชัยนาท 1 นันทนา สงฆ์ประชา พรรคชาติไทย
พรทิวา นาคาศัย พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย เลือกตั้งใหม่ 27 ม.ค. 2551
มณเฑียร สงฆ์ประชา พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ชัยวัฒน์ ทรัพย์รวงทอง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 27 ม.ค. 2551
นครนายก 1 ชาญชัย อิสระเสนารักษ์ พรรคประชาธิปัตย์ ได้รับใบเหลืองก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
เลือกตั้งใหม่ 20 ม.ค. 2551
วุฒิชัย กิตติธเนศวร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นครปฐม 1 สมพัฒน์ แก้วพิจิตร พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
มารุต บุญมี พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
อนุชา สะสมทรัพย์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
รัฐกร เจนกิจณรงค์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 ก่อเกียรติ สิริยะเสถียร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เผดิมชัย สะสมทรัพย์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นครสวรรค์ 1 สมควร โอบอ้อม พรรคประชาธิปัตย์
สงกรานต์ จิตสุทธิภากร พรรคประชาธิปัตย์
สมชัย เจริญชัยฤทธิ์ พรรคประชาราช
2 นิโรธ สุนทรเลขา พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
สัญชัย วงษ์สุนทร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
3 พีระเดช ศิริวันสาณฑ์ พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
พันตำรวจโทนุกูล แสงศิริ พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย
นนทบุรี 1 อุดมเดช รัตนเสถียร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นิทัศน์ ศรีนนท์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
มานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
2 สมบัติ สิทธิกรวงศ์ พรรคประชาธิปัตย์ เสียชีวิต
ณรงค์ จันทนดิษฐ เลือกตั้งใหม่ 25 ม.ค. 2552
ทศพล เพ็งส้ม พรรคประชาธิปัตย์
พันเอกอภิวันท์ วิริยะชัย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ปทุมธานี 1 เอกพจน์ ปานแย้ม พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ชนากานต์ ยืนยง พรรคประชาราช เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
สุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล พรรคชาติไทยพรรคเพื่อไทย
สุทิน นพขำ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 พรพิมล ธรรมสาร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ว่าที่ร้อยตรีสุเมธ ฤทธาคนี พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ชูชาติ หาญสวัสดิ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พระนครศรีอยุธยา 1 สุรเชษฐ์ ชัยโกศล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พ้อง ชีวานันท์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล
เลือกตั้งใหม่ 12 ธ.ค. 2553
2 สุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วิทยา บุรณศิริ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พิจิตร 1 นราพัฒน์ แก้วทอง พรรคประชาธิปัตย์
วินัย ภัทรประสิทธิ์ พรรครวมชาติพัฒนา
2 ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
พิษณุโลก 1 วรงค์ เดชกิจวิกรม พรรคประชาธิปัตย์
นิยม ช่างพินิจ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ พรรคพลังประชาชนพรรคกิจสังคม
2 นคร มาฉิม พรรคประชาธิปัตย์
จุติ ไกรฤกษ์ พรรคประชาธิปัตย์
เพชรบูรณ์ 1 จักรัตน์ พั้วช่วย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วิจิตร พรพฤฒิพันธุ์ พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
สุทัศน์ จันทร์แสงศรี พรรคประชาธิปัตย์ ได้รับใบเหลืองก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
ณรงค์กร ชวาลสันตติ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 20 ม.ค. 2551
2 เอี่ยม ทองใจสด พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เลือกตั้งใหม่ 19 ต.ค. 2551
วันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เลือกตั้งใหม่ 19 ต.ค. 2551
สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เลือกตั้งใหม่ 19 ต.ค. 2551
ลพบุรี 1 กมล จิระพันธุ์วาณิช พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
มัลลิกา จิระพันธุ์วาณิช พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ผ่องศรี ธาราภูมิ พรรคประชาธิปัตย์
สุชาติ ลายน้ำเงิน พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 อำนวย คลังผา พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นิยม วรปัญญา พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สมุทรปราการ 1 อนุสรา ยังตรง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สงคราม กิจเลิศไพโรจน์ พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
สรชา วีรชาติวัฒนา พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
อรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 29 มี.ค. 2552
2 นที สุทินเผือก พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทยพรรคภูมิใจไทย
ย้ายจากพรรคเพื่อไทย 31 สิงหาคม 2553
[20]
จิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทยพรรคภูมิใจไทย
3 ประชา ประสพดี พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นฤมล ธารดำรงค์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สมุทรสงคราม 1 รังสิมา รอดรัศมี พรรคประชาธิปัตย์
สมุทรสาคร 1 ครรชิต ทับสุวรรณ พรรคประชาธิปัตย์
นาวาตรีสุธรรม ระหงษ์ พรรคประชาธิปัตย์
มณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สระบุรี 1 กัลยา รุ่งวิจิตรชัย พรรคประชาธิปัตย์
ร้อยตรีปรพล อดิเรกสาร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย สิ้นสภาพการเป็น สส./ไม่มีเลือกตั้งใหม่[a][21]
2 วีระพล อดิเรกสาร พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
องอาจ วงษ์ประยูร พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
วัชรพงศ์ คูวิจิตรสุวรรณ พรรคประชาธิปัตย์
สิงห์บุรี 1 ชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
โชติวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
สุโขทัย 1 สัมพันธ์ ตั้งเบญจผล พรรคประชาธิปัตย์
วิรัตน์ วิริยะพงษ์ พรรคประชาธิปัตย์
2 สมเจตน์ ลิมปะพันธุ์ พรรคชาติไทยพรรคกิจสังคม
อารยะ ชุมดวง พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคชาติไทยพัฒนา
สุพรรณบุรี 1 บรรหาร ศิลปอาชา พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
นิติวัฒน์ จันทร์สว่าง พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ชาญชัย ประเสริฐสุวรรณ พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
วราวุธ ศิลปอาชา พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
นพดล มาตรศรี พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
2 เสมอกัน เที่ยงธรรม พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
เจรจา เที่ยงธรรม พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ยุทธนา โพธสุธน พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
พัชรี โพธสุธน พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
อ่างทอง 1 สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ภคิน ปริศนานันทกุล พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ภราดร ปริศนานันทกุล พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
อุทัยธานี 1 ชาดา ไทยเศรษฐ์ พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
นพดล พลเสน พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
อดุลย์ เหลืองบริบูรณ์ พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552

ภาคเหนือ[แก้]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
เชียงราย 1 สามารถ แก้วมีชัย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สฤษฏ์ อึ้งอภินันท์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 รังสรรค์ วันไชยธนวงศ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
3 ละออง ติยะไพรัช พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
อิทธิเดช แก้วหลวง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เชียงใหม่ 1 ชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
กฤษดาภรณ์ เสียมภักดี พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 บุญทรง เตริยาภิรมย์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วิทยา ทรงคำ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นพคุณ รัฐผไท พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
3 จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นายแพทย์ไกร ดาบธรรม พรรครวมชาติพัฒนา
ประสิทธิ์ วุฒินันชัย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
4 นรพล ตันติมนตรี พรรคเพื่อแผ่นดิน
สุรพล เกียรติไชยากร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
น่าน 1 นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สิรินทร รามสูต พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วัลลภ สุปริยศิลป์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พะเยา 1 วิสุทธิ์ ไชยณรุณ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
อรุณี ชำนาญยา พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ไพโรจน์ ตันบรรจง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
แพร่ 1 วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย ได้รับใบเหลืองก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
เลือกตั้งใหม่ 20 ม.ค. 2551
นายแพทย์นิยม วิวรรธนดิฐกุล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย ได้รับใบเหลืองก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
เลือกตั้งใหม่ 20 ม.ค. 2551
ปานหทัย เสรีรักษ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย ได้รับใบเหลืองก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
เลือกตั้งใหม่ 20 ม.ค. 2551
แม่ฮ่องสอน 1 สมบัติ ยะสินธุ์ พรรคประชาธิปัตย์
อดุลย์ วันไชยธนวงศ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ลำปาง 1 กิตติกร โล่ห์สุนทร พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
สมโภช สายเทพ พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ธนาธร โล่ห์สุนทร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย ได้รับใบเหลืองก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
เลือกตั้งใหม่ 20 ม.ค. 2551
วาสิต พยัคฆบุตร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
จรัสฤทธิ์ จันทรสุรินทร์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ลำพูน 1 อนุสรณ์ วงศ์วรรณ พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ขยัน วิพรหมชัย พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
สถาพร มณีรัตน์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สงวน พงษ์มณี พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
อุตรดิตถ์ 1 ทนุศักดิ์ เล็กอุทัย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วารุจ ศิริวัฒน์ พรรคพลังประชาชนพรรคกิจสังคม
กนก ลิ้มตระกูล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ 1 บุญรื่น ศรีธเรศ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
คมเดช ไชยศิวามงคล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 ประเสริฐ บุญเรือง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พีระเพชร ศิริกุล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นิพนธ์ ศรีธเรศ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ขอนแก่น 1 ประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
จักริน พัฒน์ดำรงจิตร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ภูมิ สาระผล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 ร้อยโทปรีชาพล พงษ์พานิช พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล
เลือกตั้งใหม่ 12 ธ.ค. 2553
ดวงแข อรรณนพพร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เรืองเดช สุพรรณฝ่าย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
3 นวัธ เตาะเจริญสุข พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ปัญญา ศรีปัญญา พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
จตุพร เจริญเชื้อ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
4 สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สุชาย ศรีสุรพล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ชัยภูมิ 1 เจริญ จรรย์โกมล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
มานะ โลหะวณิชย์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เชวงศักดิ์ เร่งไพบูลย์วงษ์ พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
2 สุรวิทย์ คนสมบูรณ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
บัณฑูรย์ เกียรติก้องชูชัย พรรคชาติไทย ได้รับใบเหลืองก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
ประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 17 ม.ค. 2551
3 ปาริชาติ ชาลีเครือ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สุนทรี ชัยวิรัตนะ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
นครพนม 1 ศุภชัย โพธิ์สุ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
ประสงค์ บูรณ์พงศ์ พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
สุริยา พรหมดี พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
2 ไพจิต ศรีวรขาน พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
อลงกต มณีกาศ พรรคเพื่อแผ่นดิน
นครราชสีมา 1 วัชรพล โตมรศักดิ์ พรรครวมชาติพัฒนา
ประเสริฐ บุญชัยสุข พรรครวมชาติพัฒนา
วรรณรัตน์ ชาญนุกูล พรรครวมชาติพัฒนา
2 ประนอม โพธิ์คำ พรรคเพื่อแผ่นดิน
จิตรวรรณ หวังศุภกิจโกศล พรรคเพื่อแผ่นดิน
พันตำรวจโทสมชาย เพศประเสริฐ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
3 บุญเลิศ ครุฑขุนทด พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ลินดา เชิดชัย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ประเสริฐ จันทรรวงทอง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
4 ทัศนียา รัตนเศรษฐ พรรครวมชาติพัฒนา
ร้อยตรีหญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวี พรรคเพื่อแผ่นดิน
อนุวัฒน์ วิเศษจินดาวัฒน์ พรรคเพื่อแผ่นดิน
5 ภิรมย์ พลวิเศษ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
สมชัย ฉัตรพัฒนศิริ พรรครวมชาติพัฒนา
6 มีชัย จิตต์พิพัฒน์ พรรคเพื่อแผ่นดิน
บุญจง วงศ์ไตรรัตน์ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล
เลือกตั้งใหม่ 12 ธ.ค. 2553
พลพีร์ สุวรรณฉวี พรรคเพื่อแผ่นดิน
บุรีรัมย์ 1 ประกิจ พลเดช พรรคพลังประชาชน ได้รับใบแดงก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
ณัฐวุฒิ สุขเกษม พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย เลือกตั้งใหม่ 17 ม.ค. 2551
พรชัย ศรีสุริยันโยธิน พรรคพลังประชาชน ได้รับใบแดงก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
มาโนช เฮงยศมาก พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย เลือกตั้งใหม่ 17 ม.ค. 2551
รุ่งโรจน์ ทองศรี พรรคพลังประชาชน ได้รับใบแดงก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
สมนึก เฮงวาณิชย์ พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย เลือกตั้งใหม่ 17 ม.ค. 2551
2 รังสิกร ทิมาตฤกะ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
ทรงศักดิ์ ทองศรี พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
จักรกฤษณ์ ทองศรี พรรคประชาราช เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
มนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
3 สนอง เทพอักษรณรงค์ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
ประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
4 ปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
พีระพงษ์ เฮงสวัสดิ์ พรรคเพื่อแผ่นดิน เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
โสภณ ซารัมย์ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
มหาสารคาม 1 สุทิน คลังแสง พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ขจิตร ชัยนิคม พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ประยุทธ์ ศิริพานิชย์ พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 3 ม.ค. 2553
จิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สุรจิตร ยนต์ตระกูล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 สรรพภัญญู ศิริไปล์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สุชาติ โชคชัยวัฒนากร พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
ไชยวัฒน์ ติณรัตน์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
มุกดาหาร 1 วิทยา บุตรดีวงค์ พรรคเพื่อแผ่นดิน
วรศุลี เชาว์ศิริกุล พรรครวมชาติพัฒนา
ยโสธร 1 รณฤทธิชัย คานเขต พรรคเพื่อแผ่นดิน
ณิรัฐกานต์ ศรีลาภ พรรคประชาธิปัตย์
2 พิกิฏ ศรีชนะ พรรคเพื่อแผ่นดิน
พีรพันธุ์ พาลุสุข พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ร้อยเอ็ด 1 ฉลาด ขามช่วง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วราวงษ์ พันธุ์ศิลา พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 นิสิต สินธุไพร พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ปิยะรัช หมื่นแสน พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ศักดา คงเพชร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
กิตติ สมทรัพย์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
3 นพดล พลซื่อ พรรคเพื่อแผ่นดิน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
รัชนี พลซื่อ เลือกตั้งใหม่ 26 เม.ย. 2552
นิรมิต สุจารี พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เลย 1 ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พัฒนา สังขทรัพย์ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
2 นันทนา ทิมสุวรรณ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เปล่งมณี เร่งสมบูรณ์สุข พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ศรีสะเกษ 1 ธเนศ เครือรัตน์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
สุตา พรมดวง พรรคประชาราช เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552 / ลาออก
สุรชาติ ชาญประดิษฐ์ พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 28 มิ.ย. 2552
ปวีณ แซ่จึง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 วีระพล จิตสัมฤทธิ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ร้อยโทกุเทพ ใสกระจ่าง พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
จิรวดี จึงวรานนท์ พรรคประชาราช เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
3 อุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย เลือกตั้งใหม่ 17 ม.ค. 2551
ธีระ ไตรสรณกุล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สกลนคร 1 เฉลิมชาติ การุญ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย ได้รับใบเหลืองก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
เลือกตั้งใหม่ 20 ม.ค. 2551
นิยม เวชกามา พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤๅชัย พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
2 เสรี สาระนันท์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
จุมพฏ บุญใหญ่ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย สิ้นสภาพการเป็น สส./ไม่มีเลือกตั้งใหม่[a][21]
3 พงษ์ศักดิ์ บุญศล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย สิ้นสภาพการเป็น สส.
อนุรักษ์ บุญศล พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 21 มิ.ย. 2552
เกษม อุประ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สุรินทร์ 1 ฟาริดา สุไลมาน พรรคพลังประชาชนพรรคมาตุภูมิ
กิตติศักดิ์ รุ่งธนเกียรติ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อแผ่นดิน
ปกรณ์ มุ่งเจริญพร พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย
2 สาธิต เทพวงศ์ศิริรัตน์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อแผ่นดิน
ยรรยง ร่วมพัฒนา พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
กรรณิการ์ เจริญพันธ์ พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคชาติไทยพัฒนา
3 ธีระทัศน์ เตียวเจริญโสภา พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อแผ่นดิน
มลิวัลย์ ธัญญสกุลกิจ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อแผ่นดิน พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล
ศุภรักษ์ ควรหา พรรคภูมิใจไทย เลือกตั้งใหม่ 12 ธ.ค. 2553
เลิศศักดิ์ ทัศนเศรษฐ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
หนองคาย 1 ว่าที่ร้อยตรีพงศ์พันธ์ สุนทรชัย พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ชมภู จันทาทอง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
สมคิด บาลไธสง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 ยุทธพงษ์ แสงศรี พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม 2554
เป็น สส. ของจังหวัดบึงกาฬ
เชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ไตรรงค์ ติธรรม พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
หนองบัวลำภู 1 ไชยา พรหมา พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
วิชัย สามิตร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พิษณุ หัตถสงเคราะห์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
อุดรธานี 1 พันตำรวจโทสุรทิน พิมานเมฆินทร์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เชิดชัย วิเชียรวรรณ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
อนันต์ ศรีพันธุ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
2 ธีระชัย แสนแก้ว พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
เกียรติ์อุดม เมนะสวัสดิ์ พรรคเพื่อไทย เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ทองดี มนิสสาร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ต่อพงษ์ ไชยสาส์น พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
3 ประสพ บุษราคัม พรรคพลังประชาชน ได้รับใบแดงก่อนวันเปิดประชุมสภาฯ
ไชยยศ จิรเมธากร พรรคเพื่อแผ่นดิน เลือกตั้งใหม่ 20 ม.ค. 2551
จักรพรรดิ ไชยสาส์น พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
4 วิเชียร ขาวขำ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เกรียงศักดิ์ ฝ้ายสีงาม พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
อุบลราชธานี 1 วรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ศุภชัย ศรีหล้า พรรคประชาธิปัตย์
วุฒิพงษ์ นามบุตร พรรคประชาธิปัตย์
2 สุทธิชัย จรูญเนตร พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
รัฐกิตต์ ผาลีพัฒน์ พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
อุดร ทองประเสริฐ พรรคเพื่อแผ่นดิน เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
3 ตุ่น จินตะเวช พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
ศักดิ์ชัย จินตะเวช พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
อุดร จินตะเวช พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
สุชาติ ตันติวณิชชานนท์ พรรคเพื่อแผ่นดิน
4 สุพล ฟองงาม พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
อิสสระ สมชัย พรรคประชาธิปัตย์
อำนาจเจริญ 1 อภิวัฒน์ เงินหมื่น พรรคประชาธิปัตย์
วิเชียร อุดมศักดิ์ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย

ภาคใต้[แก้]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กระบี่ 1 อาคม เอ่งฉ้วน พรรคประชาธิปัตย์
สาคร เกี่ยวข้อง พรรคประชาธิปัตย์
พิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล พรรคประชาธิปัตย์
ชุมพร 1 ชุมพล จุลใส พรรคประชาธิปัตย์
สราวุธ อ่อนละมัย พรรคประชาธิปัตย์
ธีระชาติ ปางวิรุฬห์รักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
ตรัง 1 สาทิตย์ วงศ์หนองเตย พรรคประชาธิปัตย์
สุกิจ อัถโถปกรณ์ พรรคประชาธิปัตย์
2 สมชาย โล่สถาพรพิพิธ พรรคประชาธิปัตย์
สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล พรรคประชาธิปัตย์
นครศรีธรรมราช 1 นริศา อดิเทพวรพันธุ์ พรรคประชาธิปัตย์
อภิชาต ศักดิเศรษฐ์ พรรคประชาธิปัตย์
สัมพันธ์ ทองสมัคร พรรคประชาธิปัตย์
2 ชินวรณ์ บุณยเกียรติ พรรคประชาธิปัตย์
เทพไท เสนพงศ์ พรรคประชาธิปัตย์
ประกอบ รัตนพันธ์ พรรคประชาธิปัตย์
3 วิทยา แก้วภราดัย พรรคประชาธิปัตย์
อภิชาต การิกาญจน์ พรรคประชาธิปัตย์
4 สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ พรรคประชาธิปัตย์
พิมพ์ภัทรา วิชัยกุล พรรคประชาธิปัตย์
นราธิวาส 1 แวมาฮาดี แวดาโอะ พรรคเพื่อแผ่นดิน
เจะอามิง โตะตาหยง พรรคประชาธิปัตย์
วัชระ ยาวอหะซัน พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
2 กูเฮง ยาวอหะซัน พรรคชาติไทย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
นิอาริส เจตาภิวัฒน์ พรรคชาติไทยพัฒนา เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
นัจมุดดีน อูมา พรรคพลังประชาชนพรรคมาตุภูมิ
ปัตตานี 1 อันวาร์ สาและ พรรคประชาธิปัตย์
อิสมาแอล เบญอิบรอฮีม พรรคประชาธิปัตย์
2 นิมุคตาร์ วาบา พรรคเพื่อแผ่นดิน
ยุซรี ซูสารอ พรรคเพื่อแผ่นดิน
พังงา 1 กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์ พรรคประชาธิปัตย์
จุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์ พรรคประชาธิปัตย์
พัทลุง 1 นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ พรรคประชาธิปัตย์
สุพัชรี ธรรมเพชร พรรคประชาธิปัตย์
นริศ ขำนุรักษ์ พรรคประชาธิปัตย์
ภูเก็ต 1 เรวัต อารีรอบ พรรคประชาธิปัตย์
ทศพร เทพบุตร พรรคประชาธิปัตย์
ยะลา 1 ประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ พรรคประชาธิปัตย์
อับดุลการิม เด็งระกีนา พรรคประชาธิปัตย์
ซูการ์โน มะทา พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ระนอง 1 วิรัช ร่มเย็น พรรคประชาธิปัตย์
สงขลา 1 ประพร เอกอุรุ พรรคประชาธิปัตย์
วินัย เสนเนียม พรรคประชาธิปัตย์ เสียชีวิต
ชัยวุฒิ ผ่องแผ้ว เลือกตั้งใหม่ 29 พ.ย. 2552
เจือ ราชสีห์ พรรคประชาธิปัตย์
2 ถาวร เสนเนียม พรรคประชาธิปัตย์
วิรัตน์ กัลยาศิริ พรรคประชาธิปัตย์
ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ พรรคประชาธิปัตย์
3 ศิริโชค โสภา พรรคประชาธิปัตย์
นาราชา สุวิทย์ พรรคประชาธิปัตย์
สตูล 1 ฮอชาลี ม่าเหร็ม พรรคประชาธิปัตย์
อสิ มะหะมัดยังกี พรรคประชาธิปัตย์
สุราษฎร์ธานี 1 สุเทพ เทือกสุบรรณ พรรคประชาธิปัตย์ ลาออก
ธานี เทือกสุบรรณ พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 30 ส.ค. 2552
ประพนธ์ นิลวัชรมณี พรรคประชาธิปัตย์
ชุมพล กาญจนะ พรรคประชาธิปัตย์ ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี[22]
สุเทพ เทือกสุบรรณ เลือกตั้งใหม่ 30 ต.ค. 2553
2 เชน เทือกสุบรรณ พรรคประชาธิปัตย์
สินิตย์ เลิศไกร พรรคประชาธิปัตย์
นิภา พริ้งศุลกะ พรรคประชาธิปัตย์

ภาคตะวันออก[แก้]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
จันทบุรี 1 ธวัชชัย อนามพงษ์ พรรคประชาธิปัตย์
ยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา พรรคประชาธิปัตย์
พงศ์เวช เวชชาชีวะ พรรคประชาธิปัตย์
ฉะเชิงเทรา 1 พิเชษฐ์ ตันเจริญ พรรคเพื่อแผ่นดิน
อิทธิ ศิริลัทธยากร พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ณัชพล ตันเจริญ พรรคเพื่อแผ่นดิน เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
2 วุฒิพงศ์ ฉายแสง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ฐิติมา ฉายแสง พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
ชลบุรี 1 ประมวล เอมเปีย พรรคประชาธิปัตย์
บรรจบ รุ่งโรจน์ พรรคประชาธิปัตย์
มานิตย์ ภาวสุทธิ์ พรรคประชาธิปัตย์
2 พจนารถ แก้วผลึก พรรคประชาธิปัตย์
ฐนโรจน์ โรจนกุลเสฏฐ์ พรรคประชาธิปัตย์
ไมตรี สอยเหลือง พรรคประชาธิปัตย์
3 สรวุฒิ เนื่องจำนงค์ พรรคประชาธิปัตย์
พลตำรวจตรีวีระ อนันตกูล พรรคประชาธิปัตย์
ตราด 1 ธีระ สลักเพชร พรรคประชาธิปัตย์
ปราจีนบุรี 1 ชยุต ภุมมะกาญจนะ พรรคพลังประชาชนพรรคกิจสังคม
สุนทร วิลาวัลย์ พรรคมัชฌิมาธิปไตย ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
เกียรติกร พากเพียรศิลป์ พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 27 ม.ค. 2551 / ศาลสั่งให้พ้นสมาชิกภาพ สส.[23]
อำนาจ วิลาวัลย์ พรรคภูมิใจไทย เลือกตั้งใหม่ 10 ม.ค. 2553
คงกฤช หงษ์วิไล พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อแผ่นดิน
ระยอง 1 สาธิต ปิตุเตชะ พรรคประชาธิปัตย์
วิชัย ล้ำสุทธิ พรรคประชาธิปัตย์
2 ธารา ปิตุเตชะ พรรคประชาธิปัตย์
บัญญัติ เจตนจันทร์ พรรคประชาธิปัตย์
สระแก้ว 1 ฐานิสร์ เทียนทอง พรรคประชาราช
ตรีนุช เทียนทอง พรรคประชาราช
สรวงศ์ เทียนทอง พรรคประชาราช

ภาคตะวันตก[แก้]

จังหวัด เขต รายชื่อ พรรค หมายเหตุ
กาญจนบุรี 1 พลโทมะ โพธิ์งาม พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
พลเอกสมชาย วิษณุวงศ์ พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
อัฏฐพล โพธิพิพิธ พรรคประชาธิปัตย์
2 ปารเมศ โพธารากุล พรรคประชาธิปัตย์
สันทัต จีนาภักดิ์ พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
ตาก 1 ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ พรรคประชาธิปัตย์
ธนิตพล ไชยนันทน์ พรรคประชาธิปัตย์
เธียรชัย สุวรรณเพ็ญ พรรคประชาธิปัตย์
ประจวบคีรีขันธ์ 1 เฉลิมชัย ศรีอ่อน พรรคประชาธิปัตย์
มนตรี ปาน้อยนนท์ พรรคประชาธิปัตย์
ประมวล พงศ์ถาวราเดช พรรคประชาธิปัตย์
เพชรบุรี 1 อลงกรณ์ พลบุตร พรรคประชาธิปัตย์
อภิชาติ สุภาแพ่ง พรรคประชาธิปัตย์
กัมพล สุภาแพ่ง พรรคประชาธิปัตย์
ราชบุรี 1 บุญลือ ประเสริฐโสภา พรรคพลังประชาชน ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี
ยศศักดิ์ ชีววิญญู พรรคประชาธิปัตย์ เลือกตั้งใหม่ 11 ม.ค. 2552
ปารีณา ปาจรียางกูร พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
ปรีชญา ขำเจริญ พรรคประชาธิปัตย์
2 มานิต นพอมรบดี พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย
สามารถ พิริยะปัญญาพร พรรคประชาธิปัตย์

ผู้ดำรงตำแหน่ง[แก้]

ประธาน รองประธาน คนที่ 1 รองประธาน คนที่ 2
ยงยุทธ ติยะไพรัช ออกจากตำแหน่ง 24 มกราคม พ.ศ. 2551 - 30 เมษายน พ.ศ. 2551 สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ ออกจากตำแหน่ง 24 มกราคม พ.ศ. 2551 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2551 พันเอกอภิวันท์ วิริยะชัย ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ 24 มกราคม พ.ศ. 2551 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ชัย ชิดชอบ ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
สามารถ แก้วมีชัย ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2551 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

การลงมติเลือกผู้ดำรงตำแหน่ง[แก้]

ตำแหน่ง ชื่อ พรรค คะแนนเสียง
ประธานสภาผู้แทนราษฎร[24] ยงยุทธ ติยะไพรัช พลังประชาชน 307
บัญญัติ บรรทัดฐาน ประชาธิปัตย์ 167
งดออกเสียง
2
รวม
476
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ พลังประชาชน 303
คุณหญิง กัลยา โสภณพนิช ประชาธิปัตย์ 170
งดออกเสียง
1
รวม
474

ในส่วนตำแหน่งรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง มีการเสนอชื่อ พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย สส.นนทบุรี พรรคพลังประชาชน เพียงชื่อเดียว ทำให้ดำรงตำแหน่งรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สองโดยไม่ต้องมีการลงมติเหมือนกับสองครั้งที่ผ่านมา

ตำแหน่ง ชื่อ พรรค คะแนนเสียง
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
(แทนตำแหน่งที่ว่างลง)[25]
ชัย ชิดชอบ พลังประชาชน 283
บัญญัติ บรรทัดฐาน ประชาธิปัตย์ 158
งดออกเสียง
12
รวม
453
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง
(แทนตำแหน่งที่ว่างลง)[26]
สามารถ แก้วมีชัย พลังประชาชน 241
ชุมพล กาญจนะ ประชาธิปัตย์ 158
งดออกเสียง
4
บัตรเสีย
1
รวม
404

การเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร[แก้]

วันที่ เหตุการณ์ พลังประชาชน เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ ชาติไทย ภูมิใจไทย เพื่อแผ่นดิน ชาติไทยพัฒนา รวม(ใจไทย)ชาติพัฒนา มัชฌิมาธิปไตย ประชาราช กิจสังคม มาตุภูมิ ไม่สังกัดพรรค รวม ว่าง
23 ธันวาคม 2550 หลังเลือกตั้ง 233 165 37 24 9 7 5 - 480 -
17 มกราคม 2551 เลือกตั้งซ่อมบุรีรัมย์ เขต 1, ชัยภูมิ เขต 2 231 165 36 24 9 10 5 - 480 -
20 มกราคม 2551 เลือกตั้งซ่อม 6 เขต 232 164 36 24 9 10 5 - 480 -
เปิดสมัยประชุมสภาครั้งที่ 1
27 มกราคม 2551 เลือกตั้งซ่อมชัยนาท เขต 1 233 164 34 24 9 11 5 - 480 -
ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี (สมัคร สุนทรเวช)
ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี (สมชาย วงศ์สวัสดิ์)
26 ตุลาคม 2551 เลือกตั้งซ่อมกรุงเทพมหานคร เขต 11 232 165 34 24 9 11 5 - 480 -
2 ธันวาคม 2551 ยุบ 3 พรรค - 165 - 24 9 - 5 244 447 33
7 ธันวาคม 2551 อดีต สส. เข้าสังกัดพรรค 181 167 11 29 14 9 5 5 3 23 447 33
ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)
11 มกราคม 2552 เลือกตั้งซ่อม สส. แทนตำแหน่งที่ว่างลง 186 174 11 32 24 9 9 5 3 23 476 4
14 มกราคม 2552 กลุ่มเพื่อนเนวินเข้าสังกัดพรรคภูมิใจไทย 186 174 34 32 24 9 9 5 3 - 476 4
29 มีนาคม 2552 เลือกตั้งซ่อมสมุทรปราการ เขต 1 187 173 34 32 24 9 9 5 3 - 476 4
28 มิถุนายน 2552 เลือกตั้งซ่อมศรีสะเกษ เขต 1 188 173 34 32 24 9 8 5 3 - 476 4
25 สิงหาคม 2552 วีระ รักความสุข สส.สัดส่วน เสียชีวิต 188 173 33 32 24 9 8 5 3 - 475 5
10 มกราคม 2553 เลือกตั้งซ่อมปราจีนบุรี เขต 1 188 172 34 32 24 9 8 5 3 - 475 5
31 สิงหาคม 2553 สส.สมุทรปราการ เขต 2 ย้ายเข้าพรรคภูมิใจไทย 186 172 36 32 24 9 8 5 3 - 475 5
12 ธันวาคม 2553 เลือกตั้งซ่อม 5 เขต 186 172 37 31 24 9 8 5 3 - 475 5
27 เมษายน 2554 สส.พรรคเพื่อไทยถูกขับออกจากพรรค 184 172 37 31 24 9 8 5 3 - 473 7
10 พฤษภาคม 2554 ยุบสภา 184 172 37 31 24 9 8 5 3 473 7


ประธานคณะกรรมาธิการ[แก้]

  1. คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน (ประชา ประสพดี ประธานคณะกรรมาธิการ)
  2. คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร (ศักดา คงเพชร ประธานคณะกรรมาธิการ)
  3. คณะกรรมาธิการกิจการองค์กรตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน (เฉลิมชาติ การุญ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  4. คณะกรรมาธิการกิจการชายแดนไทย (อิทธิเดช แก้วหลวง ประธานคณะกรรมาธิการ)
  5. คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุและผู้พิการ (สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  6. คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนี้สินแห่งชาติ (สามารถ ราชพลสิทธิ์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  7. คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ (ชาดา ไทยเศรษฐ์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  8. คณะกรรมาธิการการคมนาคม (ปัญญา ศรีปัญญา ประธานคณะกรรมาธิการ)
  9. คณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ (เจะอามิง โตะตาหยง ประธานคณะกรรมาธิการ)
  10. คณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภค (อภิชาติ สุภาแพ่ง ประธานคณะกรรมาธิการ)
  11. คณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน (สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล ประธานคณะกรรมาธิการ)
  12. คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ (ต่อพงษ์ ไชยสาส์น ประธานคณะกรรมาธิการ)
  13. คณะกรรมาธิการการตำรวจ (สาธิต ปิตุเตชะ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  14. คณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ (เจริญ จรรย์โกมล ประธานคณะกรรมาธิการ)
  15. คณะกรรมาธิการการทหาร (พันตำรวจโทสมชาย เพศประเสริฐ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  16. คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยวและกีฬา (นิโรธ สุนทรเลขา ประธานคณะกรรมาธิการ)
  17. คณะกรรมาธิการการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (วารุจ ศิริวัฒน์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  18. คณะกรรมาธิการการปกครอง (ภุชงค์ รุ่งโรจน์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  19. คณะกรรมาธิการการปกครองส่วนท้องถิ่น (วิรัช ร่มเย็น ประธานคณะกรรมาธิการ)
  20. คณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติด (วิสุทธิ์ ไชยณรุณ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  21. คณะกรรมาธิการการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัย (สรวงศ์ เทียนทอง ประธานคณะกรรมาธิการ)
  22. คณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ (วิลาศ จันทร์พิทักษ์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  23. คณะกรรมาธิการการพลังงาน (สมชัย ฉัตรพัฒนศิริ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  24. คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน (ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  25. คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ (นราพัฒน์ แก้วทอง ประธานคณะกรรมาธิการ)
  26. คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา (พฤฒิชัย วิริยะโรจน์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  27. คณะกรรมาธิการการแรงงาน (ว่าที่ร้อยตรีสุเมธ ฤทธาคนี ประธานคณะกรรมาธิการ)
  28. คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ้อง ชีวานันท์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  29. คณะกรรมาธิการการส่งเสริมราคาผลิตผลเกษตรกรรม (พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  30. คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (ทนุศักดิ์ เล็กอุทัย ประธานคณะกรรมาธิการ)
  31. คณะกรรมาธิการการศึกษา (อภิชาต การิกาญจน์ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  32. คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม (สมัย เจริญช่าง ประธานคณะกรรมาธิการ)
  33. คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข (ประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ ประธานคณะกรรมาธิการ)
  34. คณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม (คงกฤช หงษ์วิไล ประธานคณะกรรมาธิการ)
  35. คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม (สุชาติ ตันติวณิชชานนท์ ประธานคณะกรรมาธิการ)

ข้อมูลอื่นๆ[แก้]

ฉายารัฐสภา[แก้]

ตำแหน่ง พ.ศ. 2551[28] พ.ศ. 2552[29] พ.ศ. 2553[30]
ดาวเด่น เรืองไกร ลีกิจวัฒนะ ชลน่าน ศรีแก้ว ชวลิต วิชยสุทธิ์
ดาวดับ ยงยุทธ ติยะไพรัช เฉลิม อยู่บำรุง กลุ่ม 40 ส.ว.
ฉายาสภาผู้แทนราษฎร ค่ายกลนอมินิ ถ่อย-เถื่อน-ถีบ หลังยาว ผลาญภาษี
ฉายาวุฒิสภา 2 ก๊กพกมีดสั้น ตะแกรงก้นรั่ว อัมพฤกษ์รับจ็อบ
ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานลูกอุ้ม ตลกเฒ่าร้อยเล่ห์ เฒ่าเก๋า-เจ๊ง
ประธานวุฒิสภา ทั่นเปา…เป่าปี่ ประธานหลักเลื่อน ประสพสึก
ผู้นำฝ่ายค้าน เทพประทาน
(อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)
ไม่มีตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้าน
เหตุการณ์แห่งปี เหตุการณ์นองเลือด 7 ตุลาคม 2551 การประชุมร่วมกันของรัฐสภา
เพื่อหาทางออกกรณีวิกฤตการเมือง
เสื้อแดงบุกสภา
คู่กัดแห่งปี จตุพร พรหมพันธุ์
และ
วัชระ เพชรทอง
อภิวันท์ วิริยะชัย
และ
บุญยอด สุขถิ่นไทย
วาทะแห่งปี “ม็อบมีเส้น”
(โกวิท วัฒนะ)
“พ.ต.ท.ทักษิณ ไม่ได้ทำผิดกฎหมาย
แต่ทำในสิ่งที่กฎหมายห้าม”
(เฉลิม อยู่บำรุง)
"พูดเท็จซ้ำแล้วซ้ำเล่า
จนตัวเองเชื่อคำโกหกตัวเอง"
(อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)
คนดีศรีสภา มณเฑียร บุญตัน เจริญ คันธวงศ์ ทิวา เงินยวง

การสิ้นสุดลงของสภาผู้แทนราษฎร[แก้]

สภาผู้แทนราษฎรคณะนี้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 เมื่อนายกรัฐมนตรีได้ทูลเกล้าฯพระราชกฤษฎีกายุบสภา และได้โปรดเกล้าฯลงมาเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม ปีเดียวกัน โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554[31] ซึ่งเหตุผลในการยุบสภาครั้งนี้ นายกรัฐมนตรีให้เหตุผลว่า เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมตัดสินใจแก้ไขปัญหาของประเทศชาติอีกครั้ง ซึ่งการยุบสภาครั้งนี้ทำไปด้วยความเต็มใจ[32][33]

อ้างอิง[แก้]

  1. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายสัญชัย อินทรสูตร)
  2. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์)
  3. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นางอานิก อัมระนันทน์)
  4. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายบรรพต ต้นธีรวงศ์)
  5. ระกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขั้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายอรรถพล ชัยนันท์สมิตย์)
  6. ประชา พรหมนอก โผล่ย้ายซบเพื่อไทยแล้ว
  7. ระกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขั้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายกว้าง รอบคอบ)
  8. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายถิรชัย วุฒิธรรม)
  9. "พผ.แพแตก "บิ๊กแป๊ะ" ทิ้งทุ่นหนีตาม "ประชา" ซบอก "ยิ่งลักษณ์"". mgronline.com. 2011-04-22.
  10. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์)
  11. "มะเร็งคร่าชีวิต "วีระ รักความสุข" ส.ส.สัดส่วนภูมิใจไทย". mgronline.com. 2009-08-25.
  12. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายวิรัช รัตนเศรษฐ)
  13. 13.0 13.1 13.2 13.3 13.4 ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (จำนวน ๕ ราย)
  14. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์)
  15. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายสุรชัย เบ้าจรรยา)
  16. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล)
  17. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ)
  18. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร เรื่อง ให้ผู้มีชื่ออยู่ในลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองเลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทนตำแหน่งที่ว่าง (นายเรวัต สิรินุกุล)
  19. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-11. สืบค้นเมื่อ 2010-04-16.
  20. "ภท.โชว์พลังดูด ซิว2ส.ส.เพื่อไทยซบอก". www.thairath.co.th. 2010-08-31.
  21. 21.0 21.1 "ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ "จุมพฏ-ปรพล" สิ้นสภาพ ส.ส.หลังถูก พท.ขับพ้นพรรค". mgronline.com. 2011-04-27.
  22. "ศาลฎีกาตัดสิน"ชุมพล กาญจนะ"พ้นการเมือง5ปี". komchadluek. 2010-09-16.
  23. "ศาล รธน.ชี้ "เกียรติกร" เพี้ยน พ้นสมาชิก ส.ส.สมใจนึก". mgronline.com. 2009-12-02.
  24. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๓ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันอังคารที่ ๒๒ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๕๑
  25. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๓ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๒๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันจันทร์ที่ ๑๒ เดือนพฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑
  26. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๓ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๓ เดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑
  27. เปิดใจ"ชินณิชา วงศ์สวัสดิ์"ลูกสาวนายกฯ-ส.ส.อายุน้อยที่สุด[ลิงก์เสีย]
  28. "สื่อตั้งฉายารัฐสภาปี51". news.mthai.com. 2008-12-28. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-11. สืบค้นเมื่อ 2023-09-01.
  29. ""ถ่อย-เถื่อน-ถีบ" ฉายาสภา '52 - "ชลน่าน" เด่น "เฉลิม" ดับ "ชัย-เฒ่าร้อยเล่ห์"". mgronline.com. 2009-12-27.
  30. "ฉายาสภา สื่อตั้ง ฉายารัฐสภา 2553 หลังยาว ผลาญภาษี". kapook.com. 2010-12-30.
  31. พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554
  32. นายกแถลงเต็มใจยุบสภาหวังคืนปชต.ให้ปชช. จากสนุกดอตคอม
  33. [ลิงก์เสีย] สู่โหมดเลือกตั้ง โปรดเกล้าฯยุบสภามีผล10พ.ค. จากไทยโพสต์[ลิงก์เสีย]

เชิงอรรถ[แก้]

  1. 1.0 1.1 สิ้นสภาพการเป็น สส. เนื่องจากพรรคเพื่อไทยมีมติให้ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]