ข้ามไปเนื้อหา

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2
ชุดที่ 1 ชุดที่ 3
ภาพรวม
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎร
เขตอำนาจประเทศสยาม
ที่ประชุมพระที่นั่งอนันตสมาคม
วาระ10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 – 11 กันยายน พ.ศ. 2481
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีพหลพลพยุหเสนา 5
สภาผู้แทนราษฎร
สมาชิก182
ประธานพระยามานวราชเสวี
รองประธานคนที่ 1พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ
รองประธานคนที่ 2พระประจนปัจจนึก
นายกรัฐมนตรีพระยาพหลพลพยุหเสนา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 11 กันยายน พ.ศ. 2481) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 182 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 78 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 100,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 78 คน และมีการแต่งตั้งเพิ่ม 13 คน

ประเภทที่ 2 มาจากการแต่งตั้งซึ่งเป็นชุดที่ดำรงตำแหน่งต่อเนื่องมาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1

สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก รัฐบาลพ่ายแพ้การลงมติในสภาฯ กรณี ส.ส. เสนอญัตติขอแก้ไขข้อบังคับการะประชุมของสภาผู้แทนราษฎร เกี่ยวกับวิธีการเสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

[แก้]

ประเภทที่ 1

[แก้]
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ
ออกจากตำแหน่ง

มีรายนามดังนี้

พระนคร

[แก้]
จังหวัด เขต รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
พระนคร 1 พระยาโอวาทวรกิจ (เหม ผลพันชิน)
2 ร้อยตำรวจเอกเสวียน โอสถานุเคราะห์
3 อรุณ ทองปัชโชติ ศาลสั่งให้เลือกตั้งใหม่
เลือกตั้งใหม่ 12 มิถุนายน 2481

ธนบุรี

[แก้]
จังหวัด เขต รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
ธนบุรี 1 ทองอยู่ พุฒพัฒน์

ภาคกลาง

[แก้]
จังหวัด เขต รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กำแพงเพชร 1 ฮั้ว ตามไท
ชัยนาท 1 พระยาวิชิตสรไกร (เอี่ยม ขัมพานนท์)
นครนายก 1 พระยาสัจจาภิรมย์อุดมราชภักดี (สรวง ศรีเพ็ญ)
นครปฐม 1 สมาน สุชาติกุล
นครสวรรค์ 1 อรุณ แสงสว่างวัฒนะ
2 ขุนอนุกูรประชากร (วงษ์ พยัคฆวิเชียร)
นนทบุรี 1 ร้อยตำรวจเอกฟุ้ง ระงับภัย
ปทุมธานี 1 ดาบทิว มะโนทัย
พระนครศรีอยุธยา 1 ประเสริฐ ธารีสวัสดิ์
2 เยื้อน พาณิชวิทย์
พิจิตร 1 เพิ่ม วงศ์ทองเหลือ
พิษณุโลก 1 หลวงสุทธิวุฒินฤเบศร์ (เจริญ สัตจอง)
เพชรบูรณ์ 1 ขุนอนุสรสิทธิกรรม (ทองดี วัชโรทยาน)
ลพบุรี 1 แฟ้ม วรพิทยุต
สมุทรปราการ 1 ขุนชำนิอนุสาส์น (เส่ง เลาหะจินดา)
สมุทรสงคราม 1 พระราชญาติรักษา (ประกอบ บุนนาค)
สมุทรสาคร 1 ขุนสุคนธวิทศึกษากร (สำอางค์ สุคนธวิท)
สวรรคโลก 1 ทิม อติเปรมานนท์
สระบุรี 1 ดิษฐ์ คัมภีรยศ
สิงห์บุรี 1 อำไพ อิศรางกูร ณ อยุธยา
สุพรรณบุรี 1 สว่าง สนิทพันธ์
อ่างทอง 1 บุญศรี จันทนชาติ
อุทัยธานี 1 พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์)

ภาคเหนือ

[แก้]
จังหวัด เขต รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
เชียงราย 1 ประยูร วิมุกตาคม
2 นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)
เชียงใหม่ 1 พระศรีวรานุรักษ์ (ศรี บุญเฉลียว)
2 อินทร สิงหเนตร
3 สุวิชช พันธเศรษฐ
น่าน 1 จำรัส มหาวงศนันท์
แพร่ 1 ทอง กันทาธรรม
แม่ฮ่องสอน 1 บุญเท่ง ทองสวัสดิ์
ลำปาง 1 แถม คมสัน
2 สร้อย ณ ลำปาง
ลำพูน 1 บุญมี ตุงคนาตร
อุตรดิตถ์ 1 พึ่ง ศรีจันทร์

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

[แก้]
จังหวัด เขต รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
ขอนแก่น 1 โสภัณ ศุภธีระ
2 ผล แสนสระดี
ขุขันธ์ 1 เทพ โชตินุชิต
2 พุฒเทศ กาญจนเสริม
ชัยภูมิ 1 สอน พงศ์สุวรรณ
นครพนม 1 พันธุ์ อินทุวงศ์
นครราชสีมา 1 เลื่อน พงษ์โสภณ
2 ร้อยตรีปุ่น สิทธิเวทย์
3 เอี่ยม สุภาพกุล
บุรีรัมย์ 1 ทัน พรหมมิทธิกุล
มหาสารคาม 1 ขุนจรรยาวิเศษ (บุณยนิตย์ บุญเที่ยง)
2 ทองดี ณ กาฬสินธุ์
3 จำลอง ดาวเรือง
ร้อยเอ็ด 1 ถวิล อุดล
2 เขมชาติ บุณยรัตพันธ์
เลย 1 เฉลิม ศรีประเสริฐ
สกลนคร 1 เตียง ศิริขันธ์
สุรินทร์ 1 ปรึกษ์ แก้วปลั่ง
2 บรรณ์ สวันตรัจฉ์
หนองคาย 1 ขุนวรสิษฐดรุณเวทย์ (นารถ อินทุสมิต)
อุดรธานี 1 อ้วน นาครทรรพ
อุบลราชธานี 1 ทองอินทร์ ภูริพัฒน์
2 ทิม ภูริพัฒน์
3 ฟอง สิทธิธรรม
4 เลียง ไชยกาล

ภาคใต้

[แก้]
จังหวัด เขต รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กระบี่ 1 ทองใบ สุคนธกนิษฐ
ชุมพร 1 พันตรีหลวงอภิบาลภูวนาถ (สังข์ นาควัจนะ)
ตรัง 1 เชือน สวัสดิปาณี
นครศรีธรรมราช 1 ฉ่ำ จำรัสเนตร
2 ขุนบุรณวาท (พร้อย ณ นคร)
นราธิวาส 1 อดุลย์ ณ สายบุรี
ปัตตานี 1 พระพิพิธภักดี (ตนกูมุกดา อับดุลบุตร)
พังงา 1 โมรา ณ ถลาง
พัทลุง 1 ถัด พรหมมาณพ
ภูเก็ต 1 ขุนชินสถานพิทักษ์ (ตันยู่อี๋ ตันทวณิช)
ยะลา 1 แวและ เบญอาบัชร์
ระนอง 1 ยกเสียง เหมะภูติ
สงขลา 1 เอื้อน ณ สงขลา
2 กล่อม สระโพธิกุล เสียชีวิต 8 ธันวาคม 2480
เจือ ศรียาภัย เลือกตั้งใหม่ 27 กุมภาพันธ์ 2481
สตูล 1 สงวน ณ นคร
สุราษฎร์ธานี 1 วุฒิ สุวรรณรักษ์

ภาคตะวันออก

[แก้]
จังหวัด เขต รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
จันทบุรี 1 วงศ์ เว้นชั่ว
ฉะเชิงเทรา 1 นิ่ม เรืองเกษตร
ชลบุรี 1 เสงี่ยม เจริญฮวด
ตราด 1 เฉลา เตาลานนท์
ปราจีนบุรี 1 ดาบสงวน พยุงพงศ์
ระยอง 1 เสกล เจตสมมา

ภาคตะวันตก

[แก้]
จังหวัด เขต รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กาญจนบุรี 1 พิพัฒน์ (เต็ก) ภังคานนท์
ตาก 1 หมัง สายชุ่มอินทร์
ประจวบคีรีขันธ์ 1 ทองสืบ ศุภมาร์ค
เพชรบุรี 1 ร้อยเอกหลวงบำราบประทุษฐ (นิล จุฑานนท์)
ราชบุรี 1 กิมเส็ง (โกศล) สินธุเสก

ประเภทที่ 2

[แก้]

ดำรงตำแหน่งต่อเนื่องมาจาก สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1

ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ
ออกจากตำแหน่ง
รายนาม[1][2] สมาชิกภาพ หมายเหตุ
หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)
หลวงเกรียงศักดิวิชิต (ค้วน จินตะคุณ)
หลวงโกวิทอภัยวงศ์ (ควง อภัยวงศ์)
หลวงชาญสงคราม (พาน ชาลิจันทร์)
ชุณห์ ปิณฑานนท์
ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม
หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี)
หลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันท์)
ดิเรก ชัยนาม
หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์)
ตั้ว ลพานุกรม
ทวี บุณยเกตุ
ทองหล่อ ขำหิรัญ
ทิพย์ ประสานสุข
หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์)
หลวงนฤเบศร์มานิต (สงวน จูฑะเตมีย์)
หลวงนาวาจิตร (ผัน อำไภวัลย์)
หลวงนิเทศกลกิจ (กลาง โรจนเสนา)
ขุนนิรันดรชัย (สเหวก นีลัญชัย)
เนตร พูนวิวัฒน์
พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)
ประจวบ บุนนาค
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์)
พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)
พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)
ประเสริฐ ศุขสมัย
พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
หลวงพินิจยุทธศิลป์ (เปรื่อง พรโสภณ)
หลวงพิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม)
พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
มังกร สามเสน
หลวงโยธาณัติการ (เทศ กิตติรัต)
ยล สมานนท์
หลวงรณสิทธิพิชัย (เจือ กาญจนนินทุ)
หลวงรวบรัดสปัตพล (สอน บุญใหญ่)
ขุนเรืองวีรยุทธ์ (บุญเรือง วีระหงส์)
วัน รุยาพร
หลวงวิจิตรวาทการ (กิมเหลียง วัฒนปฤดา)
พระวิชัยยุทธเดชาคนี (กั่ง บุณยคุปต์)
หลวงวิชิตสงคราม (จิ๊ด ยุวนวรรธนะ)
หลวงวิภาครัฐกิจ (ศุข เมนะรุจิ)
พระเวชยันตรังสฤษฎ์ (มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์)
พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)
หลวงสวัสดิ์รณรงค์ (สวัสดิ์ ดาระสวัสดิ์)
หลวงสวัสดิ์สรยุทธ (ดล บุนนาค)
หลวงสฤษฎยุทธศิลป (เพียร พิริยะโยธิน)
พระสงครามภักดี (แม้น เหมะจุฑา)
พระสังวรยุทธกิจ (สังวรณ์ สุวรรณชีพ)
พระสิทธิเรืองเดชพล (แสง พันธุประภาส)
หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)
พระสุธรรมวินิจฉัย (ชม วณิกเกียรติ)
หลวงสุนทรเทพหัสดิน (สพรั่ง เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล)
ขุนโสภณรณกิจ (เข็ม โลจายะ) ถึงแก่กรรม เมื่อ 20 เมษายน พ.ศ. 2481
พระยาอนุสสรธุระการ (จ่าง วัจนะพุกกะ)
พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)
พระอุดมโยธาธิรุต (สด รัตนาวดี)
หลวงอรรถกิตติกำจร (กลึง พนมยงค์) ลาออก เมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2480
หลวงอรรถสารประสิทธิ์ (ทองเย็น หลีละเมียร)
พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์)
ขุนปลดปรปักษ์ (ปลด ภาณุสะวะ) ลาออก เมื่อ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2481
ขุนศรีศรากร (ชลอ ศรีธนากร)
ขุนสุจริตรณการ (ผ่อง นาคะนุช)
กุหลาบ กาญจนสกุล
หลวงอภัยสุรสิทธิ์ (ชม จันทราภัย)
ขุนจำนงภูมิเวท (จำนง ศิวะแพทย์)
เอก สุภโปฎก
พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)
หลวงวีรวัฒน์โยธิน (วีรวัฒน์ รักตะจิตรการ) ลาออก เมื่อ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2481
ชั้น รัศมิทัต
เดือน บุนนาค
พระยาวิจารณ์จักรกิจ (บุญรอด สวาทะสุข)
ทวน วิชัยขัทคะ ลาออก เมื่อ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2481
ขุนพิพัฒน์สรการ (เท้ง พัฒนศิริ)
ขุนวิมลสรกิจ (วิมล เก่งเรียน)
พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)
จิบ ศิริไพบูลย์
ชลิต กุลกำม์ธร
บรรจง ศรีจรูญ
บุญล้อม พึ่งสุนทร
ประยูร ภมรมนตรี
พระประศาสน์พิทยายุทธ (วัน ชูถิ่น)
พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)
วิลาศ โอสถานนท์
พระศิลปศัสตราคม (ภักดิ์ เกษสำลี)
สงวน ตุลารักษ์
สงบ จรูญพร
สวัสดิ์ โสตถิทัต
หลวงสินาดโยธารักษ์ (ชิต มั่นศิลป์)
หลวงอดุลเดชจรัส (บัตร์ พึ่งพระคุณ) แต่งตั้ง เมื่อ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2480[3]
และลาออก เมื่อ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2481[4]
หลวงพรหมโยธี (มังกร พรหมโยธี) แต่งตั้ง เมื่อ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2481[5]
หลวงวิจักรกลยุทธ (เศียร สู่ศิลป์) แต่งตั้ง เมื่อ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2481[5]
น้อม เกตุนุติ แต่งตั้ง เมื่อ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2481[5]
สมาน เทพหัสดิน ณ อยุธยา แต่งตั้ง เมื่อ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2481[5]
วิเชียร สุวรรณทัต แต่งตั้ง เมื่อ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2481[6]

ผู้ดำรงตำแหน่ง

[แก้]

ประธานสภาผู้แทนราษฎร พระยามานวราชเสวี

รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ

รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง พันเอกพระประจนปัจจนึก (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2481)

อ้างอิง

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]