ข้ามไปเนื้อหา

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5
ชุดที่ 4 ชุดที่ 6
ภาพรวม
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎร
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมพระที่นั่งอนันตสมาคม
วาระ29 มกราคม พ.ศ. 2491 – 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2492
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีควง 4 (2491)
คณะรัฐมนตรีแปลก 3 (2491-2492)
คณะรัฐมนตรีแปลก 4 (2492-2494)
คณะรัฐมนตรีแปลก 5 (2494)
สภาผู้แทนราษฎร
สมาชิก219
ประธานเกษม บุญศรี
ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
พระราชธรรมนิเทศ
ตั้งแต่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492
รองประธานประเสริฐ สุดบรรทัด
ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
ยกเสียง เหมะภูติ
ตั้งแต่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492
นายกรัฐมนตรีควง อภัยวงศ์
ตั้งแต่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
แปลก พิบูลสงคราม
ตั้งแต่ 8 เมษายน พ.ศ. 2491
พรรคครองพรรคประชาธิปัตย์ (2491)
พรรคธรรมาธิปัตย์ (2491-2494)

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 (29 มกราคม พ.ศ. 2491 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 99 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 99 คน

สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 และให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 2 ทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎรไปพลางก่อน[1]

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

[แก้]
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ
ออกจากตำแหน่ง

มีรายนามดังนี้

พระนคร

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
พระนคร พันตรีควง อภัยวงศ์
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ลาออก
พลโทชิต มั่นศิลป์สินาดโยธารักษ์ เลือกตั้งใหม่ 4 ธันวาคม 2491
ร้อยตำรวจเอกภิเศก พรหมมายน

ธนบุรี

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
ธนบุรี ไถง สุวรรณทัต

ภาคกลาง

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กำแพงเพชร เกษม จงสวัสดิ์
ชัยนาท ไกรสร สุขสว่าง
นครนายก ชิตร โปษยานนท์
นครปฐม ล้วน เวกชาลิกานน
นครสวรรค์ เกษม บุญศรี
ใหญ่ ศวิตชาติ
นนทบุรี กุหลาบ แก้ววิมล
ปทุมธานี พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์)
พระนครศรีอยุธยา ฟื้น สุพรรณสาร
หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ
พิจิตร เพิ่ม วงศ์ทองเหลือ
พิษณุโลก ร้อยโทจงกล ไกรฤกษ์
เพชรบูรณ์ ร้อยตำรวจโทสงกรานต์ อุดมสิทธิ์
ลพบุรี บุญมี ปาร์มวงศ์
สมุทรปราการ อรุณ พันธ์ฟัก
สมุทรสงคราม ชอ้อน อำพล
สมุทรสาคร ลาภ เงินดี
สระบุรี ร้อยเอกประเสริฐ สุดบรรทัด
สิงห์บุรี ทรัพย์ ภานุทัต
สุโขทัย เพ่ง ลิมปะพันธุ์
สุพรรณบุรี ขุนวีระประศาสน์
ขวัญชัย ภมรพล
อ่างทอง หลวงอังคณานุรักษ์ (สมถวิล เทพาคำ)
อุทัยธานี พันตำรวจตรีหลวงเจริญตำรวจการ

ภาคเหนือ

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
เชียงราย พันโทแสวง ทัพพะสุต
นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)
เชียงใหม่ ทองดี อิสราชีวิน
เจ้าบุญเลิศ ณ เชียงใหม่
สุกิจ นิมมานเหมินทร์
น่าน จำรัส มหาวงศนันท์
แพร่ วัง ศศิบุตร
แม่ฮ่องสอน เสมอ กัณฑาธัญ
ลำปาง ขุนสีมะสิงห์สวัสดิ์
บุญเท่ง ทองสวัสดิ์
ลำพูน ชัยวัธน์ อินทะพันธ์
อุตรดิตถ์ เทพ เกตุพันธุ์

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ กว้าง ทองทวี เสียชีวิต 26 พฤศจิกายน 2493
เอ็จ บุญไชย เลือกตั้งใหม่ 15 กุมภาพันธ์ 2494
ขอนแก่น ทัศน์ กลีบโกมุท
โสภัณ ศุภธีระ
ประวัติ จันทนพิมพ์
ชัยภูมิ ถัด ไชยบุตร
นครพนม เอื้อ จันทรวงศ์
พันธุ์ อินทุวงศ์
นครราชสีมา ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)
พลตรีไชยยันต์ เกรียงเดชพิชัย
ร้อยโทสัมพันธ์ ขันธะชวนะ ลาออก
หลวงระงับประจันตคาม เลือกตั้งใหม่ 4 ธันวาคม 2491
เลื่อน พงษ์โสภณ ลาออก 16 เมษายน 2492
ร้อยเอกขุนสุรจิตรจตุรงค์ เลือกตั้งใหม่ 3 กรกฎาคม 2492
บุรีรัมย์ เสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา
ไพรัช วิเศษโกสิน
มหาสารคาม ฮวด ทองโรจน์
บุญช่วย อัตถากร
ร้อยเอ็ด ชอ สายเชื้อ
วิวัฒน์ พูนศรี ศรีสุวรนันท์
เขมชาติ บุณยรัตพันธ์
เลย มา เสริฐศรี
ศรีสะเกษ บุญเพ็ง พรหมคุณ
เทพ โชตินุชิต
สกลนคร เจียม ศิริขันธ์
สุรินทร์ ขาว ธรรมสุชาติ
นิล ประจันต์
หนองคาย ชื่น ระวิวรรณ
อุดรธานี บุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์
สวน พรหมประกาย
อุบลราชธานี ผดุง โกศัลวัตร
ฟอง สิทธิธรรม
เลียง ไชยกาล
ยงยุทธ พึ่งภพ

ภาคใต้

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กระบี่ เนิ่น เกษสุวรรณ
ชุมพร พลเรือโทหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)
ตรัง ก่อเกียรติ ษัฎเสน
นครศรีธรรมราช ภักดี พัฒนภักดี
ฉ่ำ จำรัสเนตร
นราธิวาส สมรรถ เอี่ยมวิโรจน์
ปัตตานี เจริญ สืบแสง
พังงา สาคร กลิ่นผกา
พัทลุง ถัด พรหมมาณพ
ภูเก็ต ขุนประเทศจีนนิกร
ยะลา สาลี กูลณรงค์
ระนอง ยกเสียง เหมะภูติ
สงขลา คล้าย ละอองมณี
ร้อยตำรวจเอกหวน มุตตาหารัช
สตูล เจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ
สุราษฎร์ธานี โชติ วิชัยดิษฐ

ภาคตะวันออก

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
จันทบุรี วงศ์ วีระชาติพลี
ฉะเชิงเทรา กิจจา วัฒนสินธุ์
ชลบุรี ชวลิต อภัยวงศ์
ตราด หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร)
ปราจีนบุรี สมบูรณ์ เดชสุภา
ระยอง เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์

ภาคตะวันตก

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กาญจนบุรี สวัสดิ์ สาระสาลิน
ตาก เทียม ไชยนันทน์
ประจวบคีรีขันธ์ หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
เพชรบุรี พันโทพโยม จุลานนท์
ราชบุรี ปฐม โพธิ์แก้ว

การเลือกตั้งเพิ่มเติม พ.ศ. 2492

[แก้]

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2492 เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 21 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 เพิ่มเติม ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มเติม จำนวน 21 คน

ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ
ออกจากตำแหน่ง

มีรายนามดังนี้

พระนคร

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
พระนคร พลตรีขุนปลดปรปักษ์
ประพัฒน์ วรรณธนะสาร

ธนบุรี

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
ธนบุรี เพทาย โชตินุชิต

ภาคกลาง

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
นครปฐม สานนท์ สายสว่าง
พิจิตร เผด็จ จิราภรณ์

ภาคเหนือ

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
เชียงราย บุญช่วย ศรีสวัสดิ์
เชียงใหม่ ทองย้อย กลิ่นทอง

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
ขอนแก่น ร้อยโทจารุบุตร เรืองสุวรรณ
ชัยภูมิ ทอง พงศ์อนันต์
นครราชสีมา อนันต์ ขันธะชวนะ
มหาสารคาม นาถ เงินทาบ
ร้อยเอ็ด สุวัฒน์ พูลลาภ
ศรีสะเกษ ประเทือง ธรรมสาลี
สกลนคร เตียง ศิริขันธ์
สุรินทร์ ยืน สืบนุการณ์
อุดรธานี ทิม จันสร
อุบลราชธานี อรพินท์ ไชยกาล
ทองพูน อาจทะขันธ์

ภาคใต้

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
นครศรีธรรมราช ร้อยตำรวจเอก เปี่ยม บุณยะโชติ

ภาคตะวันออก

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
ฉะเชิงเทรา หลวงนรกิจบริหาร (แดง กนิษฐสุต)

ภาคตะวันตก

[แก้]
จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
ราชบุรี โกศล สินธุเสก

ผู้ดำรงตำแหน่ง

[แก้]

ประธานสภาผู้แทนราษฎร เกษม บุญศรี

รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ร้อยเอกประเสริฐ สุดบรรทัด (20 กุมภาพันธ์ 2491 - 25 มีนาคม 2492) , ยกเสียง เหมะภูติ (15 มิถุนายน 2492 - 29 พฤศจิกายน 2494)

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]