รายชื่อผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย
หน้าตา
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร แห่งราชอาณาจักรไทย | |
---|---|
ตรารัฐสภา | |
รัฐสภาไทย ฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร | |
สมาชิกของ | สภาผู้แทนราษฎร |
ผู้เสนอชื่อ | ประธานสภาผู้แทนราษฎร |
ผู้แต่งตั้ง | พระมหากษัตริย์ไทย |
วาระ | ตามวาระของหัวหน้าพรรคการเมืองที่มีจำนวน สส. มากที่สุดในกลุ่มพรรคการเมืองที่ไม่มีสมาชิกพรรคเป็นรัฐมนตรี ประธาน หรือรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และตามวาระของสภาผู้แทนราษฎร |
ผู้ประเดิมตำแหน่ง | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช |
สถาปนา | 22 มีนาคม พ.ศ. 2518 |
เงินตอบแทน | 42,500 บาท (รวมกับเงินเดือนประจำตำแหน่งอีก 73,240 บาท [1]) |
เว็บไซต์ | parliament.go.th |
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความว่าด้วย |
การเมืองไทย |
---|
สถานีย่อยประเทศไทย |
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย ตามความหมายในมาตรา 106 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 คือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นหัวหน้าพรรคที่มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดในกลุ่มพรรคฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย (พรรคที่ไม่มีสมาชิกเป็นรัฐมนตรี ประธานสภา และรองประธานสภา)[2] โดยมีหน้าที่สำคัญคือการเป็นผู้นำในการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล เริ่มดำรงตำแหน่งเมื่อพระมหากษัตริย์มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และสิ้นสุดเมื่อพ้นจากหัวหน้าพรรค และ/หรือ พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ/หรือ สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง ไม่ว่าจะครบวาระ หรือมีการยุบสภาก็ตาม
รายชื่อผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย
[แก้]ลำดับ (สมัย) |
รูป | รายชื่อ | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ (สิ้นสุดโดย) |
ระยะเวลา | พรรคการเมือง | คณะรัฐมนตรี | |
1 | หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช | 22 มีนาคม พ.ศ. 2518[3] | 12 มกราคม พ.ศ. 2519 (ยุบสภา) |
0 ปี 296 วัน | ประชาธิปัตย์ | คึกฤทธิ์ | ||
2 (1) |
พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร | 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2526[4] | 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 (ยุบสภา) |
2 ปี 342 วัน | ชาติไทย | เปรม 2 | ||
3 (1) |
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ | 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 [5] | 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 (ยุบสภา) |
0 ปี 46 วัน | ความหวังใหม่ | สุจินดา อานันท์ 2 | ||
2 (2) |
พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร | 30 ตุลาคม พ.ศ. 2535 [6] | 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 (ลาออกจากหัวหน้าพรรค) |
1 ปี 189 วัน | ชาติไทย | ชวน 1 | ||
4 |
บรรหาร ศิลปอาชา | 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2537[7] | 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 (ยุบสภา) |
0 ปี 357 วัน | ||||
5 (1-2) |
ชวน หลีกภัย | 4 สิงหาคม พ.ศ. 2538 [8] | 27 กันยายน พ.ศ. 2539 (ยุบสภา) |
1 ปี 54 วัน | ประชาธิปัตย์ | บรรหาร | ||
21 ธันวาคม พ.ศ. 2539[9] | 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 (เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี) |
0 ปี 323 วัน | ชวลิต | |||||
3 (2-4) |
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ | 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540[10] | 2 มิถุนายน พ.ศ. 2541 (ลาออกจากหัวหน้าพรรค) |
0 ปี 188 วัน | ความหวังใหม่ | ชวน 2 | ||
2 กันยายน พ.ศ. 2541[11] | 27 เมษายน พ.ศ. 2542 (ลาออกจากหัวหน้าพรรค) |
0 ปี 237 วัน | ||||||
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2542[12] | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 (ยุบสภา) |
1 ปี 181 วัน | ||||||
5 (3) |
ชวน หลีกภัย | 11 มีนาคม พ.ศ. 2544[13] | 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 (ลาออกจากหัวหน้าพรรค) |
2 ปี 53 วัน | ประชาธิปัตย์ | ทักษิณ 1 | ||
6 | บัญญัติ บรรทัดฐาน | 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2546[14] | 5 มกราคม พ.ศ. 2548 (ครบวาระของสภาผู้แทนราษฎร) |
1 ปี 227 วัน | ||||
7 (1-3) |
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | 23 เมษายน พ.ศ. 2548[15] | 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 (ยุบสภา) |
0 ปี 307 วัน | ทักษิณ 2 | |||
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551[16] | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี) |
0 ปี 293 วัน | สมัคร สมชาย | |||||
16 กันยายน พ.ศ. 2554 [17] | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (ยุบสภา) |
2 ปี 84 วัน | ยิ่งลักษณ์ | |||||
8 (1-2) |
สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ | 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562[18] | 26 กันยายน พ.ศ. 2563 (ลาออกจากหัวหน้าพรรค) |
1 ปี 40 วัน | เพื่อไทย | ประยุทธ์ 2 | ||
6 ธันวาคม พ.ศ. 2563 [19] | 28 ตุลาคม พ.ศ. 2564 (ลาออกจากหัวหน้าพรรค) |
0 ปี 317 วัน | ||||||
9 | ชลน่าน ศรีแก้ว | 23 ธันวาคม พ.ศ. 2564[20] | 20 มีนาคม พ.ศ. 2566 (ยุบสภา) |
1 ปี 87 วัน | ||||
10 | ชัยธวัช ตุลาธน | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566[21] | 7 สิงหาคม พ.ศ. 2567 (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี) |
0 ปี 233 วัน | ก้าวไกล | เศรษฐา | ||
11 | ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ | 25 กันยายน พ.ศ. 2567[22] | ปัจจุบัน | 0 ปี 120 วัน | ประชาชน | แพทองธาร |
ดูเพิ่ม
[แก้]- สภาผู้แทนราษฎรไทย
- ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย
- คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎรไทย
- รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย
อ้างอิง
[แก้]- ↑ https://www.senate.go.th/assets/portals/1/files/Decree%20emoluments_2555.pdf เก็บถาวร 2021-12-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน พระราชกฤษฎีกา เงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และกรรมาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๕
- ↑ ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 (parliament.go.th)
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลตรีประมาณ อดิเรกสาร สมัยที่ 1) เก็บถาวร 2021-11-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ สมัยที่ 1) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลตำรวจเอกประมาณ อดิเรกสาร สมัยที่ 2) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (บรรหาร ศิลปอาชา สมัยที่ 1) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (ชวน หลีกภัย สมัยที่ 1) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (ชวน หลีกภัย สมัยที่ 2) เก็บถาวร 2018-09-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ สมัยที่ 1) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ สมัยที่ 1) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ สมัยที่ 1) เก็บถาวร 2021-11-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (ชวน หลีกภัย สมัยที่ 3) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (บัญญัติ บรรทัดฐาน) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมัยที่ 1) เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมัยที่ 2) เก็บถาวร 2018-09-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมัยที่ 3) เก็บถาวร 2021-11-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, ราชกิจจานุเบกษา, 9 สิงหาคม 2557
- ↑ "ประกาศแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (สมพงษ์ อมรวิวัฒน์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 136 (พิเศษ 208 ง): 1. 21 สิงหาคม พ.ศ. 2562.
{{cite journal}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help) - ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 137 (พิเศษ 288 ง): 1. 9 ธันวาคม 2563.
- ↑ พระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว), ราชกิจจานุเบกษา, 29 ธันวาคม 2564
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร [นายชัยธวัช ตุลาธน]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (พิเศษ 318 ง): 1. 19 ธันวาคม 2566.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร [นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 141 (พิเศษ 271 ง): 1. 1 ตุลาคม 2567.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- สภาผู้แทนราษฎร :: ทำเนียบผู้นำฝ่ายค้าน เก็บถาวร 2008-10-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน