ข้ามไปเนื้อหา

รายการเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถเมล์ ขสมก. และเครือไทยสมายล์บัส ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สายการเดินรถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี นครปฐม) แบ่งเป็นเส้นทางรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีทั้งหมด 8 เขตการเดินรถ จำนวน 123 เส้นทาง, เส้นทางรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ จำนวน 115 เส้นทาง และเส้นทางที่มีรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ และรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ ให้บริการร่วมกัน จำนวน 26 เส้นทาง[1] รวมทั้งหมด 214 เส้นทาง โดยเริ่มให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 03:30-23:25 น. และยุติการให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 23:30-03:25 น. นอกจากนี้ ยังมีรถให้บริการตลอดคืน ซึ่งจะคิดค่าธรรมเนียมเพิ่มจากปกติ[2]

รายชื่อสายรถโดยสารประจำทาง

[แก้]

ตารางที่จะแสดงต่อจากนี้ จะแบ่งแยกด้วยการใช้สีต่าง ๆ กล่าวคือ

  • เขตการเดินรถที่ 1 แทนด้วย สีม่วง
  • เขตการเดินรถที่ 2 แทนด้วย สีเขียว
  • เขตการเดินรถที่ 3 แทนด้วย สีแดง
  • เขตการเดินรถที่ 4 แทนด้วย สีส้ม
  • เขตการเดินรถที่ 5 แทนด้วย สีชมพู
  • เขตการเดินรถที่ 6 แทนด้วย สีเหลือง
  • เขตการเดินรถที่ 7 แทนด้วย สีน้ำเงิน
  • เขตการเดินรถที่ 8 แทนด้วย สีน้ำตาล
  • เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส (และบริษัทในเครืออื่นๆ) แทนด้วย สีกรมท่า
  • เส้นทางของ บจก.สมาร์ทบัส (ในเครือ บจก.ไทยสมายล์บัส) แทนด้วย สีฟ้า
  • เส้นทางของรถเอกชน แทนด้วย สีดำ
  • เส้นทางของรถหมวด 4 ภายใต้สัญญารถร่วมบริการ ขสมก. แทนด้วย สีแดงเข้ม
  • เส้นทางของ กทม. แทนด้วย สีเขียวอ่อน
  • เส้นทางของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แทนด้วย สีชมพูอ่อน

ในกรณีที่มีวงเล็บด้านหลังเลขสาย ในกรณีของเส้นทางเดินรถขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ แบ่งเป็น 3 กรณีคือ สายที่ยังใช้เลขสายเดิม หมายถึง กลุ่มปฏิบัติการเดินรถ เช่น 505 (3) หมายถึง สายที่ 505 อยู่ในเขตการเดินรถที่ 7 กลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 3 อีกกรณีหนึ่งคือ สายที่ใช้เลขสายเดิมควบคู่กับเลขสายใหม่ในการปฏิรูป 269 เส้นทางของกรมการขนส่งทางบกและกลุ่มปฏิบัติการเดินรถ เช่น 510 (1-19) (2) หมายถึง สายที่ 510 จะใช้เลขสายปฏิรูป 1-19 อยู่ในเขตการเดินรถที่ 1 กลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 2 ส่วนอีกกรณีหนึ่งคือ สายที่ใช้เลขสายใหม่ หมายถึง เลขสายเดิมหรือสายเทียบเคียงของสายนั้นและกลุ่มปฏิบัติการเดินรถ เช่น 3-19E (145E) (3) หมายถึง สายที่ 3-19E เดิมใช้เลขสาย 145E อยู่ในเขตการเดินรถที่ 3 กลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 3 ส่วนในกรณีรถเอกชน แบ่งเป็น 2 กรณีคือ สายที่ยังใช้เลขสายเดิม หมายถึง เลขสายใหม่ในการปฏิรูป 269 เส้นทางของกรมการขนส่งทางบก เช่น 39 (1-5) หมายถึง สายที่ 39 จะใช้เลขสายปฏิรูป 1-5 ส่วนอีกกรณีหนึ่งคือ สายที่ใช้เลขสายใหม่ หมายถึง เลขสายเดิมของสายนั้น เช่น 1-1 (29) หมายถึง สายที่ 1-1 เดิมใช้เลขสาย 29

เส้นทางรถประจำทางเชื่อมท่าอากาศยาน

[แก้]

เส้นทางทุกเส้นทางในหมวดนี้ขึ้นทางด่วน

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
A3 (1) Handicapped/disabled access ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานดอนเมือง สวนลุมพินี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ (โทลล์เวย์) ลงด่านดินแดง)

ค่าโดยสาร คนละ 50 บาท (15 / 20 บาท สำหรับช่วงดินแดง - สวนลุมพินี)

A4 (1) Handicapped/disabled access สนามหลวง รถบริการทางด่วน (ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ (โทลล์เวย์) ลงด่านยมราช)

ค่าโดยสาร คนละ 50 บาท (15 / 20 บาท สำหรับช่วงยมราช - สนามหลวง)

S1 (3) Handicapped/disabled access ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วย ทางพิเศษศรีรัช ลงด่านยมราช

ค่าโดยสาร คนละ 60 บาท (13 / 15 บาท สำหรับช่วงยมราช - สนามหลวง (รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)) | 15 / 20 บาท สำหรับช่วงยมราช - สนามหลวง (รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)))

มีรถให้บริการน้อย

เส้นทางตามใบอนุญาตเดิม (รวมถึงเส้นทางที่เดินรถตามคำสั่งมาตรา 41[note 1])

[แก้]

1-99

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1 Handicapped/disabled access ถนนตก เรือข้ามฟาก ท่าเตียน 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 กันยายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ธรรมดาใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1 (เดิม) ถนนตก-ท่าเตียน ต่อมาได้นำรถเมล์ปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการเพิ่มเติมในภายหลัง
1 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.เกลียวเวิลด์ วนซ้ายรอบสนามหลวง ผ่านท่าพระจันทร์ ท่าช้าง ท่าเตียน วัดโพธิ์ แล้วกลับเข้าสู่เส้นทางเดิม
2 สำโรง สำนักงานที่ดินกรุงเทพฯ บจก.บ้านทองบัส
บจก.รูธ 45
ปลายทางอยู่ที่บริเวณริมคลองคูเมืองเดิม ใกล้กับ สะพานปีกุน หากต้องการไปปากคลองตลาด จะต้องเดินเท้าอีกประมาณ 1 กิโลเมตร
ส่วนใหญ่เดินรถช่วง อุดมสุข-อุรุพงษ์
3 (1) Handicapped/disabled access สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์​ (บางซื่อ) BTS หมอชิต 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 15 ธันวาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ยี่ห้อ BONLUCK กลับให้บริการในเส้นทางสาย 3 (วงกลม) สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์​ (บางซื่อ)-BTS หมอชิต ตามคำสั่ง ม.41 (ใช้เลขสาย 2-37)

ใช้รถจากสาย A1 และ A2 และให้บริการถึงวันที่ 15 มกราคม 2568

3 (2) Handicapped/disabled access เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 15 ธันวาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ยี่ห้อ BONLUCK กลับให้บริการในเส้นทางสาย 3 (วงกลม) สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์​ (บางซื่อ)-BTS หมอชิต ตามคำสั่ง ม.41 (ใช้เลขสาย 2-37)

ใช้รถจากสาย 510 (1-19) และให้บริการถึงวันที่ 15 มกราคม 2568

3 (3) Handicapped/disabled access เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 15 ธันวาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ยี่ห้อ BONLUCK กลับให้บริการในเส้นทางสาย 3 (วงกลม) สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์​ (บางซื่อ)-BTS หมอชิต ตามคำสั่ง ม.41 (ใช้เลขสาย 2-37)

ใช้รถจากสาย 522 (1-22E) และให้บริการถึงวันที่ 15 มกราคม 2568

5 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่กำแพงเพชร สะพานพระพุทธยอดฟ้า 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ในอดีตเดินรถโดยเอกชน

มีรถให้บริการน้อย

11 ซอยอ่อนนุช 80 ประตูน้ำ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีเหลือง บจก.ทีบัสทรานสปอร์ต
บจก.วินวินเอ็นจีวี
20 (1) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำพระสมุทรเจดีย์ เรือข้ามฟาก ท่าน้ำท่าดินแดง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก.
20 (1) ปากน้ำ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านราชประชา ลงทางด่วนด่านช้างสามเศียร)

มีรถให้บริการน้อย

20 บิ๊กซีสุขสวัสดิ์ เรือข้ามฟาก ท่าน้ำท่าดินแดง 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.เกลียวเวิลด์ มีรถให้บริการน้อย
27 Handicapped/disabled access มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 กันยายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 27 (เดิม) มีนบุรี-จตุจักร-อนุสาวรีย์ชัย
27 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน

2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู

บจก.สามัคคีบัส ใช้เส้นทางถนนเสรีไทย

ส่วนใหญ่เสริม แฮปปี้แลนด์ และยังมีรถเสริม "เดอะมอลล์บางกะปิ - เซ็นทรัลลาดพร้าว" ให้บริการในบางคัน

แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ
บจก.ซี.ที.วิเศษทรานสปอร์ต
34 Handicapped/disabled access รังสิต สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 7 เมษายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 34 (เดิม) รังสิต-หัวลำโพง

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

BTS แยก คปอ. 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า) วันที่ 7 เมษายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ธรรมดาใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 34 (เสริม) รังสิต-BTS แยก คปอ.
34 ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.เกลียวเวิลด์
38 มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 แยกอโศกมนตรี 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน
2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
บจก.บริบูรณ์อินฟินิตี้ มีรถให้บริการน้อย
39 Handicapped/disabled access ตลาดไท อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 7 เมษายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 39 (เดิม) ตลาดไท-อนุสาวรีย์ชัย

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

59 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. ผ่านจตุจักร สะพานควาย กิ่งเพชร ถ.หลานหลวง

มีรถให้บริการน้อย

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 รถให้บริการในช่วงเช้า
63 (2) เรือข้ามฟาก MRT-ท่าเรือพระนั่งเกล้า อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 11 กันยายน 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU กลับมาให้บริการในเส้นทางสาย 63(เดิม) MRT-ท่าเรือพระนั่งเกล้า-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
64 (2) กระทรวงพาณิชย์ สะพานพระปิ่นเกล้า 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 2 ตุลาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU กลับมาให้บริการในเส้นทางสาย 64(เดิม) กระทรวงพาณิชย์-สะพานพระปิ่นเกล้า

มีรถให้บริการน้อย และให้บริการแค่ชั่วโมงเร่งด่วน รวมถึงใช้รถจากสาย 63(เดิม)

68 (3) สมุทรสาคร บางลำพู (วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร) ขาไป ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน

ขากลับ ใช้ป้ายหน้ารถสีเขียว

ในอดีตเดินรถโดยเอกชน

มีรถให้บริการน้อย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว

มีรถให้บริการน้อย

เดิมใช้เลขสาย 68ก

คลองพิทยาลงกรณ์ เดอะมออล์ท่าพระ ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง

มีเฉพาะในงานเทศกาล "กินปูดูเล" เท่านั้น

มีรถให้บริการน้อย

71 ตลาดปัฐวิกรณ์ วัดธาตุทอง 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.บ้านโป่งบัสบอดี้
บจก.รูท 45
บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ
บจก.สามัคคีบัส
บจก.วินวินเอ็นจีวี
บจก.มินิบัสไทยสายสิบเอ็ด
รถมินิบัส วิ่งผ่านการเคหะแห่งชาติ
74 ตลาดห้วยขวาง คลองเตย บจก.รูท 45
บจก.เทพประทานพรทรานสปอร์ต
บจก.เนื้อทองทรานสปอร์ต
บจก.ยูทีบี ทรานสปอร์ต
บจก.ใช้จึงเจริญกิจ
82 เรือข้ามฟาก ท่าน้ำพระประแดง พาหุรัด บจก.เกลียวเวิลด์
บจก.รูท 45
บจก.ทเวนตี้บัส
ใช้เส้นทางถนนสุขสวัสดิ์
88 Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน ลาดหญ้า 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 กันยายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 88 (เดิม) มจธ.บางขุนเทียน-ลาดหญ้า
90 ปทุมธานี BTS หมอชิต 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า บจก.บัส 90 มีรถให้บริการน้อย
91 (3) หมู่บ้านเศรษฐกิจ (โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี) สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก.
91ก (3) สนามหลวง 2 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เขตการเดินรถที่ 6 ได้ทำการขยายเส้นทางเดินรถ สาย 91ก (จากเดิมที่วิ่งแค่ ม.กรุงเทพธนบุรี-สนง.เขตบางกอกใหญ่) เปลี่ยนเป็น "ม.กรุงเทพธนบุรี-สนามหลวง" เพื่อให้เป็นไปตามเส้นทางที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตเดินรถ (สัมปทาน) ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563 เป็นต้นไป
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ เป็นเส้นทางเสริมพิเศษ

ผ่านถนนเลียบคลองทวีวัฒนา

92 แยกคลองตัน (ซอยพัฒนาการ 25) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน บจก.ซัคเซสบัสเซอร์วิส
บจก.สหมีชัยขนส่ง
เดิมเคยให้บริการถึงโรงพยาบาลรามาธิบดี (เฉพาะรถบริษัท เทพนิรมิตขนส่ง จำกัด)
98 ตลาดห้วยขวาง ไบเทค บางนา 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน
2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
บจก.สหศรีสุพรรณยานยนต์ เส้นทางส่วนใหญ่เดินรถเพียงแค่ แยกอโศก-แยกอุดมสุข

ในช่วงหนึ่งสาย 98 ก็เคยนำรถขาว-น้ำเงิน กลับมาทำสีครีมแดงแล้ว​เคยให้บริการถึงอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ในช่วงปี พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2549

101-199

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
134 (1) รถโดยสารประจำทาง บางบัวทอง (อู่บัวทองเคหะ) สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. โดยรถจะออกจากอู่บัวทองเคหะในเวลา 06.00 น.
145 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่เมกาบางนา รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
166 (1) เมืองทองธานี ปากเกร็ด มีรถให้บริการน้อย
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านแจ้งวัฒนะ)

มีรถให้บริการน้อย

178 (3) แยกนวมินทร์-ประเสริฐมนูกิจ แยกเกษตร 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เส้นทางผ่านถนนประเสริฐมนูกิจตลอดทั้งสาย ไม่ผ่านนวลจันทร์
182 รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน
2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
บจก.กระแสร์เงินยานยนต์ รถส่วนใหญ่เสริม เซ็นทรัลลาดพร้าว - ม.ราม 1

201-210

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
203 ท่าอิฐ สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
2.รถโดยสารประจำทางสีส้ม
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีเหลือง
4.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า
บจก.บางกอก 118 ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7
205 (1) ตลาดคลองเตย ศูนย์การค้าเดอะมอลล์ ท่าพระ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. กลับมาให้บริการด้วยรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564

ให้บริการในรูปแบบรถเมล์เร็วพิเศษ ขึ้นสะพานพระราม 3

แยกถนนตก เป็นเส้นทางเสริมให้บริการระหว่างวัน

กลับรถที่หัวถนนพระรามที่ 3

501-559

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
510E (2) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (อู่ธรรมศาสตร์) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านหลักสี่ ลงด่านลาดพร้าว)
511 (2) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

มีรถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 62 ลงด่านเพชรบุรี)

เดิมใช้เลขสาย ปอ.11

517 Handicapped/disabled access สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 25 พฤศจิกายน​ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-56(517 เดิม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง-หมอชิต 2 เพื่อลดผลกระทบจากการที่ไม่มีรถจากลาดกระบังไปหมอชิต 2 ในต่อเดียว (ใช้เลขสาย 517X)

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2 และ 8

520 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี ตลาดไท 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เดิมใช้เลขสาย ปอ.21

ในอดีตเดินรถถึงมหาวิทยาลัยรามคำแหง และเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี รถออกจากอู่สวนสยาม รับคนป้ายแรกที่โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
543 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน กรมการปกครอง คลอง 9 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว

มีให้บริการในช่วงเวลาเร่งด่วนเฉพาะช่วงเช้า-เย็น ของวันจันทร์-ศุกร์

555 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วย ทางพิเศษศรีรัช และทางพิเศษเฉลิมมหานคร ลงด่านดินแดง

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 10 บาท

สายปฏิรูป

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1-71 (143A) Handicapped/disabled access เคหะฉลองกรุง มีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 2 ตุลาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ธรรมดา ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-71(143A เดิม) (เสริม) เคหะฉลองกรุง-มีนบุรี (ใช้เลขสาย 1-71X)

เส้นทางตามใบอนุญาตใหม่ และเกิดจากการปฏิรูป 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560[3][4][5]

[แก้]

โซน 1

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1-1 (29) Handicapped/disabled access บางเขน สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 29 (รังสิต - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 1-1 (บางเขน - หัวลำโพง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1 ให้บริการในเส้นทาง "รังสิต - หัวลำโพง"

1-2E (34E) Handicapped/disabled access รังสิต บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 34 (รังสิต - ทางด่วน - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 1-2E (34 เดิม) (รังสิต - ทางด่วน - หัวลำโพง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านวัชรพล ลงด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขากลับ ขึ้นด่านพระราม 9 ลงด่านวัชรพล)

เปลี่ยนเส้นทางเฉพาะขาไปหัวลำโพง โดยเปลี่ยนจากลงด่านพระราม 9 เป็นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

1-3 (34) Handicapped/disabled access บางเขน วันที่ 27 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-3(34 เดิม) บางเขน-หัวลำโพง
1-4 (39A) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต บางเขน วันที่ 1 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-4(39A เดิม) มธ.ศูนย์รังสิต-บางเขน
1-5 (39) Handicapped/disabled access ตลาดรังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.หลีกภัยขนส่ง) วันที่ 16 ธันวาคม​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 39 มธ.ศูนย์รังสิต-อนุสาวรีย์ชัยฯ ก่อนที่จะตัดระยะเหลือ ตลาดรังสิต-อนุสาวรีย์ชัยฯ ในเวลาต่อมา

เคยมีรถให้บริการในเส้นทาง "มธ.ศูนย์รังสิต - BTS แยก คปอ." โดยจำนวนรถให้บริการขึ้นอยู่กับแผนการเดินรถ ปัจจุบันเส้นทางนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของสาย 1-4 แทน[6]

1-6 (52) Handicapped/disabled access ปากเกร็ด รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 52 (ปากเกร็ด - สถานีชุมทางบางซื่อ) เปลี่ยนเป็นสาย 1-6 (ปากเกร็ด - ถ.วิภาวดีรังสิต - หมอชิต 2) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-7E (59E) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-7E(59E เดิม) (ทางด่วน) รังสิต-กิ่งเพชร-สนามหลวง

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านแจ้งวัฒนะ)

1-8 (59 / 503) (3) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 59 (รังสิต - ดอนเมือง - สนามหลวง) เปลี่ยนเป็นสาย 1-8 (รังสิต - สนามหลวง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ผ่านสุทธิสาร หอการค้าไทย ศรีอยุธยา ถ.ราชดำเนินนอก

1-9E Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-9E (ทางด่วน) มธ.ศูนย์รังสิต-มธ.ท่าพระจันทร์

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านเชียงราก ลงด่านยมราช)

มีรถให้บริการน้อย

1-10 (95) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน สถานีรถไฟหัวหมาก 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 95 (บางเขน - บางกะปิ) เปลี่ยนเป็นสาย 1-10 (บางเขน - สถานีรถไฟหัวหมาก) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-11 (95ก) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต บางกะปิ ในอดีตเดินรถถึง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
1-12E (107) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่คลองเตย รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านท่าเรือคลองเตย ลงด่านดินแดง)

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

1-13 (126) Handicapped/disabled access ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 คลองตัน 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 30 มกราคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 126 (ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ - ลำสาลี - คลองตัน) เปลี่ยนเป็นสาย 1-13 (ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ - แยกศรีวรา - คลองตัน) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

1-14E (129) (1) Handicapped/disabled access พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านดินแดง)

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

1-15 (150) Handicapped/disabled access ปากเกร็ด มีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 150 (ปากเกร็ด - บางกะปิ) เปลี่ยนเป็นสาย 1-15 (ปากเกร็ด - มีนบุรี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-16 (185) (3) แยกลำลูกกา พระราม 9 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-16(185 เดิม) แยกลำลูกกา-พระราม 9
1-17 (187) Handicapped/disabled access รังสิต คลอง 3 (ธัญบุรี คลอง 3) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ธรรมนัส ทรานสปอร์ต) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 187 (รังสิต คลอง 3 - สี่พระยา) เปลี่ยนเป็นสาย 1-17 (รังสิต คลอง 3 - อนุสาวรีย์ชัยฯ) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-18E (504) Handicapped/disabled access ตลาดรังสิต บางรัก บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 504 (รังสิต - ถนนตก) เปลี่ยนเป็นสาย 1-18E (รังสิต - ทางด่วน - บางรัก) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านหลักสี่ ลงด่านดินแดง)

1-19 (510) (2) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (อู่ธรรมศาสตร์) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. เดิมใช้เลขสาย ปอ.10

ในอดีตเดินรถถึงบางปะกอก อู่ราชประชา[7]

1-20E (510E) (2) Handicapped/disabled access 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-20E(510E เดิม) (ทางด่วน) มธ.ศูนย์รังสิต-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านอนุสรณ์สถาน ลงด่านลาดพร้าว)

1-21 (114) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต เรือข้ามฟาก นครอินทร์ (ท่าเรือพระราม 5) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-21(114 เดิม) รังสิต-นครอินทร์ (ท่าเรือพระราม 5)
1-22E (522) (3) Handicapped/disabled access อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านงามวงศ์วาน ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านงามวงศ์วาน)

ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง

เดิมใช้เลขสาย ปอ.24

เป็นเส้นทางการเดินรถสายแรกที่ได้รับรองระบบบริหารคุณภาพ จากสถาบันรับรองมาตรฐาน ISO 9002 จากสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม[8]

1-23 (524) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) หลักสี่ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524) วันที่ 16 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 524 (สายใต้ใหม่ - สนามหลวง - หลักสี่) เปลี่ยนเป็นสาย 1-23 (สายใต้ใหม่ - สะพานกรุงธน - หลักสี่) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

1-24E (538) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โรงพยาบาลสงฆ์ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 538 (มทร.ธัญบุรี - หลักสี่ - ทางด่วน - รพ.สงฆ์) เปลี่ยนเป็นสาย 1-24E (มทร.ธัญบุรี - ทางด่วน - สุทธิสาร - รพ.สงฆ์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านหลักสี่ ลงด่านสุทธิสาร)

1-25 (543) (1) แยกถนนลำลูกกา ตลาดใหญ่ลำลูกกา คลอง 7 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว

เป็นเส้นทางเสริมให้บริการระหว่างวัน

รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง

เดิมใช้เลขสาย ปอ.49

1-29 (95ข) (1) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-29(95ข เดิม) บางเขน-ม.รามคำแหง

วิ่งเลียบด่วนรามอินทรา

1-31 (523) Handicapped/disabled access ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 คลองหลวง คลอง 5 (สภ.คลองห้า) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-31(523 เดิม) ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ-คลองหลวง คลอง 5

มีรถให้บริการน้อย

1-32E Handicapped/disabled access BTS ตลาดพลู บางเขน วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-32E (ทางด่วน) บางเขน-BTS ตลาดพลู

รถบริการทางด่วน

1-33 (196) Handicapped/disabled access สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-33(196 เดิม) บางเขน-สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ
1-34 (543ก) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน เรือข้ามฟาก ท่าน้ำนนทบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
ขสมก. ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน

เดิมใช้เลขสาย ปอ.49 และ 543 ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

1-35E (26E) (1) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-35E(26E เดิม) (ทางด่วน) มีนบุรี-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน

1-36 (26) (1) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
4.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI รถปรับอากาศ สีครีมน้ำเงิน ยี่ห้อ HINO และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-36(26 เดิม) มีนบุรี-หมอชิต 2
1-37 (27 / 502) Handicapped/disabled access มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-37(27 เดิม) มีนบุรี-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

รถปรับอากาศสีน้ำเงิน ผ่าน ถ.วิภาวดีรังสิต แยกดินแดง

1-38 (60) (2) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่สวนสยาม สถานีสนามไชย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ DAEWOO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-38(60 เดิม) สวนสยาม-MRT สนามไชย

ในอดีตครั้งหนึ่งเคยเดินรถถึงมีนบุรี โดยใช้รถปรับอากาศ

1-39 (71) Handicapped/disabled access สวนสยาม คลองเตย 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 10 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 71 (สวนสยาม - วัดธาตุทอง) เปลี่ยนเป็นสาย 1-39 (สวนสยาม - คลองเตย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2 ให้บริการในเส้นทาง "สวนสยาม - วัดธาตุทอง" โดยปัจจุบันเส้นทางนี้ใช้เลขสาย 71X

1-40 (93) (3) หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง เรือข้ามฟาก ท่าน้ำสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-40(93 เดิม) หมู่บ้านนักกีฬา-ท่าน้ำสี่พระยา

ผ่านสถานีหัวหมาก ถ.พัฒนาการ

1-41 (92) Handicapped/disabled access เคหะร่มเกล้า แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-41(92 เดิม) เคหะร่มเกล้า-แฮปปี้แลนด์

จากต้นทางเคหะร่มเกล้า ส่วนใหญ่เสริม ตลาดบางกะปิ

1-42 (96) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. ในอดีตเดินรถถึงเสาชิงช้า
1-43 (96ก) (1) แฮปปี้แลนด์ กลับมาให้บริการอีกครั้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564

ผ่านสำนักงานเขตคันนายาว

มีรถให้บริการน้อย

1-44 (113) Handicapped/disabled access ตลาดมีนบุรี สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วิ่งในเส้นทาง ถนนรามคำแหง
1-45 (115) Handicapped/disabled access สวนสยาม บางรัก วันที่ 15 ตุลาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 115 (สวนสยาม - ถ.นวมินทร์ - บางรัก) เปลี่ยนเป็นสาย 1-45 (สวนสยาม - ถ.เสรีไทย - บางรัก) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-46 (131) (1) หนองจอก แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-46(131 เดิม) หนองจอก-แฮปปี้แลนด์
1-47 (143) Handicapped/disabled access นิคมอุตสาหกรรมนำไกร มีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-47(143 เดิม) นิคมอุตสาหกรรมนำไกร-มีนบุรี
1-49 (152) Handicapped/disabled access สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แฮปปี้แลนด์ วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-49(152 เดิม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง-แฮปปี้แลนด์
1-50 (168) (3) Handicapped/disabled access เคหะร่มเกล้า อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 31 ธันวาคม 2566 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-50(168 เดิม) เคหะร่มเกล้า-อนุสาวรีย์ชัยฯ
1-52 (197) Handicapped/disabled access มีนบุรี ถนนเลียบคลองสอง 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 15 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-52(197 เดิม) (วงกลม) มีนบุรี-หทัยราษฎร์

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2

1-53 (501 / 508) (1) หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง เรือข้ามฟาก ท่าช้าง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีครีมน้ำเงิน ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-53(501 เดิม) หมู่บ้านนักกีฬา-ท่าช้าง
1-54 (514) (1) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี MRT ลุมพินี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-54(514 เดิม) มีนบุรี-MRT ลุมพินี
1-55E (514E) (1) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำสี่พระยา วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-55E(514E เดิม) (ทางด่วน) มีนบุรี-ท่าน้ำสี่พระยา
1-56 (517) Handicapped/disabled access สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-56(517 เดิม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง-อนุสาวรีย์ชัยฯ (ใช้เลขสาย 517)
1-57 (519) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี เรือข้ามฟาก ท่าเรือคลองเตย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-57(519 เดิม) มีนบุรี-ท่าเรือคลองเตย
1-58 (525) Handicapped/disabled access สวนสยาม ลำลูกกา คลอง 12 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 19 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-58(525 เดิม) สวนสยาม-ลำลูกกาคลอง 12

จากสวนสยาม ใช้เส้นทางถนนรามอินทรา

เข้าตลาดมีนบุรี เฉพาะขาไปลำลูกกาคลอง 12

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2 ให้บริการในเส้นทาง "สวนสยาม - หมู่บ้านเธียรทอง 3"

1-59 (526) Handicapped/disabled access หมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข วันที่ 19 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-59(526 เดิม) สวนสยาม-หมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข

จากสวนสยาม ใช้เส้นทางถนนเสรีไทย

เข้าตลาดมีนบุรี เฉพาะขาไปหมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2

1-61 Handicapped/disabled access หมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข มีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-61 หมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข-มีนบุรี
1-62 Handicapped/disabled access มีนบุรี กระทรวงพาณิชย์ วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-62 มีนบุรี-กระทรวงพาณิชย์
1-63 Handicapped/disabled access ปัฐวิกรณ์ สวนหลวงพระราม 8 วันที่ 13 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-63 ปัฐวิกรณ์-สวนหลวงพระราม 8
1-64 Handicapped/disabled access สวนสัตว์ซาฟารีเวิลด์ นวลจันทร์ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-64 (วงกลม) ซาฟารีเวิลด์-นวลจันทร์

1-68 (520) (2) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-68(520 เดิม) มีนบุรี-รังสิต
1-71 (143A) Handicapped/disabled access มีนบุรี นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-71(143A เดิม) (วงกลม) มีนบุรี-นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง

1-73 Handicapped/disabled access หมู่บ้านเอื้ออาทรลาดกระบัง 2 ร่มเกล้า เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-73 (วงกลม) หมู่บ้านเอื้ออาทรลาดกระบัง 2-ร่มเกล้า

1-76 (168A) Handicapped/disabled access หมู่บ้านบัวขาว มีนบุรี เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 13 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-76(168A เดิม) (วงกลม) หมู่บ้านบัวขาว-มีนบุรี

1-77 (26A) Handicapped/disabled access มีนบุรี คลองเตย วันที่ 16 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 26A (มีนบุรี - เอกมัย) เปลี่ยนเป็นสาย 1-77 (มีนบุรี - คลองเตย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2

1-80E (60E) (2) รถโดยสารประจำทาง อู่สวนสยาม สถานีสนามไชย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-80E(60E เดิม) (ทางด่วน) สวนสยาม-MRT สนามไชย

รถบริการทางด่วน

โซน 2

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2-2 (16 / 505) (2) ปากเกร็ด สี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 เขตการเดินรถที่ 7 ได้กลับมาให้บริการในเส้นทางสาย 2-2 (16 เดิม) (ปากเกร็ด - สี่พระยา) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก โดยได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 8 ให้บริการในเส้นทางสาย 16 "อู่กำแพงเพชร-สุรวงศ์"

2-3 (18) Handicapped/disabled access ตลาดท่าอิฐ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-3(18 เดิม) ตลาดท่าอิฐ-อนุสาวรีย์ชัยฯ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

มีให้บริการเพียง 2 รอบในช่วงเช้า โดยรถจะออกจากท่าอิฐในเวลา 04:30 น. และ 05:20 น.

ผ่าน รพ.รามาธิบดี

2-4 (30) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า) วัดปากน้ำ (นนทบุรี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ไบรท์สตาร์ซัพพลาย (1999)) วันที่ 16 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 30 (สายใต้เดิม - นนทบุรี) เปลี่ยนเป็นสาย 2-4 (สายใต้เดิม - วัดปากน้ำ (นนทบุรี)) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

2-5 (32) (1) เรือข้ามฟาก ท่าน้ำปากเกร็ด วัดโพธิ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. ผ่าน ท่าช้างวังหลวง ท่าพระจันทร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เฉพาะเที่ยวกลับ
2-6 (33) Handicapped/disabled access ปทุมธานี เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
บจก.บัส 33 วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท บัส 33 จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 33 (ปทุมธานี - สนามหลวง) เปลี่ยนเป็นสาย 2-6 (ปทุมธานี - เทเวศร์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-7 (50) (2) สะพานพระราม 7 สวนลุมพินี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วนเข้าสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ สามารถเดินไปยังสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) ได้ด้วยระยะทางประมาณ 100 เมตร

เดิมเคยให้บริการรถทางด่วน (ขึ้นทางด่วนที่ด่านประชานุกูล ลงด่านท่าเรือ)

2-8 (51) Handicapped/disabled access วัดปรางค์หลวง บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 51 (ปากเกร็ด - ม.เกษตร) เปลี่ยนเป็นสาย 2-8 (วัดปรางค์หลวง - บางเขน) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-9 (53) (2) วงกลมรอบเมือง เทเวศร์-สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

2-10E (63) (2) เรือข้ามฟาก นครอินทร์ (ท่าเรือพระราม 5) ประตูน้ำ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-10E(63 เดิม) (ทางด่วน) นครอินทร์ (ท่าเรือพระราม 5)-ประตูน้ำ

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านงามวงศ์วาน ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านงามวงศ์วาน)

2-11 (64) Handicapped/disabled access กระทรวงสาธารณสุข สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 13 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-11(64 เดิม) กระทรวงสาธารณสุข-สนามหลวง
2-12 (66) (3) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-12(66 เดิม) สายใต้เก่า-ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

2-13 (69) Handicapped/disabled access ท่าอิฐ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 69 (ท่าอิฐ - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 2-13 (ท่าอิฐ - ม.รามคำแหง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-14 (70) (3) ประชานิเวศน์ 3 สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
ขสมก. วนเข้าสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ สามารถเดินไปยังสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) ได้ด้วยระยะทางประมาณ 100 เมตร

รถบริการทางด่วนในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า-เย็น (เฉพาะรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) / ขึ้นทางด่วนด่านงามวงศ์วาน ลงด่านยมราช)

2-15 (97) Handicapped/disabled access กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสงฆ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 24 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-15(97 เดิม) กระทรวงสาธารณสุข-รพ.สงฆ์

วนเข้าสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ สามารถเดินไปยังสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) ได้ด้วยระยะทางประมาณ 100 เมตร

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

2-16 (104) Handicapped/disabled access ปากเกร็ด รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 11​ พฤศจิกายน​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด เพิ่มสาย 104 เสริม ปากเกร็ด-เดอะมอลล์งามวงศ์วาน วิ่งสลับกับรถไปหมอชิต ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้โดยสาร ค่าโดยสารราคาพิเศษ 15 บาทตลอดสาย จากราคาปกติ 20 บาท แต่วิ่งให้บริการได้เพียง 1 วันก็ถูกยกเลิกวิ่งเพราะไปทับเส้นทางของรถตู้
2-17 (112) Handicapped/disabled access สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-17(112 เดิม) (วงกลม) สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ-มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2-18E (69E) Handicapped/disabled access ท่าอิฐ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-18E(69 เดิม) (ทางด่วน) ท่าอิฐ-มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านงามวงศ์วาน ลงด่านอโศก)

2-19 (127) Handicapped/disabled access ตลาดบางบัวทอง บางลำพู (วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 13 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 127 (บางบัวทอง - ศรีประวัติ - บางลำพู) เปลี่ยนเป็นสาย 2-19 (บางบัวทอง - ราชพฤกษ์ - บางลำพู) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

2-20 (134) (1) รถโดยสารประจำทาง บางบัวทอง (อู่บัวทองเคหะ) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
ขสมก. รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เคยมีการใช้อัตราค่าโดยสารตามรถหมวด 4 ปัจจุบันไม่ได้ใช้อัตราค่าโดยสารดังกล่าวแล้ว

ในอดีตเคยมีรถบริการทางด่วน ขึ้นทางด่วนด่านฉิมพลี ลงทางด่วนด่านกำแพงเพชร 2

2-21E (166) (1) ปากเกร็ด อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-21E(166 เดิม) (ทางด่วน) ปากเกร็ด-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านแจ้งวัฒนะ)

2-22 (175) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำนนทบุรี ถนนตก 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-22(175 เดิม) ท่าน้ำนนทบุรี-ถนนตก
2-23 (203) บัวทองเคหะ สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
2.รถโดยสารประจำทางสีส้ม
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีเหลือง
4.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า
บจก.บางกอก 118 ให้บริการในช่วงเวลา 05.00
2-24E (505) (3) ปากเกร็ด วงเวียนใหญ่ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-24E(505 เดิม) (ทางด่วน) ปากเกร็ด-วงเวียนใหญ่ ต่อมาได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU มาให้บริการเพิ่มเติม

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านงามวงศ์วาน ลงด่านสะพานเหลือง ขากลับ ขึ้นด่านหัวลำโพง ลงด่านงามวงศ์วาน)

เดิมใช้เลขสาย ปอ.5

ในอดีตเดินรถโดยเอกชน

2-25 (516) (1) รถโดยสารประจำทาง บางบัวทอง (อู่บัวทองเคหะ) เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน เดิมใช้เลขสาย ปอ.17

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6

2-26 (545) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำนนทบุรี ซอยพัฒนาการ 25 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เดิมใช้เลขสาย ปอ.126

ในอดีตเคยให้บริการถึงสำโรง

รถส่วนใหญ่เสริม ท่าน้ำนนทบุรี - ม.ราม 1

2-27 (210 / 751) Handicapped/disabled access เมืองทองธานี BTS บางหว้า บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 27 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 210 (สะพานพระราม 4 - BTS บางหว้า) เปลี่ยนเป็นสาย 2-27 (เมืองทองธานี - BTS บางหว้า) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7 ให้บริการในเส้นทาง "สะพานพระราม 4 - BTS บางหว้า"

2-28 (177) (3) บางบัวทอง สวนลุมพินี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-28(177 เดิม) บางบัวทอง-สวนลุมพินี

วิ่ง ถ.ราชพฤกษ์

2-29 (1) MRT คลองบางไผ่ เซ็นทรัลพระราม 2 วันที่ 16 มิถุนายน​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-29 MRT คลองบางไผ่-เซ็นทรัลพระราม 2 ต่อมาได้นำรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ ISUZU ย้ายไปให้บริการสายอื่น

รถผ่านเดอะมอลล์บางแคเฉพาะขาไป

2-31E (166) (1) ศรีสมาน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-31E(166 เดิม) (ทางด่วน) ศรีสมาน-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านแจ้งวัฒนะ)

2-32E (70E) (3) ประชานิเวศน์ 3 สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-32E(70E เดิม) (ทางด่วน) ประชานิเวศน์ 3-สนามหลวง

รถบริการทางด่วน

2-33 (134) (1) รถโดยสารประจำทาง บางบัวทอง (อู่บัวทองเคหะ) สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ วันที่ 25 กรกฎาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-33(134 เดิม) หมู่บ้านบัวทองเคหะ-สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ
2-34 (55) Handicapped/disabled access สถานีรถไฟสามเสน ดินแดง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-34(55 เดิม) (วงกลม) สถานีรถไฟสามเสน-ดินแดง

มีรถให้บริการน้อย

2-35 (110) Handicapped/disabled access ประชานิเวศน์ 3 เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 16 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 110 (พระราม 6 - เทเวศร์) เปลี่ยนเป็นสาย 2-35 (ประชานิเวศน์ 3 - เทเวศร์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-36 (1) ไทรน้อย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 20 พฤษภาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-36 ไทรน้อย-ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ

รถวนท่าน้ำปากเกร็ดทั้งขาไปและขากลับ

2-37 (3) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่กำแพงเพชร คลองสาน สายนี้มีการเปลี่ยนอู่ต้นทางจากหมอชิต 2 ย้ายไปที่อู่กำแพงเพชรแทนเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2564 ที่ผ่านมา

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

2-38 (8) Handicapped/disabled access ตลาดแฮปปี้แลนด์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส ดูบทความหลักที่: รถโดยสารประจำทางสาย 8
2-39 (24) (3) ประชานิเวศน์ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-39(24 เดิม) ประชานิเวศน์ 3-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 8

2-40 (36) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่พระราม 9 เรือข้ามฟาก ท่าน้ำสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-40(36 เดิม) อู่พระราม 9-สี่พระยา

ผ่านแยกผังเมือง ฟอร์จูนทาวน์

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 8

2-41 (36ก) (3) ปัฐวิกรณ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-41(36ก เดิม) ปัฐวิกรณ์-อนุสาวรีย์ชัยฯ

ผ่าน ถ.ศรีวรา ถ.ประชาราษฎร์บำเพ็ญ

2-42 (44) Handicapped/disabled access เคหะคลองจั่น เรือข้ามฟาก ท่าเตียน 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-42(44 เดิม) เคหะคลองจั่น-ท่าเตียน
2-43 (49) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่กำแพงเพชร สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 16 มกราคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 49 (วงกลม) (สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) - หมอชิต 2 - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 2-43 (อู่กำแพงเพชร - หมอชิต 2 - หัวลำโพง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-44 (54) (3) วงกลมรอบเมือง ตลาดห้วยขวาง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-44(54 เดิม) (วงกลม) อู่พระราม 9-สุทธิสาร-โบสถ์แม่พระฟาติมา

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 8

2-45 (73) (3) หมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม สะพานพุทธ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ DAEWOO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-45(73 เดิม) เอื้ออาทรบึงกุ่ม-สะพานพุทธ
2-46 (73ก) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่สวนสยาม BTS สนามกีฬาแห่งชาติ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-46(73ก เดิม) สวนสยาม-BTS สนามกีฬาแห่งชาติ
2-47 (117) (2) ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เรือข้ามฟาก ท่าน้ำนนทบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-47(117 เดิม) ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-ท่าน้ำนนทบุรี
2-48 (122) Handicapped/disabled access แฮปปี้แลนด์ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.รวีโชค) วันที่ 30 มกราคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 122 (วัดเทพลีลา - หมอชิต 2) เปลี่ยนเป็นสาย 2-48 (แฮปปี้แลนด์ - หมอชิต 2) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

2-49 (156) (2) รถโดยสารประจำทาง อู่ใต้ทางด่วนรามอินทรา ซอยลาดพร้าว 71 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
2-50 (178) (3) แฮปปี้แลนด์ เซ็นทรัลลาดพร้าว วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-50(178 เดิม) แฮปปี้แลนด์-เซ็นทรัลลาดพร้าว
2-51 (191) (3) การเคหะคลองจั่น สะพานพระนั่งเกล้า เดิมใช้เลขสาย 134ก

ย้ายท่ารถไปสะพานพระนั่งเกล้า ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2564[9]

2-52 (204) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่กำแพงเพชร เรือข้ามฟาก ท่าน้ำราชวงศ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 16 มกราคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 204 (ห้วยขวาง - ท่าน้ำราชวงศ์) เปลี่ยนเป็นสาย 2-52 (อู่กำแพงเพชร - ท่าน้ำราชวงศ์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-53 (2) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รัชดาภิเษก 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-53 (วงกลม) อนุสาวรีย์ชัยฯ-รัชดาภิเษก

โซน 3

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
3-1 (2) Handicapped/disabled access ปากน้ำ สะพานพระพุทธยอดฟ้า 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 3 พฤศจิกายน 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-1(2 เดิม) ปากน้ำ-สะพานพุทธ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 3

3-2E (2E) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำปู่เจ้าสมิงพราย วันที่ 3 พฤศจิกายน 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-2E(2E เดิม) (ทางด่วน) ปู่เจ้าสมิงพราย-สะพานพุทธ

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 62 ลงทางด่วนด่านเพชรบุรี)

3-3 (11) Handicapped/disabled access สวนหลวง ร.9 BTS สนามกีฬาแห่งชาติ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เอ็กซา โลจิสติก) วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 11 (สวนหลวง ร.9 - แยกประเวศ - สนามกีฬาแห่งชาติ) เปลี่ยนเป็นสาย 3-3 (สวนหลวง ร.9 - แยกรามคำแหง - สนามกีฬาแห่งชาติ) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ผ่านแยกรามคำแหง

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2 และ 3

3-4E (23E) (1) Handicapped/disabled access ปากน้ำ เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-4E(23E เดิม) (ทางด่วน) ปากน้ำ-เทเวศร์
3-5 (23) (1) Handicapped/disabled access ปู่เจ้าสมิงพราย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ใช้เส้นทางผ่าน ถ.สุขุมวิท - เอกมัย - ถ.เพชรบุรีตัดใหม่
3-6 (25) Handicapped/disabled access โรงเรียนปทุมคงคา สมุทรปราการ วัดธาตุทอง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สาย 25 ร่วมใจ) วันที่ 18 เมษายน​ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-6(25 เดิม) รร.ปทุมคงคา สมุทรปราการ-วัดธาตุทอง
3-7E (25E) (3) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง ปากน้ำ (อู่แพรกษา) เรือข้ามฟาก ท่าช้าง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-7E(25E เดิม) (ทางด่วน) ปากน้ำ (แพรกษา)-ท่าช้าง

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านสะพานสว่าง)

3-8 (38) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
3-9E (45) (1) หนามแดง เรือข้ามฟาก ท่านํ้าสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 31 ธันวาคม 2566 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-9E(45 เดิม) หนามแดง-ท่าน้ำสี่พระยา

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านบ่อนไก่)

3-10 (46) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า
บจก.สิทธิชาญชัย วันที่ 1 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สิทธิชาญชัย จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 46 (ม.รามคำแหง 2 - รองเมือง) เปลี่ยนเป็นสาย 3-10 (ม.รามคำแหง 2 - สี่พระยา) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
3-11 (48) Handicapped/disabled access วัดโพธิ์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 48 (ม.รามคำแหง 2 - บางนา - วัดโพธิ์) เปลี่ยนเป็นสาย 3-11 (ม.รามคำแหง 2 - อุดมสุข - วัดโพธิ์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ผ่านอุดมสุข

ต่อมาวันที่ 6 มกราคม 2568 ได้มีการเปลี่ยนเส้นทางอีกครั้งโดยขยายไปท่าช้าง และไม่ผ่านสวนเจ้าเชตุ ถนนราชินี

3-12E (102) (2) Handicapped/disabled access แพรกษา รถโดยสารประจำทาง เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 (อู่สาธุประดิษฐ์) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านท่าเรือ)
3-13 (507) Handicapped/disabled access สำโรง รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 507 (ปากน้ำ - สายใต้ใหม่) เปลี่ยนเป็นสาย 3-13 (สำโรง - สายใต้ใหม่) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
3-14 (132) Handicapped/disabled access การเคหะบางพลี BTS อุดมสุข บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 15 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 132 (เคหะบางพลี - BTS อ่อนนุช) เปลี่ยนเป็นสาย 3-14 (เคหะบางพลี - BTS อุดมสุข) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 3 ให้บริการในเส้นทาง "เคหะบางพลี - BTS อ่อนนุช"

3-15 (133) Handicapped/disabled access เอกมัย บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สันติมิตรขนส่ง) วันที่ 21 ธันวาคม​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 133 การเคหะบางพลี-เอกมัย
3-16E (139) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
บจก.ไพศาลสามัคคีขนส่ง รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 62 ลงทางด่วนด่านเพชรบุรี)
3-17E (142) (2) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง อู่แสมดำ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านสุขสวัสดิ์)
3-18 (145) (3) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง ปากน้ำ (อู่แพรกษา) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เคยมีการใช้อัตราค่าโดยสารตามรถหมวด 4 ปัจจุบันไม่ได้ใช้อัตราค่าโดยสารดังกล่าวแล้ว
3-19E (145E) (3) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-19E(145E เดิม) (ทางด่วน) ปากน้ำ (แพรกษา)-หมอชิต 2

รถบริการทางด่วน

3-20E (180) (2) รถโดยสารประจำทาง เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 (อู่สาธุประดิษฐ์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-20E(180 เดิม) (ทางด่วน) เซ็นทรัลพระราม 3-ม.รามคำแหง 2

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านท่าเรือ ลงทางด่วนด่านสุขุมวิท 62)

เคยสังกัดเขตการเดินรถที่ 3 ตั้งแต่เดือนกันยายน 2564 จนถึงเดือนกรกฎาคม 2567

3-21 (207) (3) มหาวิทยาลัยรามคำแหง รถเข้าศูนย์การค้า เมกาบางนา เฉพาะเที่ยวไปมหาวิทยาลัยรามคำแหง

เดิมใช้เลขสาย 207​

ในอดีตเดินรถโดยเอกชน และเขตการเดินรถที่ 3​

3-23E (513) Handicapped/disabled access สำโรง ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 18 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-23E(513 เดิม) (ทางด่วน) สำโรง-ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 50 ลงด่านรามอินทรา)

เดิมใช้เลขสาย ปอ.13

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1 และ 3

3-24E (536) (2) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านเพชรบุรี)

เดิมใช้เลขสาย ปอ.42

รถบริการทางด่วน (เสริมพิเศษลงทางด่วนอนุสาวรีย์ชัย ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านอนุสาวรีย์ชัย (มีเฉพาะช่วงเย็น))
3-25E (552) Handicapped/disabled access ปากน้ำ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 16 กรกฎาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 552 (ปากน้ำ - นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง) เปลี่ยนเป็นสาย 3-25E (ปากน้ำ - ทางด่วน - นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน

3-26E (R26E / 537) Handicapped/disabled access สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี วันที่ 1 ตุลาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS และ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-26E(537 เดิม) (ทางด่วน) สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์-โรงพยาบาลรามาธิบดี

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นทางด่วนด่านศรีนครินทร์ ลงด่านอนุสาวรีย์ชัย ขากลับ ขึ้นทางด่วนด่านพระราม 9 ลงด่านศรีนครินทร์)

3-27 (207A) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำปู่เจ้าสมิงพราย สวนสยาม วันที่ 16 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-27(207A เดิม) ปู่เจ้าสมิงพราย-สวนสยาม

ผ่านถนนศรีนครินทร์ ถนนเทพรัตน

3-30 (206) (3) Handicapped/disabled access ศรีเอี่ยม รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-30(206 เดิม) ศรีเอี่ยม-บางเขน
3-31 (544) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่เมกาบางนา บางบอน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-31(544 เดิม) เมกาบางนา-บางบอน
3-32 (545A) Handicapped/disabled access สำโรง สวนสยาม 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 16 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-32(545A เดิม) สำโรง-สวนสยาม

ผ่านสุขุมวิท 71 ถนนรามคำแหง

3-34 (1013) Handicapped/disabled access บางนา นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เอ็กซา โลจิสติก) วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-34(1013 เดิม) บางนา-นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
3-35 (1) Handicapped/disabled access เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 สนามหลวง บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-35(1 เดิม) เซ็นทรัลพระราม 3-สนามหลวง

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4

3-36 (4) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าเรือคลองเตย เรือข้ามฟาก ท่าน้ำภาษีเจริญ วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-36(4 เดิม) ท่าเรือคลองเตย-ท่าน้ำภาษีเจริญ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4

3-37 (12) Handicapped/disabled access ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย MRT สนามไชย วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 12 (ห้วยขวาง - ปากคลองตลาด) เปลี่ยนเป็นสาย 3-37 (ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - MRT สนามไชย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4 ให้บริการในเส้นทาง "ห้วยขวาง - ปากคลองตลาด"

3-38 (13) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่คลองเตย ปัฐวิกรณ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-38(13 เดิม) คลองเตย-ปัฐวิกรณ์
3-39 (14) Handicapped/disabled access ตลาดศรีย่าน ถนนตก 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 18 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-39(14 เดิม) ศรีย่าน-ถนนตก
3-40 (22) (2) ถนนตก แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-40(22 เดิม) ถนนตก-แฮปปี้แลนด์
3-41 (47) (1) เรือข้ามฟาก ท่าเรือคลองเตย สำนักงานที่ดินกรุงเทพฯ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
3-42 (62) (2) เรือข้ามฟาก ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
เดิมมีรถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านเลียบแม่น้ำ ลงด่านเพชรบุรี)
3-43 (67) (1) วัดเสมียนนารี เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
วนเข้าสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ สามารถเดินไปยังสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) ได้ด้วยระยะทางประมาณ 100 เมตร เที่ยวกลับผ่านวัดช่องลม แยกช่องนนทรี สถานี BRT นราราม 3

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4 และ 7

3-44 (74) Handicapped/disabled access คลองเตย อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-44(74 เดิม) คลองเตย-อนุสาวรีย์ชัยฯ
3-45 (77) Handicapped/disabled access เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-45(77 เดิม) พระราม 3-หมอชิต 2

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4

3-46 (72) (1) เรือข้ามฟาก ท่าเรือคลองเตย เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO และ MITSUBISHI และรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-46(72 เดิม) ท่าเรือคลองเตย-ทองหล่อ-เทเวศร์

ผ่านทองหล่อ

3-47 (136) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่คลองเตย รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
3-48 (137) (2) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถนนรัชดาภิเษก 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4

มีรถเสริม ลาดพร้าว 71 ทั้งวนซ้ายและวนขวา

3-49 (179) (3) ศาลาว่าการ กทม.2 สะพานพระราม 7 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI และ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-49(179 เดิม) กทม.2-พระราม 7
3-50 (195) (2) BTS ตลาดพลู รถโดยสารประจำทาง อู่คลองเตย วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-50(195 เดิม) BTS ตลาดพลู-คลองเตย

ไม่วนเข้าบิ๊กซีพระประแดง

3-51 (205) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่คลองเตย BTS ตลาดพลู เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-51(205 เดิม) (วงกลม) คลองเตย-BTS ตลาดพลู

3-52 Handicapped/disabled access พระราม 3 หัวลำโพง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 12 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-52 (วงกลม) พระราม 3-หัวลำโพง

3-53 Handicapped/disabled access ARL หัวหมาก เสาชิงช้า วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-53 สถานีรถไฟฟ้าหัวหมาก-เสาชิงช้า
3-54 Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำภาษีเจริญ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วันที่ 14 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-54 ท่าน้ำภาษีเจริญ-อนุสาวรีย์ชัยฯ
3-55 Handicapped/disabled access คลองเตย พระราม 7 วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-55 คลองเตย-พระราม 7

โซน 4

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
4-1 (6) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำพระประแดง บางลำพู 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เศวกฉัตร) วันที่ 11​ พฤศจิกายน​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 6 พระประแดง-บางลำพู

ใช้เส้นทางถนนราษฎร์บูรณะ - ถนนเจริญนคร

4-2 (15) (2) BRT ราชพฤกษ์ สยาม 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-2(15 เดิม) (วงกลม) BRT ราชพฤกษ์-สยาม

4-3 (17) Handicapped/disabled access บิ๊กซีพระประแดง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 17 (บิ๊กซีพระประแดง - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 4-3 (17 เดิม) (บิ๊กซีพระประแดง - อนุสาวรีย์ชัย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ผ่านเซ็นทรัลเวิลด์ เฉพาะขาไปอนุสาวรีย์ชัย

4-4 (20) (1) Handicapped/disabled access ป้อมพระจุลจอมเกล้า เรือข้ามฟาก ท่าน้ำท่าดินแดง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. มีให้บริการเพียงรอบเดียวในช่วงเช้า โดยรถจะออกจากท่าดินแดงในเวลา 06:10 น. (หยุดวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์)
4-5 (101) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่บรมราชชนนี (พุทธมณฑลสาย 2) ท่าน้ำพระประแดง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-5(101 เดิม) อู่บรมราชชนนี-ท่าน้ำพระประแดง

เคยสังกัดเขตการเดินรถที่ 5 ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2563 จนถึงเดือนสิงหาคม 2564

4-6 (21) (1) Handicapped/disabled access วัดคู่สร้าง มหานาค 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-6(21 เดิม) วัดคู่สร้าง-มหานาค
4-7E (21E) (1) Handicapped/disabled access จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

วันที่ 1 พฤศจิกายน​ 2566 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ยี่ห้อ BONLUCK ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-7E(21E เดิม) วัดคู่สร้าง-ทางด่วน-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้เลข 21E

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านสาทร)

4-8 (35) Handicapped/disabled access เคหะธนบุรี บางลำพู (วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.บี.บี.ริช ประเทศไทย) วันที่ 1 เมษายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 35 (วัดสน - สายใต้ใหม่) เปลี่ยนเป็นสาย 4-8 (เคหะธนบุรี - บางลำพู) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-9 (37) (1) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำพระประแดง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-9(37 เดิม) ท่าน้ำพระประแดง-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4-10 (42) Handicapped/disabled access เสาชิงช้า แยกท่าพระ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.มหาชนยานยนต์) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 22 เมษายน​ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-10(42 เดิม) (วงกลม) เสาชิงช้า-ท่าพระ

มีรถให้บริการน้อย

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 5 และ 6

4-11 (43) Handicapped/disabled access โรงเรียนศึกษานารีวิทยา (ศึกษานารี 2) เทเวศร์ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) มีรถให้บริการน้อย
4-12 (68) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่แสมดำ บางลำพู (วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน

ขากลับอู่แสมดำรถจะไปกลับรถบริเวณบริษัท​ ดีโก้วัสดุภัณฑ์​ ซึ่งจะห่างจากจุดกลับรถบริเวณซอยแสมดำประมาณ​ 2​ กิโลเมตร ​

4-13 (75) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ธารทิพย์ สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.แกรนด์ซิตี้บัส) วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 75 (ธารทิพย์ - แยกหัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 4-13 (ธารทิพย์ - สถานีรถไฟหัวลำโพง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4 และ 5

4-14 (76) (3) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่แสมดำ ประตูน้ำ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก.
4-15 (82) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำพระประแดง สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 9 กันยายน 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-3(17 เดิม) และ สาย 4-15(82 เดิม)

ใช้เส้นทางถนนสุขสวัสดิ์

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 5

4-16 (85) Handicapped/disabled access บิ๊กซีพระประแดง สถานีรถไฟธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 27 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 85 (แสมดำ - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 4-16 (บิ๊กซีพระประแดง - สถานีรถไฟธนบุรี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

4-17 (88) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน BTS ตลาดพลู บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 88 (มจธ.บางขุนเทียน - ลาดหญ้า) เปลี่ยนเป็นสาย 4-17 (มจธ.บางขุนเทียน - BTS ตลาดพลู) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 5 ให้บริการในเส้นทาง "มจธ.บางขุนเทียน - ลาดหญ้า"

4-18 (105) (3) Handicapped/disabled access สมุทรสาคร BTS กรุงธนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 105 (มหาชัยเมืองใหม่ - คลองสาน) เปลี่ยนเป็นสาย 4-18 (สมุทรสาคร - BTS กรุงธนบุรี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก ต่อมาได้เปลี่ยนกลับมาใช้เลข 105 ตามเดิม

ผ่านเซ็นทรัลมหาชัย

4-19 (108 / 542) Handicapped/disabled access BTS ตลาดพลู อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 27 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 108 (เดอะมอลล์ท่าพระ - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 4-19 (วงกลม) (BTS ตลาดพลู - อนุสาวรีย์ชัย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก​

มีรถให้บริการน้อย

4-20 (111) (2) ถนนเจริญนคร ตลาดพลู 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
วุฒากาศ รถเสริมพิเศษเข้าอู่
4-21 (120​) Handicapped/disabled access โรงพยาบาลสมุทรสาคร แยกบ้านแขก 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.อำไพรุ่งโรจน์) วันที่ 24 ตุลาคม 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 7 และ สาย 4-21(120 เดิม)
4-22E (138) (1) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ราชประชา รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงทางด่วนด่านดินแดง)

เฉพาะขาไปสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถจะจอดส่งผู้โดยสารลงที่สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ)

4-23E (140) Handicapped/disabled access แสมดำ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-23E(140 เดิม) (ทางด่วน) แสมดำ-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านเพชรบุรี)

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 5

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านอนุสาวรีย์ชัย)

มีให้บริการในช่วงเวลาเร่งด่วนเฉพาะช่วงเย็น ของวันจันทร์-ศุกร์

4-24E (141) (3) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่แสมดำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านท่าเรือคลองเตย)
4-25 (147) Handicapped/disabled access เคหะธนบุรี บางแค 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
4-26 (167) Handicapped/disabled access สวนลุมพินี 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

วันที่ 30 มกราคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 167 (เคหะธนบุรี - BTS วงเวียนใหญ่ - สวนลุมพินี) เปลี่ยนเป็นสาย 4-26 (เคหะธนบุรี - พระราม 3 - สวนลุมพินี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-27E (173) Handicapped/disabled access บางขุนเทียน แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-27E(173 เดิม) (ทางด่วน) บางขุนเทียน-แฮปปี้แลนด์

รถบริการทางด่วน

4-28 (529) Handicapped/disabled access แสมดำ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วันที่ 15 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-28(529 เดิม) แสมดำ-อนุสาวรีย์ชัยฯ
4-29E (529E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) วันที่ 29 มกราคม 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 529E (แสมดำ - ทางด่วน - หมอชิต 2) เปลี่ยนเป็นสาย 4-29E (529E เดิม) (แสมดำ - ทางด่วน - หมอชิต 2) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านอโศก)

ผ่านถนนลาดพร้าว

4-33E (138) (1) เรือข้ามฟาก ท่าน้ำพระประแดง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-33E(138 เดิม) (ทางด่วน) ท่าน้ำพระประแดง-หมอชิต 2
4-34 Handicapped/disabled access เคหะธนบุรี พระประแดง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-34 (วงกลม) เคหะธนบุรี-พระประแดง

4-35 (2) คลองสาน เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-35 (วงกลม) คลองสาน-เทเวศร์

4-36 (7) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง เอกชัย (วัดราษฎร์รังสรรค์) สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ต.มานิตย์การเดินรถ) วันที่ 24 ตุลาคม 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 7 และ สาย 4-21(120 เดิม)

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6 ให้บริการในเส้นทาง "คลองขวาง - หัวลำโพง"

4-37 (9) Handicapped/disabled access กัลปพฤกษ์ สถานีรถไฟสามเสน บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4-38 (28) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วันที่ 26 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 28 (สายใต้ใหม่ - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 4-38 (สายใต้ใหม่ - จันทรเกษม) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ต่อมาวันที่ 25 สิงหาคม 2566 ได้มีการเปลี่ยนเส้นทางอีกครั้งโดยจะไม่ผ่านตึกช้าง จ๊อดแฟร์ พหลโยธิน 24

4-39 (40) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) วันที่ 26 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 40A (สายใต้ใหม่ - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 4-39 (สายใต้ใหม่ - เอกมัย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-40 (56) Handicapped/disabled access สะพานกรุงธน บางลำพู บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ชัยกรการเดินรถ) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 19 ธันวาคม​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 56 และ 80

4-41 (57) Handicapped/disabled access ตลิ่งชัน ธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 7 กันยายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 57 (วงกลม) (ตลิ่งชัน - ธนบุรี) เปลี่ยนเป็นสาย 4-41 (57 เดิม) (วงกลม) (ตลิ่งชัน - ธนบุรี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

เปลี่ยนเส้นทางเฉพาะฝั่งวนขวา โดยจะไม่ผ่านสะพานพระราม 8 และสะพานพระปิ่นเกล้า

4-42 (79) (2) รถโดยสารประจำทาง อู่บรมราชชนนี (พุทธมณฑลสาย 2) แยกราชประสงค์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-42(79 เดิม) อู่บรมราชชนนี-ราชประสงค์

ไม่ผ่านถนนพุทธมณฑลสาย 2

4-43 (80) (1) วัดศรีนวลธรรมวิมล สนามหลวง มีรถโดยสารประจำทางสีครีม–แดงให้บริการในช่วงเย็นจนถึงกะสว่าง
4-44 (80A) Handicapped/disabled access หมู่บ้านวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร 11 (วปอ.11) สวนหลวงพระราม 8 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เจริญบัส) วันที่ 25 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 80 (วัดศรีนวลธรรมวิมล - สนามหลวง) เปลี่ยนเป็นสาย 4-44 (80A เดิม) (หมู่บ้าน วปอ.11 - สวนหลวง ร.8) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6 ให้บริการในเส้นทาง "หมู่บ้าน วปอ.11 - สำนักงานเขตบางกอกใหญ่"

4-45 (81) Handicapped/disabled access อ้อมน้อย เรือข้ามฟาก ท่าราชวรดิฐ บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 เมษายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 81 (พุทธมณฑลสาย 5 - สะพานพระปิ่นเกล้า) เปลี่ยนเป็นสาย 4-45 (พุทธมณฑลสาย 5 - ท่าราชวรดิฐ) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก ต่อมาได้ขยายต้นทางไปยังอ้อมน้อย
4-46 (84) Handicapped/disabled access วัดไร่ขิง BTS กรุงธนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-46(84 เดิม) วัดไร่ขิง-BTS กรุงธนบุรี

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6

4-47 (89) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4-48 (7ก) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่บรมราชชนนี (พุทธมณฑลสาย 2) พาหุรัด 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
4-49 (170) Handicapped/disabled access บรมราชชชนี (สน.คู่ขนานลอยฟ้า) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 10 สิงหาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 170 (บรมราชชชนี (พุทธมณฑลสาย 2) - สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ)) เปลี่ยนเป็นสาย 4-49 (170 เดิม) (บรมราชชชนี (สน.คู่ขนานลอยฟ้า) - หมอชิต 2) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-50 (123) Handicapped/disabled access สวนสามพราน เรือข้ามฟาก ท่าราชวรดิฐ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4-51 (124) Handicapped/disabled access บ้านเอื้ออาทร ศาลายา สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

4-52 (146) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) บางแค 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 20 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-52(146 เดิม) (วงกลม) สายใต้ใหม่-บางแค

4-53 (149) Handicapped/disabled access บรมราชชนนี รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) วันที่ 19 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-53(149 เดิม) บรมราชชนนี-เอกมัย
4-54E (157) Handicapped/disabled access อ้อมใหญ่ เดอะมอลล์บางแค เส้นทางเสริมพิเศษเข้าอู่
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วันที่ 1 เมษายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 157 (อ้อมใหญ่ - ทางด่วน - พระราม 6 - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 4-54E (อ้อมใหญ่ - ทางด่วน - หมอชิต 2 - อนุสาวรีย์ชัย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก ก่อนที่จะกลับมาให้บริการในเส้นทางก่อนหน้าในเวลาต่อมา

รถบริการทางด่วน

พุทธมณฑลสาย 2 เส้นทางเสริมพิเศษเข้าอู่
4-55 (163) Handicapped/disabled access ศาลายา BTS สนามกีฬาแห่งชาติ วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-55(163 เดิม) สถานีศาลายา-BTS สนามกีฬาแห่งชาติ
BTS โพธิ์นิมิตร เป็นเส้นทางเสริมให้บริการระหว่างวัน
4-56 (165) Handicapped/disabled access บรมราชชนนี BTS กรุงธนบุรี วันที่ 13 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-56(165 เดิม) บรมราชชนนี-BTS กรุงธนบุรี

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6 ให้บริการในเส้นทาง "บรมราชชนนี - สำนักงานเขตบางกอกใหญ่"

4-57 (91ก) (3) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) ทวีวัฒนา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-57(91ก เดิม) (วงกลม) สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)-ทวีวัฒนา

4-59 (189) (1) วัดบางยาง สถานีตลิ่งชัน วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-59(189 เดิม) กระทุ่มแบน (วัดบางยาง)-สถานีตลิ่งชัน
4-60 (91 / 509) (3) หมู่บ้านเศรษฐกิจ (อัสสัมชัญธนบุรี) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-60(509 เดิม) หมู่บ้านเศรษฐกิจ-สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
4-61 (515 / 125) Handicapped/disabled access ศาลายา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 25 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-61(515 เดิม) ศาลายา-อนุสาวรีย์ชัยฯ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6

4-62 (539) Handicapped/disabled access อ้อมน้อย 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

หจก.บุญมงคลกาญจน์ เดิมใช้เลขสาย ปอ.45
4-63 (84ก / 547) Handicapped/disabled access หมู่บ้านเอี้ออาทรศาลายา 3 ถนนตก 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 1 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 547 (ศาลายา - สวนลุมพินี) เปลี่ยนเป็นสาย 4-63 (ศาลายา - ถนนตก) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-64 (556) (1) รถโดยสารประจำทาง วัดไร่ขิง อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-64(556 เดิม) วัดไร่ขิง-อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
แยกนครชัยศรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 31 สิงหาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-64(556 เดิม) แยกนครชัยศรี-อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
4-67 (387) Handicapped/disabled access ศาลายา กระทรวงพาณิชย์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-67(387 เดิม) สถานีศาลายา-กระทรวงพาณิชย์
4-68 Handicapped/disabled access สวนผัก ถนนตก วันที่ 16 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-68 สวนผัก-ถนนตก
4-69 (201) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่บรมราชชนนี พระราม 9 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-69(201 เดิม) อู่บรมราชชนนี-พระราม 9
4-70E (Y70E) (1) เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา BTS หมอชิต 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านตลิ่งชัน ลงด่านกำแพงเพชร 2)
4-71E (515E) (1) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-71E(515E เดิม) (ทางด่วน) เซ็นทรัลศาลายา-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ตามคำสั่งของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านฉิมพลี ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ลงด่านบางบำหรุ)

เส้นทางเชื่อมท่าอากาศยาน

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
A1 (1) Handicapped/disabled access ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานดอนเมือง รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ไฮบริด)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (โทลล์เวย์) (ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านลาดพร้าว)
ค่าโดยสาร คนละ 30 บาท (15 บาท สำหรับช่วงจตุจักร - หมอชิต 2)
A2 (1) Handicapped/disabled access อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย A2 (ทางด่วน) ท่าอากาศยานดอนเมือง-ดินแดง-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

รถบริการทางด่วน (โทลล์เวย์) (ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านดินแดง)
ค่าโดยสาร คนละ 30 บาท (15 บาท สำหรับช่วงดินแดง - อนุสาวรีย์ชัย)

S2 (554) Handicapped/disabled access ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตลาดรังสิต 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วย ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ลงด่านรามอินทรา

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 10 บาท

S3 (559) Handicapped/disabled access บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ราชาโร้ด) วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย S3(559 เดิม) (ทางด่วน) รังสิต-สวนสยาม-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วย ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ลงด่านเสรีไทยเพื่อผ่านสวนสยามแล้วกลับมาขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ที่ด่านรามอินทรา ลงด่านธัญบุรี

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในขณะนี้ยังคงจัดเก็บค่าโดยสารตามตารางปกติ

S4 (549) Handicapped/disabled access มีนบุรี วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย S4(549 เดิม) มีนบุรี-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในขณะนี้ยังคงจัดเก็บค่าโดยสารตามตารางปกติ

S5 (550) Handicapped/disabled access แฮปปี้แลนด์ วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย S5(550 เดิม) แฮปปี้แลนด์-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในขณะนี้ยังคงจัดเก็บค่าโดยสารตามตารางปกติ

S6 (555) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 555 (รังสิต - สุทธิสาร - สุวรรณภูมิ) เปลี่ยนเป็นสาย S6 (หมอชิต 2 - สุวรรณภูมิ) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วยทางพิเศษศรีรัช ลงด่านพระราม 9

S7 (558) Handicapped/disabled access เคหะธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านบางนา)

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 10 บาท

รถหมวด 4

[แก้]
  • เลขสาย เส้นทางฟลีทย่อยออกมาจากเส้นทางหลัก
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1009 สะพานใหม่ ตลาดมีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า-ชมพู

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า-ชมพู

3.รถตู้โดยสารประจำทางสีฟ้า-ชมพู

บจก.สยามเมล์ มีรถให้บริการน้อย
ตลาดวงศกร 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า-ชมพู

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า-ชมพู

รถเมล์/รถมินิบัส ผ่าน ถ.สายไหม
1009 1.รถโดยสารประจำทางสีฟ้า-ขาว

2.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว

รถสองแถว ผ่าน ถ.เพิ่มสิน
ห้าแยกวัชรพล 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว
ตลาดออเงิน ผ่านวัดเกาะสุวรรณาราม
ตลาดวงศกร ลำลูกกา คลอง 4 มีรถให้บริการน้อย
1013 หัวตะเข้ สะพานข้ามคลองพระโขนง (แยกอ่อนนุช) 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีขาว-แดง

บจก.ลาดกระบัง
พาราไดซ์ พาร์ค 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีขาว-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีขาว-แดง

1013 สะพานข้ามคลองพระโขนง (แยกอ่อนนุช) ซอยอ่อนนุช 70 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-แดง ใช้เลขสายฟลีทย่อย 1
หมู่บ้านมิตรภาพ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 2
ซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 3
พาราไดซ์ พาร์ค ใช้เลขสายฟลีทย่อย 4
ประเวศ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 5
สถานีหัวหมาก แยกพัฒนาการตัดใหม่ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 6
สะพานข้ามคลองพระโขนง (แยกอ่อนนุช) ใช้เลขสายฟลีทย่อย 7
พาราไดซ์ พาร์ค ใช้เลขสายฟลีทย่อย 9
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 ใช้เลขสายฟลีทย่อย 10
สถานีลาดกระบัง เมกาบางนา ใช้เลขสายฟลีทย่อย 11
นิคมลาดกระบัง บ้านเอื้ออาทรลาดกระบัง 1-2 ใช้เลขสายฟลีทย่อย 111
สำนักงานขนส่งพื้นที่ 4 โรงพยายาลสิรินธร ใช้เลขสายฟลีทย่อย 222
ศูนย์การค้าเทิดไท สถานีลาดกระบัง ใช้เลขสายฟลีทย่อย 333
ICD ลาดกระบัง หมู่บ้านเสรี ใช้เลขสายฟลีทย่อย 444
วัดราชโกษา การเคหะร่มเกล้า ใช้เลขสายฟลีทย่อย 555
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถานีลาดกระบัง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้เลขสายฟลีทย่อย 777

หัวตะเข้ ประเวศ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 888
1014 อุดมสุข 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2
ซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 ผ่านโรงเรียนคลองปักหลัก
1017 ตลาดบางแค บางบอน 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว บจก.พรดำรงขนส่ง
1018 ท่าเรือสถานีรถไฟ วัดชัยพฤกษมาลาราชวรวิหาร 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-ขาว หจก.นครชัยพฤกษ์รุ่งเรือง ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
โรงเรียนฉิมพลี ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว
วัดบางไกรใน ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง
1019 สุขุมวิท ท่าเรือทองหล่อ 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีแดง เอกชน
1048 ตลาดห้วยขวาง ลาดพร้าว 80 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง
1058 ดอนเมือง แยกสวนสมเด็จ ผ่าน ถ.ติวานนท์
วัดนาวง
แฟลตทุ่งสีกัน 2
วัดไผ่เขียว
วัดสีกัน
1059 รามอินทรา กม.8 หทัยราษฎร์
หมู่บ้านวิลล่ารามอินทรา (คู้บอน 27)
1060 รามอินทรา กม.4 วัดหนองใหญ่ 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีแดง

2.รถสองแถวประจำทางสีแดง

มีรถใหญ่ให้บริการเพียงคันเดียว ส่วนรถที่เหลือเป็นรถสองแถว
1062 ตลาดห้วยขวาง วัดเทพลีลา 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง
1063 เดอะมอลล์ บางกะปิ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-เขียว หจก.ปู่อินทร์ทรานสปอร์ต
1066 แยกราษฎร์พัฒนา 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1069 รามอินทรา กม.4 หมู่บ้านเสนานิเวศน์ 2
หมู่บ้านเนียมกล่ำสามัคคี
1070 รามอินทรา กม.6 ถนนนวมินทร์
1071 รามอินทรา กม.2 เสนานิคม
1073 เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน โลตัสเตาปูน
1080 ตลาดยิ่งเจริญ หมู่บ้านอนันต์สุขสันต์ 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-ส้ม-ม่วง บจก.บิ๊กเวิลด์ทรานสปอร์ต
1081 สถานีหลักสี่ ตลาดโกสุมรวมใจ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1082 ตลาดแฮปปี้แลนด์ หมู่บ้านสัมมากร
1083 พหลโยธิน 52 วัดราษฎร์นิยมธรรม
1085 ดอนเมือง หมู่บ้านศิริสุข
1088 หมู่บ้านดาวทอง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
1089 รามอินทรา กม.5 เพิ่มสิน 20
1091 ดอนเมือง ตลาดโกสุมรวมใจ บจก.ดอนเมืองบัสทรานสปอร์ต
ถนนประชาอุทิศ (จังหวัดนนทบุรี) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
1096 ตลาดยิ่งเจริญ ตลาดถนอมมิตร เอกชน
รามอินทรา กม.2
1105 ตลาดมีนบุรี วัดลำต้อยติ่ง 1.รถสองแถวประจำทางสีเทา-น้ำเงิน หจก.สมานพัฒนาร่วมเจริญกิจ ผ่านคู้ขวา
1108 หนองจอก 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว

2.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-ฟ้า

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีขาว-ฟ้า

บจก.หนองจอกร่วมมิตรเดินรถ
1119 ผ่านคู้ซ้าย
ลำหิน 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว

2.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-ฟ้า

1120 วัดพระยาสุเรนทร์ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1121 วัดสุขใจ 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีแดง

2.รถสองแถวประจำทางสีแดง

3.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว

มีรถใหญ่ให้บริการเพียงคันเดียว ส่วนรถที่เหลือเป็นรถสองแถวและรถตู้
1123 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง

2.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน-เขียว

1124 พุทธมณฑลสาย 4 สถานีบางหว้า 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง บจก.ส.เสงี่ยมสุข
วัดศรีนวลธรรมวิมล ตลาดบางแค
หนองแขม โรงเรียนศึกษานารีวิทยา 2
โลตัสพระราม 2 เดอะมอลล์ บางแค
วัดใหม่หนองพะอง บิ๊กซีเพชรเกษม
1125 ตลาดมีนบุรี กีบหมู เอกชน
1127 เคหะรามคำแหง หจก.ส.เพชรทองก้อนเดินรถ
1128 ถนนสามวา (ปากซอยจตุพร) เอกชน
1131 หมู่บ้านสหกรณ์เคหะสถาน แยกบางกะปิ
1143 ท่าน้ำสรรพาวุธ แยกบางนา
1213 สุขุมวิท 93 ซอยพึ่งมี
1215 สุขุมวิท 101/1 ซอยสุภาพงษ์ 1 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีแดง

2.รถสองแถวประจำทางสีแดง

มีรถใหญ่ให้บริการน้อย ส่วนรถที่เหลือเป็นรถสองแถว
1216 สถานีบางนา
1234 เคหะร่มเกล้า แยกกิ่งแก้ว 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง
1238 ตลาดมีนบุรี ลาดกระบัง
1240 สวนลุมพินี ตรอกจันทน์
พระราม 3
1256 สถานีสะพานตากสิน วัดช่องลม
1261 สาธุประดิษฐ์ วัดปริวาสราชสงคราม
1269 หัวตะเข้ ซอยลำกอไผ่
แยกหนองจอก
1270 คลังสินค้าคิง เพาเวอร์ คลองเจ้า
1271 วัดไผ่เงินโชตนาราม โรงพยาบาลเลิดสิน
1272 วัดลุ่มเจริญศรัทธา ถนนเย็นอากาศ
1273 ช่องนนทรี วัดพระยาไกร
1279 วัดดอกไม้ ถนนจันทน์
1283 ลาดกระบัง บางพลี
1292 หัวตะเข้ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-เขียว-เหลือง บจก.ล.กลอยฤทัยทรานสปอร์ต 1993
1293 แยกกิ่งแก้ว โฮมโปรบางพลี 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1303 ตลาดบางแค หมู่บ้านเศรษฐกิจ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง-ขาว หจก.กลุ่มรถร่วมคลองขวาง
โรงเรียนศึกษานารีวิทยา 2
ตลาดพุทธมณฑล ผ่านสนามหลวง 2
1304 ตลาดมีนบุรี ตลาดใหญ่ลำลูกกาคลอง 7 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง

2.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-ม่วง-ชมพู

3.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน-เขียว

เอกชน รถตู้ เข้าตลาดใหญ่

รถสองแถว ไม่เข้าตลาดใหญ่

1306 ตลาดแฮปปี้แลนด์ หมู่บ้านพฤกษชาติ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง
1314 ตลาดมีนบุรี สถานีหัวหมาก 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-เขียว หจก.ปู่อินทร์ทรานสปอร์ต ใช้เลขสายฟลีทย่อย 1
เดอะ พาซิโอ้ รามคำแหง ใช้เลขสายฟลีทย่อย 66
ตลาดปัฐวิกรณ์ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 77
รามอินทรา กม.8 ใช้เลขสายฟลีทย่อย 88
หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง รามคำแหง 40 ใช้เลขสายฟลีทย่อย 93
การเคหะร่มเกล้า แฟชั่นไอส์แลนด์ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 99
1314 ตลาดมีนบุรี ใช้หัวหลังคาสีขาว-แดง
หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง เดอะมอลล์ บางกะปิ ใช้หัวหลังคาสีขาว
1316 สถานีรามคำแหง 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
รามคำแหง 24 ซอยพูนทรัพย์สิน (แยก 12)
ซอยรื่นรมย์ (แยก 14)
ซอยศิริมิตร (แยก 16)
ซอยศิริถาวร (แยก 24)
หมู่บ้านเสรี 1-5
1318 บิ๊กซีพระราม 2 สน.ท่าข้าม 1.รถสองแถวประจำทางสีน้ำเงิน-ขาว บจก.อุ่นเรือนเดินรถ
1319 ซอยแฉล้มนิมิตร ตลาดสะพาน 3 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1320 อ่อนนุช พัฒนาการ 30
1400 ตลาดบางแค โรงเรียนทวีวัฒนา 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง-เขียว บจก.บัสซอยทรานสปอร์ต
1402 วัดสิงห์ 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว บจก.พรดำรงขนส่ง สายเก่า ผ่าน ถ.กำนันแม้น
1403 แฟลตทุ่งครุ สุขสวัสดิ์ กม.9 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง บจก.สยามสองแถวเล็ก
1405 วัดคู่สร้าง บิ๊กซีพระประแดง 1.รถสองแถวประจำทางสีเขียว-เหลือง บจก.สหมงคลชัยเดินรถ
1411 จรัญสนิทวงศ์ 12 อิสรภาพ 29 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1416 วัดชลอ จรัญสนิทวงศ์ 65
1419 ตลาดบางขุนศรี วัดศิริวัฒนาราม
1445 วัดพุทธบูชา ดาวคะนอง
1452 ตลาดบางแค เพชรเกษม 58
1454 ถนนพุทธมณฑล สาย 2 ผ่าน ถ.นครลุง
1467 หนองใหญ่ 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว บจก.พรดำรงขนส่ง มีรถให้บริการน้อย
1468 บางแค 7 (ยิ้มประยูร)
1469 หนองแขม บิ๊กซีเพชรเกษม 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1470 วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ บางปะแก้ว 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง หจก.เอ็น.ไอ.เอ็ม.คาร์เซอร์วิส
1472 ตลาดบางแค วัดบุณยประดิษฐ์ 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-ชมพู-ฟ้า บจก.พ่อแก่ (1999) ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
สนามหลวง 2 ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน
1474 ตลาดบางขุนศรี ถนนสวนผัก 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-เทา-แดง บจก.ตลิ่งชันวัฒนา
สวนผัก 32
1475 ท่าเรือสถานีรถไฟ วัดประดู่ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง-เขียว บจก.บัสซอยทรานสปอร์ต ใช้ป้ายหน้ารถสีเขียว
วัดช่างเหล็ก ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง
วัดมะพร้าวเตี้ย ใช้ป้ายหน้ารถสีส้ม
วัดจำปา ใช้ป้ายหน้ารถสีชมพู
สมาคมชาวปักษ์ใต้ ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว

ผ่านตลาดน้ำคลองลัดมะยม

วัดทอง ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
วัดเงิน ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน
แม็คโครจรัญสนิทวงศ์ สถานีบางหว้า ใช้ป้ายหน้ารถสีม่วง
1476 ตลาดเซฟอี วัดรางบัว 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง บจก.ส.เสี่ยมสุข
1498 ถนนเจริญรัถ ซอยโรงเรียนเยาวพันธ์ เอกชน
1499 วัดหัวกระบือ เทียนทะเล 22 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-ขาว-น้ำเงิน หจก.ศิริร่วมกิจขนส่ง
1500 เดอะมอลล์ท่าพระ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-แดง-เหลือง-น้ำเงิน บจก.ธิติวัชขนส่ง
1501 ตลาดบางบอน การเคหะชุมชนธนบุรี 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว บจก.ศิริชัยบางบอนขนส่ง ใช้หัวหลังคาสีขาว
เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้หัวหลังคาสีเหลือง

วัดกำแพง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้หัวหลังคาสีชมพู

วัดหัวกระบือ ใช้หัวหลังคาสีฟ้า
ถนนพระรามที่ 2 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้หัวหลังคาสีเขียว

ผ่าน ซ.เอกชัย 69

1506 หมู่บ้านวังทอง เพชรเกษม 77/4 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง-ขาว หจก.ซอย 77 เดินรถ
1509 เพชรเกษม 114 บิ๊กซีเพชรเกษม หจก.กลุ่มรถร่วมคลองขวาง
1510 โรงเรียนราชวินิตบางแคปานขำ ตลาดบางแค 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-ชมพู-ฟ้า บจก.พ่อแก่ (1999)
1511 ตลาดมีนบุรี เสรีไทย 46 (ซีรอ) 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1516 หัวตะเข้ นิคมอุตสาหกรรมนำไกร
1517 มีนบุรี หัวตะเข้ 1.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-ม่วง-ชมพู เส้นทางสำหรับรถตู้
บึงบัว 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เส้นทางสำหรับรถสองแถว
1518 สุขสวัสดิ์ 26 วัดหลวงพ่อโอภาสี
1520 ถนนพัฒนาการ ศูนย์การค้าแฮปปี้แลนด์ ผ่าน ซ.รามคำแหง 24
1526 ตลาดถนอมมิตร ลาดพร้าว 81
1528 คอนโดเอื้ออมรสุข โลตัสอ่อนนุช
1532 ตลาดนำชัย วัดกิ่งแก้ว
1534 วัดกก พระราม 2 ซอย 30 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
1538 เดอะมอลล์ บางกะปิ บึงกุ่ม
1542 ตลาดมีนบุรี เอื้ออาทรมีนบุรี
1548 ชินเขต 1 ท่าทราย
1550 ตลาดประชาอุทิศ 61 พระประแดงอาเขต

อื่น ๆ

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1 Handicapped/disabled access ศาลาพระเกี้ยว สถานีสยาม 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีชมพู (ใช้พลังงานไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) รถโดยสารภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บุคคลภายนอกสามารถใช้บริการได้

2 Handicapped/disabled access สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ
3 Handicapped/disabled access คณะแพทยศาสตร์
4 Handicapped/disabled access สามย่านมิตรทาวน์
5 Handicapped/disabled access ระเบียงจามจุรี
402 Handicapped/disabled access สถานีสาทร สถานีราชพฤกษ์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีเขียว-เหลือง กทม. (ให้บริการในนาม บมจ.ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ) ดูบทความหลักที่: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์
B2 Handicapped/disabled access ศาลาว่าการ กทม.2 BTS สนามเป้า 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีขาว (ใช้พลังงานไฟฟ้า) กทม. เป็นเส้นทางในโครงการทดลองเดินรถเมล์ BMA Feeder นำส่งผู้โดยสารสู่ระบบขนส่งมวลชนทางราง โดย กทม.
B3 Handicapped/disabled access เคหะร่มเกล้า ARL ลาดกระบัง
พิเศษ Handicapped/disabled access สิรินธร สามเสน ใช้รถจากสาย B2 และ B3 และให้บริการเฉพาะวันธรรมดาในชั่วโมงเร่งด่วน
ตลาดเวิลด์มาร์เก็ต บิ๊กซีเพชรเกษม เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
รถท่องเที่ยว 4 ตลาดน้ำ Handicapped/disabled access MRT บางขุนนนท์ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้รถจากสาย B2 และให้บริการเฉพาะวันหยุดสุดสัปดาห์

- หมู่บ้านเสนาวิลล่า 84 แฮปปี้แลนด์ 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว -
ชุมชนหมู่บ้านพัฒนา 70 ไร่ ตลาดคลองเตย 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง
แฟชั่นไอส์แลนด์ หมู่บ้านมโนรมย์ 4

รถบริการทางด่วน

[แก้]

สำหรับตารางต่อไปนี้ เป็นสายรถเมล์ที่มีเส้นทางขึ้นทางด่วน ซึ่งทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ หากเดินทางขึ้นทางด่วน จะต้องเสียค่าโดยสารเพิ่ม 2 บาท จากค่าโดยสารปกติ

สายที่ จุดเริ่มต้น ขึ้นทางด่วนที่ ลงทางด่วนที่ จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ เวลาให้บริการ หมายเหตุ
2E (3-2E) Handicapped/disabled access ท่าน้ำปู่เจ้าสมิงพราย สุขุมวิท 62 เพชรบุรี สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) ตลอดวัน
20 พระสมุทรเจดีย์ บางครุ ปากน้ำ (ช้างสามเศียร) ปากน้ำ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
21E (4-7E) Handicapped/disabled access วัดคู่สร้าง สุขสวัสดิ์ สาทร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

23E (3-4E) Handicapped/disabled access ปากน้ำ บางนา เพชรบุรี เทเวศร์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

25E (3-7E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง ปากน้ำ (อู่แพรกษา) สะพานสว่าง ท่าช้าง
26E (1-35E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง มีนบุรี โยธินพัฒนา พหลโยธิน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

34E (1-2E) Handicapped/disabled access รังสิต วัชรพล อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขาไป)

พระราม 9 (ขากลับ)

หัวลำโพง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
45 (3-9E) หนามแดง บางนา พระราม 4 ท่าน้ำสี่พระยา รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
63 (2-10E) นครอินทร์ งามวงศ์วาน ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
ประตูน้ำ
69E (2-18E) Handicapped/disabled access ตลาดท่าอิฐ อโศก มหาวิทยาลัยรามคำแหง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) วนเข้าเดอะมอลล์งามวงศ์วาน
102 (3-12E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ บางนา ท่าเรือคลองเตย รถโดยสารประจำทาง ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

วนเข้า ถ.แพรกษา
107 (1-12E) รถโดยสารประจำทาง บางเขน ดินแดง รถโดยสารประจำทาง คลองเตย รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

129 (1-14E) Handicapped/disabled access พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ บางนา ดินแดง รถโดยสารประจำทาง บางเขน รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

138 (4-22E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง ราชประชา ถนนสุขสวัสดิ์ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

139 (3-16E) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา สุขุมวิท 62 เพชรบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
140 (4-23E) Handicapped/disabled access แสมดำ สุขสวัสดิ์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เร่งด่วนเย็น
141 (4-24E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง แสมดำ ท่าเรือคลองเตย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
ตลอดวัน
142 (3-17E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ บางนา ถนนสุขสวัสดิ์ รถโดยสารประจำทาง แสมดำ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

166 เมืองทองธานี ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
166 (2-21E) ปากเกร็ด
166 (2-31E) ศรีสมาน
173 (4-27E) Handicapped/disabled access บางขุนเทียน สุขสวัสดิ์ พัฒนาการ แฮปปี้แลนด์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
180 (3-20E) รถโดยสารประจำทาง ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 ท่าเรือคลองเตย สุขุมวิท 62 มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา / รถโดยสารประจำทาง เมกาบางนา รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
505 (2-24E) ปากเกร็ด งามวงศ์วาน หัวลำโพง วงเวียนใหญ่ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วนเข้าเดอะมอลล์งามวงศ์วาน
510E (1-20E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต อนุสรณ์สถาน ถนนลาดพร้าว อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
แจ้งวัฒนะ
511 (3-22E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ บางนา ถนนเพชรบุรี รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

513 (3-23E) Handicapped/disabled access สำโรง สุขุมวิท 50 รามอินทรา ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
514E (1-55E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง มีนบุรี ประชาอุทิศ พระราม 4 ท่าน้ำสี่พระยา รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

515E (4-71E) เซ็นทรัลศาลายา ฉิมพลี (ขาไป)

บางบำหรุ (ขากลับ)

คลองประปา 2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
522 (1-22E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง รังสิต งามวงศ์วาน ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

529E (4-29E) Handicapped/disabled access แสมดำ สุขสวัสดิ์ อโศก รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) ผ่านถนนลาดพร้าว
536 (3-24E) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ บางนา เพชรบุรี รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เร่งด่วนเย็น
552 (3-25E) Handicapped/disabled access ปากน้ำ บางแก้ว นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) ตลอดวัน
554 (S2) Handicapped/disabled access รังสิต ถนนรามอินทรา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 10 บาท
555 รถโดยสารประจำทาง รังสิต ดินแดง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
558 (S7) Handicapped/disabled access การเคหะธนบุรี สุขสวัสดิ์ บางนา รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
559 (S3) Handicapped/disabled access รังสิต ธัญบุรี / เสรีไทย รามอินทรา / ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
A1 Handicapped/disabled access ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) หลักสี่ ลาดพร้าว รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ไฮบริด)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ค่าโดยสาร คนละ 30 บาท ตลอดสาย
แยกถนนลำลูกกา เร่งด่วนเช้า มีให้บริการเฉพาะขาไปสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 4 คัน คือ 5.30 น. 6.00 น. 6.30 น. และ 7.00 น.

วันหยุดสุดสัปดาห์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ จะไม่ขึ้นโทลล์เวย์

A2 Handicapped/disabled access ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) ดินแดง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ตลอดวัน ค่าโดยสาร คนละ 30 บาท ตลอดสาย
A3 Handicapped/disabled access สวนลุมพินี ค่าโดยสาร คนละ 50 บาท ตลอดสาย
A4 Handicapped/disabled access ยมราช สนามหลวง
S1 Handicapped/disabled access ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ค่าโดยสาร คนละ 60 บาท ตลอดสาย
1-7E (59E) รถโดยสารประจำทาง รังสิต แจ้งวัฒนะ ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
1-9E Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เชียงราก ยมราช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
1-18E (504) Handicapped/disabled access รังสิต แจ้งวัฒนะ ดินแดง บางรัก
1-24E (538) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สุทธิสาร โรงพยาบาลสงฆ์
1-32E Handicapped/disabled access บางเขน ประชาอุทิศ สุรวงศ์ BTS ตลาดพลู
1-80E (60E) รถโดยสารประจำทาง สวนสยาม ศรีนครินทร์ พหลโยธิน MRT สนามไชย รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2-32E (70E) ประชานิเวศน์ 3 งามวงศ์วาน อุรุพงษ์ สนามหลวง
3-19E (145E) รถโดยสารประจำทาง ปากน้ำ (อู่แพรกษา) ศรีนครินทร์ ดินแดง รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
3-26E (R26E / 537) Handicapped/disabled access สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขาไป)

พระราม 9 (ขากลับ)

โรงพยาบาลรามาธิบดี รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
4-33E (138) พระประแดง สุขสวัสดิ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
4-54E (157) Handicapped/disabled access อ้อมใหญ่ ฉิมพลี ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
4-70E (Y70E) เซ็นทรัลศาลายา ตลิ่งชัน กำแพงเพชร 2 BTS หมอชิต รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
S6 (555) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) พระราม 9 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

รถบริการตลอดคืน (กะสว่าง)

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ หมายเหตุ
2 (3-1) Handicapped/disabled access ปากน้ำ สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
2 สำโรง อุรุพงษ์ รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม
3 (2-37) รถโดยสารประจำทาง อู่กำแพงเพชร คลองสาน รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
4 (3-36) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าเรือคลองเตย เรือข้ามฟาก ท่าน้ำภาษีเจริญ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
7 (4-36) Handicapped/disabled access เอกชัย (วัดราษฎร์รังสรรค์) หัวลำโพง
8 (2-38) Handicapped/disabled access แฮปปี้แลนด์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า
23 (3-5) ปู่เจ้าสมิงพราย เทเวศร์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
25 (3-6) Handicapped/disabled access โรงเรียนปทุมคงคา สมุทรปราการ วัดธาตุทอง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
26 (1-36) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
27 (1-37) Handicapped/disabled access มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
34 Handicapped/disabled access รังสิต หัวลำโพง
54 (2-44) รถโดยสารประจำทาง อู่พระราม 9 โบสถ์แม่พระฟาติมา รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
59 (1-8) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง
60 (1-38) รถโดยสารประจำทาง อู่สวนสยาม MRT สนามไชย
71 (1-39) Handicapped/disabled access สวนสยาม คลองเตย รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
76 (4-14) รถโดยสารประจำทาง อู่แสมดำ ประตูน้ำ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
80 (4-43) วัดศรีนวลธรรมวิมล แยกคอกวัว รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
80A (4-44) Handicapped/disabled access หมู่บ้าน วปอ.11 สวนหลวงพระราม 8 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
82 (4-15) Handicapped/disabled access เรือข้ามฟาก ท่าน้ำพระประแดง สนามหลวง
84 (4-46) Handicapped/disabled access วัดไร่ขิง BTS กรุงธนบุรี
95ก (1-11) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต แฮปปี้แลนด์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
97 (2-15) Handicapped/disabled access กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสงฆ์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
134 (2-20) รถโดยสารประจำทาง บางบัวทอง (อู่บัวทองเคหะ) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
145 (3-18) รถโดยสารประจำทาง ปากน้ำ (อู่แพรกษา)
206 (3-30) ศรีเอี่ยม รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน บางคันเริ่มต้นที่อู่เมกาบางนา

เส้นทางรถประจำทางที่ยุติการให้บริการแล้ว

[แก้]
  • เลขสาย สายการเดินรถในปัจจุบันที่ยังคงมีรถให้บริการแต่มีการย้ายต้นทาง-ปลายทาง รวมทั้งมีการเปลี่ยนเส้นทางใหม่-ยกเลิกเส้นทางเดิม
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด หมายเหตุ
1 บางปะกอก ท่าเตียน ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่ถนนตก
2 สำโรง ปากคลองตลาด
อู่เมกาบางนา ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
3 กม.11 คลองสาน ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่อู่กำแพงเพชร
อู่หมอชิต 2
4 ท่าเรือคลองเตย สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) เส้นทางเสริมพิเศษ
5 ประชานุกูล สะพานพุทธ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่อู่กำแพงเพชร
6 บุคคโล บางขุนพรหม ปัจจุบันควบรวมกับสาย 86 เป็นสาย 6 ในปัจจุบัน
7 สมุทรสาคร หัวลำโพง ผ่านเซ็นทรัลมหาชัย
คลองขวาง เส้นทางสำหรับรถธรรมดาครีมแดง
สถานีวงเวียนใหญ่ เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงแรกๆ ที่มีการเปิดเดินรถรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมส่วนต่อขยาย
7/1 บางแค พาหุรัด ปัจจุบันคือสาย 7ก และให้บริการในเส้นทาง "อู่บรมราชชนนี - พาหุรัด"
7ก พุทธมณฑลสาย 2 ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่อู่บรมราชชนนี
ปากคลองตลาด
สนามหลวง เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงพระราชพิธีของในหลวง รัชกาลที่ 9
หัวลำโพง เส้นทางเสริมพิเศษ
วัดม่วง จักรวรรดิ์
8 การเคหะร่มเกล้า สะพานพุทธ เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศ

ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 1-50 (168 เดิม)

9 ท่านํ้าภาษีเจริญ ศรีย่าน ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ถนนกัลปพฤกษ์ - สถานีรถไฟสามเสน"
10 นางเลิ้ง
11 อู่เมกาบางนา เอ็ม บี เค เซ็นเตอร์(มาบุญครอง) เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศ

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "สวนหลวง ร.9 - สนามกีฬาแห่งชาติ"

สำนักงานเขตประเวศ เส้นทางสำหรับรถธรรมดา

ผ่านแยกประเวศ ถนนอ่อนนุช ม.เกษมบัณฑิต

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "สวนหลวง ร.9 - สนามกีฬาแห่งชาติ"

11ก มักกะสัน สะพานพุทธ
12 ห้วยขวาง ปากคลองตลาด ปัจจุบันขยายต้นทางไป MRT ศูนย์วัฒนธรรม
13 คลองเตย รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านท่าเรือคลองเตย ลงทางด่วนด่านอนุสาวรีย์ชัยฯ)
ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "คลองเตย - ปัฐวิกรณ์"
14 ศรีย่าน คลองเตย ปัจจุบันขยายปลายทางไปถนนตก
สวนลุมพินี
โรงเรียนนนทรีวิทยา
15 สะพานกรุงเทพ บางลำพู ผ่านสีลม

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "(วงกลม) BRT ราชพฤกษ์ - สยาม"

อู่กัลปพฤกษ์ ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "(วงกลม) BRT ราชพฤกษ์ - สยาม"
เดอะมอลล์ท่าพระ
16 อู่ศรีณรงค์ สนามม้าปทุมวัน ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ปากเกร็ด - ท่านํ้าสี่พระยา"
เตาปูน สุรวงศ์
อู่กำแพงเพชร
17 สะพานกรุงเทพ บางลำพู ผ่านสาทร ประตูน้ำ
การเคหะชุมชนธนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่บิ๊กซีพระประแดง
บิ๊กซีพระประแดง ผ่านเซ็นทรัลเวิลด์
18 อู่บางซ่อน ปัจจุบันขยายต้นทางไปตลาดท่าอิฐ
อู่ท่าอิฐ
พระราม 6 ปัจจุบันขยายต้นทางไปตลาดท่าอิฐ
ท่านํ้าสี่พระยา ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ตลาดท่าอิฐ - อนุสาวรีย์ชัย"
19 ตลิ่งชัน เทเวศร์ ไม่ผ่านวงเวียนใหญ่

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 4-35

20 บิ๊กซีพระประแดง ท่านํ้าท่าดินแดง เส้นทางสำหรับรถมินิบัส
21 แฟลตทุ่งครุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เส้นทางเสริมพิเศษ
วัดคู่สร้าง ปัจจุบันย้ายปลายทางไปมหานาค
สถานีกรุงธนบุรี
พาหุรัด เส้นทางเสริมพิเศษ

ปัจจุบันขยายปลายทางไปมหานาค

21ก ปัจจุบันคือเส้นทางเสริมของสาย 21
22 อู่โพธิ์แก้ว เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 ปัจจุบันย้ายต้นทางไปแฮปปี้แลนด์
มีนบุรี
สวนสยาม ปัจจุบันย้ายต้นทางไปแฮปปี้แลนด์
อาคารทีพีไอ ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ถนนตก - แฮปปี้แลนด์"
เซ็นทรัลพระราม 3 แฮปปี้แลนด์ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปถนนตก
เส้นทางรถบรรเทา ผ่าน ถ.สาธุประดิษฐ์
เส้นทางเสริมพิเศษ

ไม่ผ่านเอเชียทีค ถนนพระราม 3

23 อู่เมกาบางนา เทเวศร์
สำโรง รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านถนนเพชรบุรี)

ปัจจุบันขยายต้นทางไปปากนํ้า

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านยมราช)
24 ประชานิเวศน์ 3 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันขยายปลายทางไปจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านงามวงศ์วาน ลงทางด่วนด่านคลองประปา)
25 ปากน้ำ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เส้นทางสำหรับรถเอกชนร่วมบริการ
สนามหลวง รถไม่ขึ้นทางด่วน ผ่านสุขุมวิท สยาม สามย่าน
โรงเรียนปทุมคงคา สมุทรปราการ เส้นทางสำหรับรถธรรมดาครีมแดง

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2560 แต่ผิดสัมปทาน

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านสะพานสว่าง)

พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ ปัจจุบันขยายปลายทางไปเอกมัย
26 สวนสยาม หมอชิต 2 ใช้รถจากสาย 517 (ในขณะนั้น) ในการเดินรถเพื่อลดอัตราสิ้นเปลืองพลังงานจากการตีรถเปล่าจากอู่สวนสยามไปยังหมอชิต 2
มีนบุรี ช่วงที่สาย 96 ยังอยู่ในสังกัด กดร.22 อู่สวนสยาม (เวลานั้น) ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2554 สาย 96 เริ่มทดลองขยายไปมีนบุรีโดยใช้เส้นทาง หมอชิต 2 - สวนสยาม - เสรีไทย - มีนบุรี สาเหตุต้องย้ายไปอู่มีนบุรีเพราะเนื่องจากเขตการเดินรถที่ 8 จะต้องนำรถที่อยู่ในสังกัด กดร.28 และ กดร.38 (อู่โพธิ์แก้ว) ที่กำลังยุบขณะนั้นไปจอดที่อู่สวนสยาม หลังจากนั้นเส้นทางเสริมของสาย 26 มีนบุรี - หมอชิต 2 ได้หายไประยะหนึ่งช่วงปี พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2557 เมื่อมีการย้ายกลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 22 ของสาย 517 ในปี พ.ศ. 2557 โดยใช้รถจากสาย 517 (ในขณะนั้น) ในการเดินรถเรื่อยๆมา จนกระทั่งย้ายไปสังกัดเขตการเดินรถที่ 8 กลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 18 อู่กำแพงเพชร เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2564
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
กรมการปกครอง คลอง 9 เส้นทางมีความทับซ้อนกับสาย 374, 1304 และ 6250
อนุสาวรีย์​ชัย​สมรภูมิ ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่หมอชิต 2
เคหะฉลองกรุง ใช้ป้ายหน้ารถสีเขียว
สถานีลาดกระบัง ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
คลองกุ่ม ตลาดหนองจอก เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

ปัจจุบันคือสาย 131

26ก มีนบุรี เคหะฉลองกรุง ต่อมาคือเส้นทางเสริมของสาย 26
สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) ผ่านเลียบทางด่วนรามอินทรา

ปัจจุบันขยายปลายทางไปคลองเตย

28 แยกท่าพระ แยกรัชโยธิน ต่อมาคือสาย 108
สายใต้ใหม่ อนุสาวรีย์​ชัย​สมรภูมิ ปัจจุบันขยายปลายทางไปจันทรเกษม
สายใต้เก่า
28A
29 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต อนุสาวรีย์​ชัย​สมรภูมิ ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "บางเขน​ -​ ถ.พระราม 6 - หัวลำโพง"
หัวลำโพง
รังสิต
29ก อู่บางเขน ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 1-1 (29 เดิม)
30 อู่เขมา สายใต้ใหม่
สายใต้เก่า นนทบุรี ผ่านบางโพ

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่วัดปากน้ำ (นนทบุรี)

31 ปทุมธานี ท่าช้าง
32 วัดราษฎร์ประคองธรรม ปากเกร็ด ให้บริการด้วยรถเมล์ฟรี
33 ปทุมธานี สนามหลวง ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่เทเวศร์
34 แยกลำลูกกา หัวลำโพง เป็นเส้นทางเพื่อเพิ่มความถี่ของรถในเส้นทาง ใช้รถธรรมดาครีมน้ำเงิน
รังสิต รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านประชานุกูล ลงด่านสีลม)
อู่บางเขน ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ผ่านสะพานใหม่ แยกลำลูกกา

ปัจจุบันลดเหลือเป็นเส้นทางเสริมของสาย 34

ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เส้นทางสำหรับรถมินิบัส

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่ BTS แยก คปอ.

35 สาธุประดิษฐ์ เสาชิงช้า ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "เคหะธนบุรี - บางลำพู"
วัดสน สายใต้ใหม่
36 อู่พระราม 9 ท่าน้ำสี่พระยา ผ่านสำนักงานใหญ่ ขสมก. ถ.เทียมร่วมมิตร ศูนย์วัฒนธรรม
36ก อู่โพธิ์แก้ว อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่ปัฐวิกรณ์
สี่พระยา ในระยะหลังใช้รถจากสาย 36 (ในขณะนั้น) ในการเดินรถ
สวนสยาม ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปปัฐวิกรณ์
37 วัดสน ตลาดโบ๊เบ๊ ผ่านเจริญนคร

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ท่าน้ำพระประแดง - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

แจงร้อน มหานาค ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ท่าน้ำพระประแดง - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"
38 หมอชิตเก่า เอกมัย
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 หมอชิต 2 เส้นทางสำหรับรถเอกชนร่วมบริการ
อ่อนนุช เส้นทางสำหรับรถมินิบัส

ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
39 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สนามหลวง
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางสำหรับรถธรรมดาครีมแดง
สะพานใหม่ เส้นทางสำหรับรถสองแถว
ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เส้นทางสำหรับรถมินิบัส
40 วัดเจ้าอาม พระโขนง ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "สายใต้ใหม่ - เอกมัย"
ศรีนครินทร์ สะพานพุทธ
ลำสาลี สายใต้เก่า
สายใต้ใหม่ หัวลำโพง ปัจจุบันขยายปลายทางไปยังเอกมัย
40A
41 หมู่บ้านเศรษฐกิจ เสาชิงช้า
43 วัดสิงห์ เทเวศร์
44 แฮปปี้แลนด์ ท่าเตียน เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศในอดีต

ปัจจุบันย้ายต้นทางกลับไปการเคหะคลองจั่น

45 สำโรง บางลำพู ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่สี่พระยา
สี่พระยา เส้นทางไม่ขึ้นทางด่วน ผ่านอ่อนนุช คลองเตย
เมกาบางนา
45ก สำโรง รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านบ่อนไก่)

ปัจจุบันคือเส้นทางด่วนของสาย 45

46 มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 รองเมือง ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่สี่พระยา
48 วัดโพธิ์ ผ่านแยกบางนา

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "ม.ราม 2 - อุดมสุข - ท่าช้าง"

49 สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "อู่กำแพงเพชร - หมอชิต 2 - หัวลำโพง"

50 พระราม 7 สวนลุมพินี รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านประชานุกูล ลงทางด่วนด่านท่าเรือ)

เดิมใช้เลขสาย 155

51 ปากเกร็ด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "วัดปรางค์หลวง - บางเขน"
ท่านํ้าบางโพ
สนามหลวง
52 สถานีชุมทางบางซื่อ ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่หมอชิต 2
54 วงกลมรอบเมือง ห้วยขวาง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ผ่านถนนประชาสงเคราะห์

55 อำนวยสงคราม สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "(วงกลม) สถานีรถไฟสามเสน - ดินแดง" พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 2-34 และให้บริการโดย บจก.ไทยสมายล์บัส

56 ท่าน้ำดูเม็กซ์ สะพานกรุงธน เส้นทางสำหรับรถสองแถว
57 ตลิ่งชัน ธนบุรี เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ผ่านสะพานพระราม 8 สะพานพระปิ่นเกล้า เฉพาะฝั่งวนขวา

58 มีนบุรี ประตูน้ำ ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 113
สถานีรถไฟธนบุรี (บางกอกน้อย)
59 รังสิต สวนหลวงพระราม 8 เส้นทางเสริมพิเศษ
พาต้าปิ่นเกล้า รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านถนนแจ้งวัฒนะ ลงด่านยมราช)
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 รถให้บริการในช่วงเช้า
สนามหลวง รถให้บริการในช่วงบ่าย
ดอนเมือง สนามหลวง ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่รังสิต
อู่บางเขน เส้นทางเสริมพิเศษ
ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ผ่านหลักสี่ ท่าอากาศยานดอนเมือง
60 มีนบุรี ปากคลองตลาด ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่สวนสยาม
สวนสยาม รถบริการทางด่วน (ขึ้นด่านอโศก ลงด่านยมราช)

ปัจจุบันปรับให้มาขึ้นด่านศรีนครินทร์ ลงด่านอนุสาวรีย์ชัยฯ และพร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 1-80E

61 มหาวิทยาลัยรามคำแหง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย​ ปอ.14​ เป็นสาย 168
62 ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์ รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านเลียบแม่น้ำ ลงด่านเพชรบุรี)
64 ท่าน้ำนนทบุรี สนามหลวง เส้นทางสำหรับรถเอกชนร่วมบริการ

ปัจจุบันเส้นทางส่วนนี้ถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 32 (2-5)

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "กระทรวงสาธารณสุข - ถ.ราชพฤกษ์ - สนามหลวง"

65 วัดปากน้ำ (นนทบุรี) ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 30 (2-4)
66 ประชานิเวศน์ 1 ตลาดพลู ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ - สายใต้ปิ่นเกล้า"
ประชานิเวศน์ 2 ท่าน้ำภาษีเจริญ
สายใต้ใหม่ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่สายใต้ปิ่นเกล้า
66ก ทิมแลนด์ ศิริราช
67 สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) เซ็นทรัลพระราม 3 เส้นทางเสริมพิเศษ
68 เคหะธนบุรี บางลำพู เส้นทางสำหรับรถมินิบัส

จากเคหะธนบุรี ถึงแยกมไหสวรรย์แล้ววิ่งตรงตามถนนสมเด็จพระเจ้าตากสินจนถึงวงเวียนใหญ่ เลี้ยวซ้ายไปตามถนนอินทรพิทักษ์ ถนนเพชรเกษม ถึงแยกท่าพระแล้วเลี้ยวขวามุ่งหน้าตามเส้นทางปกติจนถึงบางลำพู

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน BRT ราชพฤกษ์ ปัจจุบันขยายปลายทางไปบางลำพู
68ก ปัจจุบันคือเส้นทางเสริมของสาย 68
69 ท่าอิฐ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่มหาวิทยาลัยรามคำแหง
70 ประชานิเวศน์ 3 สนามหลวง เข้าลานพระบรมรูปทรงม้า
71 สวนสยาม วัดธาตุทอง ปัจจุบันขยายปลายทางไปคลองเตย
71ก ไม่ผ่านนิด้า
72 กล้วยน้ำไท เทเวศร์ เส้นทางเสริมพิเศษ
คลองเตย ผ่านซอยเอกมัย

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "คลองเตย -ทองหล่อ - เทเวศร์"

73 สวนสยาม สะพานพุทธ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปหมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม
ตลาดห้วยขวาง ปัจจุบันขยายต้นทางไปหมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม
อู่โพธิ์แก้ว ออกทาง ซ.ลาดพร้าว 101

ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 2-46 (73ก เดิม)

73ก ออกทาง ถ.โพธิ์แก้ว

ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 2-46 (73ก เดิม)

สวนสยาม ผ่านแฟชั่นไอส์แลนด์ เดอะมอลล์บางกะปิ

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่สนามกีฬาแห่งชาติ พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 73(ก) (2-46)

74 ห้วยขวาง คลองเตย รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านดินแดง ลงด่านท่าเรือคลองเตย)
75 พุทธบูชา ท่าเตียน ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่หัวลำโพง
วัดพุทธบูชา หัวลำโพง ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่อู่ธารทิพย์
อู่ธารทิพย์ ไม่วนเข้าสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง)
76 อู่แสมดำ สถานีมักกะสัน เส้นทางเสริมพิเศษ
77 บางรัก ประตูน้ำ เส้นทางสำหรับรถสองแถว
78 สาทร ท่าช้าง
บางลำพู
79 อู่บรมราชชนนี ราชประสงค์ ผ่านถนนพุทธมณฑลสาย 2
สายใต้ปิ่นเกล้า เส้นทางเสริมพิเศษ
79ก สถานีตำรวจนครบาลตลิ่งชัน โรงพิมพ์อมรินทร์
80 วัดหนองแขม สนามหลวง เส้นทางสำหรับรถเอกชน
สน.หนองแขม เส้นทางสำหรับรถบริการตลอดคืน
วัดศรีนวลธรรมวิมล แยกไฟฉาย เส้นทางเสริมพิเศษเข้าอู่
เดอะมอลล์บางแค
80ก โรงเรียนศึกษานารี 2 เดอะมอลล์ท่าพระ [10]

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "หมู่บ้าน วปอ.11 - ถนนกาญจนาภิเษก - สวนหลวงพระราม 8"

หมู่บ้าน วปอ.11 สถานีวงเวียนใหญ่ เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงแรกๆ ที่มีการเปิดเดินรถรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมส่วนต่อขยาย
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ผ่านซอยเพชรเกษม 81 สำนักงานเขตหนองแขม ซีคอนบางแค บางหว้า ท่าพระ

ปัจจุบันขยายปลายทางไปสะพานพระราม 8

81 วัดม่วง เชิงสะพานพระปิ่นเกล้า ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "อ้อมน้อย - ท่าราชวรดิฐ"
พุทธมณฑลสาย 5 ผ่านแยกท่าพระ

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "อ้อมน้อย - ท่าราชวรดิฐ"

ท่าราชวรดิฐ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่อ้อมน้อย
บางแค ศิริราช ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "อ้อมน้อย - ท่าราชวรดิฐ"
82 พระประแดง สะพานพุทธ ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่สนามหลวง
บางลำพู ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่สนามหลวง
82ก บางปะกอก สนามหลวง
83 วัดประดู่ สถานีรถไฟธนบุรี (บางกอกน้อย)
หมอชิต บางนา รถบริการทางด่วน

เส้นทางสำหรับรถมินิบัส จะใช้คนละเส้นทางกับรถเมล์ใหญ่[11]

84 ตลาดสามพราน คลองสาน เส้นทางสำหรับรถเอกชนร่วมบริการ
ตลาดอ้อมใหญ่ BTS กรุงธนบุรี เส้นทางสำหรับรถธรรมดา
84ก หมู่บ้านเอื้ออาทรศาลายา วงเวียนใหญ่ ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 547
85 แสมดำ หัวลำโพง ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "บิ๊กซีพระประแดง - สถานีรถไฟธนบุรี"
86 พระประแดง บางลำพู ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 6
87 สวนธนบุรีรมย์ นางเลิ้ง
89 เทคนิคกรุงเทพ สวนผัก ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "สายใต้ใหม่ - เทคนิคกรุงเทพ"
เสาชิงช้า
90 ท่าน้ำปทุมธานี รัชโยธิน ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่ BTS หมอชิต
หมอชิต 2 ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่ BTS หมอชิต
นนทบุรี เป็นเส้นทางเสริมให้บริการระหว่างวัน
นนทบุรี ปู่โพธิ์
91 หมู่บ้านเศรษฐกิจ สถานีวงเวียนใหญ่ เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงแรกๆ ที่มีการเปิดเดินรถรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมส่วนต่อขยาย
91ก สนามหลวง 2 สถานีวงเวียนใหญ่
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ เส้นทางเสริมพิเศษ

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "(วงกลม) สายใต้ใหม่ - ทวีวัฒนา"

92 เคหะร่มเกล้า โรงพยาบาลสงฆ์ เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศ

ปัจจุบันเส้นทางส่วนนี้ตัดระยะเหลือแค่แฮปปี้แลนด์

93 เคหะคลองจั่น สี่พระยา ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่หมู่บ้านนักกีฬา
หมู่บ้านนักกีฬา ผ่านมหาวิทยาลัยรามคำแหง พันธุ์ทิพย์ ราชเทวี

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "หมู่บ้านนักกีฬา - พัฒนาการ - เซ็นทรัลเวิลด์ - สี่พระยา"

เดอะไนน์ พระราม 9 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ให้บริการเฉพาะวนซ้าย

93ก ARL ทับช้าง
94 มีนบุรี สนามหลวง
95 แฮปปี้แลนด์ ท่าเรือคลองเตย ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "อู่บางเขน - กม.8 - สถานีรถไฟหัวหมาก"
อู่บางเขน บางกะปิ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รังสิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง
95ก รังสิต ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่บางกะปิ
อู่บางเขน ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ผ่านหลักสี่ ท่าอากาศยานดอนเมือง
95ข บางกะปิ วิ่งเลียบทางด่วนรามอินทรา

ปัจจุบันขยายปลายทางไปยังมหาวิทยาลัยรามคำแหง พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 95(ข) (1-29)

มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิ่งเลียบทางด่วนรามอินทรา

ปัจจุบันคือสาย 95(ข) (1-29)

96 สวนสยาม เสาชิงช้า ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "มีนบุรี - หมอชิต 2"
ปัฐวิกรณ์
97 วัดปากน้ำ (นนทบุรี) โรงพยาบาลสงฆ์ ปัจจุบันขยายต้นทางไปยังกระทรวงสาธารณสุข
วัดทางหลวง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางสำหรับรถเอกชนร่วมบริการ
98 ห้วยขวาง กล้วยน้ำไท ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่ไบเทค บางนา (รถมักตัดระยะช่วง แยกอโศก - แยกอุดมสุข)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ในช่วงหนึ่งสาย 98 ก็เคยนำรถขาว-น้ำเงิน กลับมาทำสีครีมแดงแล้ว​เคยให้บริการถึงอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ในช่วงปี พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2549
99 รามคำแหง เทเวศร์ เดิมเคยให้บริการถึงศรีย่าน
100 พุทธมณฑลสาย 2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
101 วัดยายร่ม ผ่านถนนกาญจนาภิเษก
ผ่านเดอะมอลล์ท่าพระ

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "อู่บรมราชชนนี - วุฒากาศ - พระประแดง"

อู่บรมราชชนนี ผ่านเดอะมอลล์ท่าพระ

ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่พระประแดง และเปลี่ยนเส้นทางผ่านถนนวุฒากาศ

อู่วัดม่วง สถานีวงเวียนใหญ่ เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงแรกๆ ที่มีการเปิดเดินรถรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมส่วนต่อขยาย
102 ปากน้ำ ช่องนนทรี ผ่านถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ

ปัจจุบันวิ่งขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร และย้ายปลายทางไปยังเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3

เซ็นทรัลพระราม 3 ปัจจุบันขยายต้นทางไปแพรกษา
103 ท่าน้ำภาษีเจริญ ตั้งฮั่วเส็ง หลังขยายปลายทางได้เปลี่ยนเป็นสาย 175
นนทบุรี ตลาดพลู
104 ปากเกร็ด อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันคือสาย 166
เดอะมอลล์งามวงศ์วาน เส้นทางเสริมพิเศษ
104ก หมอชิต 2 ปัจจุบันคือสาย 104
105 บางกระดี่ เจริญนคร ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "สมุทรสาคร - BTS กรุงธนบุรี"
มหาชัยเมืองใหม่ คลองสาน
105ก วัดสน
106 ลาดหญ้า เซ็นทรัลพระราม 3
107 อู่บางเขน คลองเตย เส้นทางไม่ขึ้นทางด่วน ผ่านประตูน้ำ สวนลุมพินี
108 นนทบุรี บางแค
เดอะมอลล์ ท่าพระ รัชโยธิน ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
สถานีวงเวียนใหญ่ เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงแรกๆ ที่มีการเปิดเดินรถรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมส่วนต่อขยาย

รถส่วนมากเสริม อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

109 คลองกุ่ม หัวลำโพง ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 115
110 พระราม 6 เทเวศร์ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่ประชานิเวศน์ 3
112 อู่ศรีณรงค์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "(วงกลม) สถานีชุมทางบางซื่อ - เกษตรศาสตร์" พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 2-17 และให้บริการโดย บจก.ไทยสมายล์บัส
114 แยกลำลูกกา สะพานพระนั่งเกล้า ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "รังสิต - ดอนเมือง - นครอินทร์"
ท่านํ้านนทบุรี
อู่บางเขน ท่านํ้านนทบุรี
วัดปรางค์หลวง เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน ให้บริการด้วยรถเมล์ฟรี
115 เคหะร่มเกล้า สีลม เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศ
สวนสยาม บางรัก ผ่านแฟชั่นไอส์แลนด์, กม.8
116 หนามแดง สาทร ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 3-9E (45 เดิม)
117 อู่เลียบด่วนรามอินทรา ถนนมิตรไมตรี เส้นทางเสริมพิเศษ
ศาลาว่าการ กทม.2 ท่านํ้านนทบุรี ปัจจุบันขยายต้นทางไปศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
117ก หมอชิต 2
118 พระประแดง พระสมุทรเจดีย์ เส้นทางมีความทับซ้อนกับสาย 1146
119 ปากน้ำ สามแยกหมอมี ต่อมาคือสาย 25 รถร่วม
121 ตลิ่งชัน บางรัก
122 ห้วยขวาง หมอชิตใหม่ ผ่านถนนลาดพร้าว

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "แฮปปี้แลนด์ - สุทธิสาร - หมอชิตใหม่"

123 อ้อมน้อย สนามหลวง ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "สวนสามพราน - ท่าราชวรดิฐ"
124 - สะพานพระปิ่นกล้า
125 สะพานกรุงธน
ศาลายา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมเคยให้บริการถึงสถานีรถไฟสามเสน
126 อู่แคราย มหาวิทยาลัยรามคำแหง ผ่านแยกลำสาลี

ในเวลาต่อมาได้ย้ายท่ารถต้นทางไปยังอู่บางเขน

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "คลองตัน - ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ" และปรับให้ผ่าน ซ.รามคำแหง 39 ถนนศรีวรา ถนนประดิษฐ์มนูธรรม

127 บางบัวทอง บางลำพู ผ่านศรีประวัติ

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "บางบัวทอง - ราชพฤกษ์ - บางลำพู"

- สะพานพระปิ่นกล้า
128 บางใหญ่ สะพานกรุงธน
129 สำโรง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถบริการทางด่วน

เส้นทางเสริมในช่วงมหาอุทกภัย 2554

130 มีนบุรี บางกะปิ ปัจจุบันคือสาย 27 เสริมแฮปปี้แลนด์
131 หมู่บ้านเอื้ออาทรสังฆสันติสุข ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "แฮปปี้แลนด์ - หนองจอก"
หนองจอก ผ่านคลองกุ่ม
คลองกุ่ม ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "มีนบุรี - หมู่บ้านเอื้ออาทรสังฆสันติสุข"
132 เคหะบางพลี อ่อนนุช ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่ BTS อุดมสุข
134 บัวทองเคหะ หมอชิต 2 รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านฉิมพลี ลงทางด่วนด่านกำแพงเพชร 2)
134ก เคหะคลองจั่น กระทรวงพาณิชย์ ปัจจุบันคือสาย 191
135 - -
138 พระประแดง หมอชิต 2 รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านดินแดง)

ผ่านมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "พระประแดง - ทางด่วน - อนุสาวรีย์ชัย - หมอชิต 2" พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 4-33E

บางซ่อน รถบริการทางด่วน
140 วัดเลา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
มหาชัยเมืองใหม่ รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านเพชรบุรี)

เส้นทางสำหรับรถเอกชน

141 วัดสน ต่อมาคือสาย 105ก
อู่แสมดำ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านเพชรบุรี)

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

บางขุนเทียน หัวลำโพง รถบริการทางด่วน
142 วัดเลา ปากน้ำ
ปากน้ำ (อู่ฟาร์มจระเข้) อู่แสมดำ รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านปากน้ำ ลงด่านปู่เจ้าสมิงพราย)

ผ่านสะพานภูมิพล 2

ให้บริการเฉพาะช่วงเวลาเร่งด่วน

143 มีนบุรี เคหะฉลองกรุง ปัจจุบันคือเส้นทางเสริมของสาย 26
แฮปปี้แลนด์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "นิคมอุตสาหกรรมนำไกร - มีนบุรี"
143ก มีนบุรี เคหะฉลองกรุง ปัจจุบันคือเส้นทางเสริมของสาย 26
144 เคหะร่มเกล้า ต่อมาคือสาย 549 รถฟรี
145 เมกาบางนา แพรกษา (บ่อดิน)
ปากน้ำ หมอชิต 2 รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านพระราม 9 ลงด่านลาดพร้าว)

ให้บริการด้วยรถปรับอากาศยูโรทู บริการฟรี

146 วงแหวนรอบนอกตะวันตก พาต้าปิ่นเกล้า เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ปัจจุบันวิ่งผ่านบางขุนศรี บางขุนนนท์

148 สถานีรถไฟบางซื่อ สวนลุมพินี
150 ปากเกร็ด มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่มีนบุรี
บางกะปิ
151 มีนบุรี ลาดพร้าว 71 เดิมเคยให้บริการถึงลาดกระบัง
152 แฮปปี้แลนด์ เคหะร่มเกล้า ผ่านสุขาภิบาล 3

ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

153 บางเขน สายใต้ใหม่
154 สายไหม คลองเตย ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 26A (1-77)
155 พระราม 7 สวนลุมพินี รถบริการทางด่วน

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

ต่อมาได้ลดสถานะเป็นสาย 50 ทางด่วน

157 พุทธมณฑลสาย 2 พระราม 9 เส้นทางสำหรับรถธรรมดา
อ้อมใหญ่ หมอชิต 2 เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศ

ผ่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

เดิมใช้เลขสาย ปอ.32

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง “อ้อมใหญ่ - ทางด่วน - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ”

158 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
159 พุทธมณฑลสาย 2
160 บางกระดี่ บางลำพู ต่อมาได้ถูกผนวกรวมเข้ากับสาย​ 161​ เป็นสาย 169
161 วัดเลา ต่อมาได้ถูกผนวกรวมเข้ากับสาย​ 160​ เป็นสาย 169
162 ท่าเรือคลองเตย สีลม เดิมใช้เลขสาย ปอ.26
163 พุทธมณฑลสาย 4 พระราม 9 ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง “สถานีศาลายา - BTS สนามกีฬาแห่งชาติ”
164 มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
165 โรงเรียนสตรีวิทยา 3 สถานีวงเวียนใหญ่ เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงแรกๆ ที่มีการเปิดเดินรถรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมส่วนต่อขยาย
บรมราชชนนี สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ปัจจุบันขยายปลายทางไปอยู่ BTS กรุงธนบุรี
167 เคหะธนบุรี สวนลุมพินี ผ่านสำเหร่ ถนนกรุงธนบุรี สะพานตากสิน

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง “เคหะธนบุรี - สะพานกรุงเทพ - สวนลุมพินี”

168 มหาวิทยาลัยรามคำแหง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมใช้เลขสาย 61 และ ปอ.14

เส้นทางเสริมพิเศษ

ปัจจุบันย้ายต้นทางไปเคหะร่มเกล้า

สวนสยาม รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ที่ด่านรามคำแหง ต่อด้วย ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ และทางพิเศษศรีรัช ลงด่านพระราม 9

ให้บริการด้วยรถปรับอากาศยูโรทู บริการฟรี

เดิมใช้เลขสาย 61 และ ปอ.14

ปัจจุบันย้ายต้นทางไปเคหะร่มเกล้า

168ก หมู่บ้านบัวขาว ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "(วงกลม) หมู่บ้านบัวขาว - มีนบุรี" พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 1-76 และให้บริการโดย บจก.ไทยสมายล์บัส
169 บางขุนเทียน คลองสาน เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

วงเวียนใหญ่ ปิ่นเกล้า
เคหะธนบุรี เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
170 อ้อมใหญ่ หมอชิต 2 ผ่านสะพานพระราม 7

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง “บรมราชชชนี (สน.คู่ขนานลอยฟ้า) - หมอชิต 2”

บรมราชชชนี (พุทธมณฑลสาย 2) สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์​ (บางซื่อ) ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง “บรมราชชชนี (สน.คู่ขนานลอยฟ้า) - หมอชิต 2”
171 เคหะธนบุรี หมู่บ้านนักกีฬา ผ่านมหาวิทยาลัยรามคำแหง พระราม 9 ราชดำเนิน บางแค
172 ผ่านลาดพร้าว รัชดาภิเษก สีลม ดาวคะนอง
173 มีนบุรี เดิมใช้เลขสาย ปอ.35

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง “บางขุนเทียน - ทางด่วน - แฮปปี้แลนด์”

หัวลำโพง เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552
บางขุนเทียน คลองสาน
174 กระทุ่มแบน ประตูน้ำ
แฮปปี้แลนด์
ARL ลาดกระบัง
175 ท่าน้ำภาษีเจริญ ท่าน้ำนนทบุรี ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง “ท่าน้ำนนทบุรี - ถนนตก”
176 - -
177 บางบัวทอง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมใช้เลขสาย ปอ.30 และ 527

เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 2-28

178 นวลจันทร์ บางเขน
สวนสยาม ถนนประเสริฐมนูกิจ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "แฮปปี้แลนด์ - นวลจันทร์ - เซ็นทรัลลาดพร้าว"

179 อู่พระราม 9 สะพานพระราม 7 เดิมใช้เลขสาย ป.25ค

ปัจจุบันย้ายต้นทางไปศาลาว่าการ กทม.2

180 เซ็นทรัลพระราม 3 มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 เดิมใช้เลขสาย ท.30

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านท่าเรือ ลงทางด่วนด่านสุขุมวิท 62)

ผ่านถนนสุนทรโกษา

181 - -
182 ตลาดบางกะปิ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552
183 อ้อมใหญ่ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมใช้เลขสาย ปอ.33
184 ปากน้ำ หมอชิต 2
185 อู่บางเขน คลองเตย เป็นเส้นทางเสริมที่แยกออกมาจากเส้นทางหลัก
อู่รังสิต เดิมใช้เลขสาย ปอ.22

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "แยกลำลูกกา - ถนนวิภาวดีรังสิต - แยกพระราม 9"

แยกพระราม 9 ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่แยกลำลูกกา
186 หมอชิต 2 บางบอน
187 รังสิตคลอง 3 สี่พระยา รถบริการทางด่วน (ขึ้นโทลล์เวย์ด่านหลักสี่ ลงด่านสุทธิสาร)
ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
รังสิต เส้นทางเสริมพิเศษเข้าอู่

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางเสริมพิเศษเข้าอู่
188 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในระยะเวลาสั้น
จตุจักร ผ่านสะพานใหม่
189 กระทุ่มแบน สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง “วัดบางยาง - สถานีตลิ่งชัน”
สถานีวงเวียนใหญ่ เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงแรกๆ ที่มีการเปิดเดินรถรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมส่วนต่อขยาย
วัดบางยาง สนามหลวง ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่สถานีตลิ่งชัน
190 - -
191 อู่โพธิ์แก้ว กระทรวงพาณิชย์ เดิมใช้เลขสาย 134ก

ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่เคหะคลองจั่น

ซอยโพธิ์แก้ว ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
192 - -
193 กัลปพฤกษ์ (สำเพ็ง 2) ถนนพระรามที่ 2 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นสาย 720 และ 209 ตามลำดับ

194 มีนบุรี หทัยราษฎร์ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ปัจจุบันคือสาย 197

195 อู่กัลปพฤกษ์ อู่คลองเตย ผ่านบิ๊กซีพระประแดง
196 อู่บางเขน วังหิน เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "บางเขน - สถานีชุมทางบางซื่อ" พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 1-33 และให้บริการโดย บจก.ไทยสมายล์บัส

198 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า) BTS บางหว้า
199 บางบอน ช้างเอราวัณ
200 - -
201 สายใต้ใหม่ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "บรมราชชนนี - พระราม 9" พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 4-69
ห้วยขวาง สนามหลวง
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
202 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
203 วัดราษฎร์ประคองธรรม ท่าน้ำนนทบุรี ให้บริการด้วยรถเมล์ฟรี
204 ห้วยขวาง ท่าน้ำราชวงศ์ เส้นทางสำหรับรถธรรมดาครีมแดง

ผ่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "อู่กำแพงเพชร - ท่าน้ำราชวงศ์"

เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศยูโรทู

ผ่านดินแดง

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "อู่กำแพงเพชร - ท่าน้ำราชวงศ์"

205 คลองเตย วัดเลา ปัจจุบันย้ายปลายทางไปอยู่เดอะมอลล์ท่าพระ
206 ประเวศ เกษตรศาสตร์ ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ศรีเอี่ยม - บางเขน"
เมกาบางนา
206A สวนสยาม ขากลับจะมุ่งหน้าไปประเวศ
207 มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 แฮปปี้แลนด์
ศรีเอี่ยม เส้นทางสำหรับรถมินิบัส
208 ถนนราชพฤกษ์ ถนนอรุณอมรินทร์ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

เดิมใช้เลขสาย 710

209 อู่กัลปพฤกษ์ ถนนพระรามที่ 2 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

เดิมใช้เลขสาย 193 และ 720

210 เชิงสะพานพระราม 4 BTS บางหว้า เส้นทางสำหรับรถธรรมดาครีมแดง

เดิมใช้เลขสาย 751

ปัจจุบันขยายต้นทางไปอยู่เมืองทองธานี

501 สวนสยาม สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) เดิมใช้เลขสาย ปอ.1

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "หมู่บ้านนักกีฬา - ม.รามคำแหง - ท่าช้าง"

มีนบุรี ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "หมู่บ้านนักกีฬา - ม.รามคำแหง - ท่าช้าง"
502 มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมใช้เลขสาย ปอ.2

ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 27

สวนสยาม
สุวินทวงศ์
503 รังสิต สนามหลวง รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านพหลโยธิน ลงด่านยมราช)
เดิมใช้เลขสาย ปอ.3

ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 59

504 ถนนตก ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "รังสิต - ทางด่วน - บางรัก"
ห้าแยกลาดพร้าว สวนธนบุรีรมย์ เป็นเส้นทางที่แยกมาจากสาย ปอ.4 เดิม
505 ปากเกร็ด สวนลุมพินี ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ปากเกร็ด - ทางด่วน - วงเวียนใหญ่"
วงเวียนใหญ่ เดิมใช้เลขสาย ปอ.5

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ปากเกร็ด - ทางด่วน - วงเวียนใหญ่"

เดอะมอลล์งามวงศ์วาน เส้นทางสำหรับรถธรรมดา
506 พระประแดง ปากเกร็ด เดิมใช้เลขสาย ปอ.6
วัดชนะสงคราม (บางลำพู) ผ่านท่าพระจันทร์

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

506A ปากเกร็ด สามเสน เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552
507 สายใต้ใหม่ ปากน้ำ ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่สำโรง
สายใต้เก่า
508 ปากนํ้า ท่าราชวรดิฐ เดิมใช้เลขสาย ปอ.8

ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 501

อู่เมกาบางนา ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 501
509 อู่วัดม่วง สถานีวงเวียนใหญ่ เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงแรกๆ ที่มีการเปิดเดินรถรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมส่วนต่อขยาย
อู่วัดม่วง หมอชิต 2 ผ่านบางขุนนนท์ พาต้าปิ่นเกล้า

ปัจจุบันย้ายต้นทางไปหมู่บ้านเศรษฐกิจ และเปลี่ยนเส้นทางผ่านโรงพยาบาลศิริราช

พุทธมณฑลสาย 2
อู่บรมราชชนนี
510 รังสิต พระประแดง เดิมใช้เลขสาย ปอ.10

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "มธ.ศูนย์รังสิต - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ"

ตลาดไท อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่ มธ.ศูนย์รังสิต
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สถานีพญาไท เส้นทางเสริมพิเศษ
512 หมอชิต 2 ปากคลองตลาด เดิมใช้เลขสาย ปอ.12

ผ่านบางเขน รามอินทรา บางกะปิ ประตูน้ำ

513 สำโรง รังสิต เดิมใช้เลขสาย ปอ.13

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ

514 มีนบุรี สีลม เดิมใช้เลขสาย ปอ.2ก และ ปอ.15

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่สวนลุมพินี

515 เซ็นทรัล ศาลายา สถานีพญาไท เส้นทางเสริมพิเศษ
517 อู่กำแพงเพชร ศูนย์การค้าเทิดไท
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เดิมใช้เลขสาย ปอ.18

กลับมาให้บริการอีกครั้งในนาม บจก.ไทยสมายล์บัส แต่ใช้เลขสาย 1-56 และไปสิ้นสุดแค่หมอชิต 2

ลาดกระบัง หมอชิต 2 ผ่านมีนบุรี บางกะปิ ม.รามคำแหง
ท่าเรือบางกะปิ ให้บริการด้วยรถธรรมดาครีมแดง
518 หมู่บ้านบัวขาว อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมใช้เลขสาย ปอ.19

เส้นทางมีความทับซ้อนกับสาย 27

มีนบุรี ลำลูกกา คลอง 9 เดิมใช้เลขสาย ปอ.19

เส้นทางมีความทับซ้อนกับสาย 374, 1304 และ 6250

519 สวนสยาม เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เดิมใช้เลขสาย ปอ.20

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "มีนบุรี - คลองเตย"

520 ตลาดไท มหาวิทยาลัยรามคำแหง เดิมใช้เลขสาย ปอ.21

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "มีนบุรี - รังสิต"

บางกะปิ
โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ตลาดไท รถออกจากอู่สวนสยาม รับคนป้ายแรกที่โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
521 อู่ราชประชา ท่าน้ำนนทบุรี เดิมใช้เลขสาย ปอ.23

ปัจจุบันคือสาย 138

522 รังสิต ลาดยาว เดิมใช้เลขสาย ปอ.24

เส้นทางเสริมของสาย 522

สถานีรังสิต BTS แยก คปอ. ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว เป็นเส้นทางเสริมเพื่อเชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีแดงและรถไฟฟ้าสายสีเขียว[12]
523 รังสิต คลอง 3 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมใช้เลขสาย ปอ.25

ผ่านสะพานใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ - คลองหลวง คลอง 5" พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 1-31 และให้บริการโดย บจก.ไทยสมายล์บัส

524 สนามหลวง บางเขน เดิมใช้เลขสาย ปอ.27

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "สายใต้ใหม่ - สะพานซังฮี้ - หลักสี่"

สายใต้ใหม่ หลักสี่ ผ่านสนามหลวง

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "สายใต้ใหม่ - สะพานซังฮี้ - หลักสี่"

525 สวนสยาม หมู่บ้านเธียรทอง 3 เส้นทางสำหรับรถธรรมดาครีมแดง

ผ่านคู้ซ้าย

เดิมใช้เลขสาย ปอ.28

ปัจจุบันขยายปลายทางไปยังลำลูกกา คลอง 12

526 สวนสยาม โรงเรียนหลวงแพ่งบำรุงรัฐกิจ ผ่านคู้ขวา

เดิมใช้เลขสาย ปอ.29

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่หมู่บ้านเอื้ออาทรสังฆสันติสุข

527 บางบัวทอง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมใช้เลขสาย ปอ.30

ต่อมาได้เปลี่ยนเลขสายเป็น 177

528 ไทรน้อย
529 แสมดำ รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านหัวลำโพง)
529E หมอชิต 2 ผ่านรัชโยธิน
530 แฮปปี้แลนด์ เดิมใช้เลขสาย ปอ.35 ต่อมาคือสาย 173
531 บางขุนเทียน อรุณอมรินทร์ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
532 วัดโพธิ์แจ้ มาบุญครอง เดิมใช้เลขสาย ปอ.38
533 คลองเตย บางใหญ่
534 ศรีอยุธยา เคหะร่มเกล้า รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านพระราม 9 ลงด่านรามอินทรา)
535 พระประแดง รถบริการทางด่วน
537 เคหะบางพลี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมใช้เลขสาย ปอ.43

ต่อมาได้ปรับปรุงเป็นสาย R26E​ และปัจจุบันคือสาย 3-26E

538 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โรงพยาบาลสงฆ์ เดิมใช้เลขสาย ปอ.44

รถบริการทางด่วน (ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านดินแดง)

ปัจจุบันปรับให้มาขึ้นด่านหลักสี่ ลงด่านสุทธิสาร

540 ศรีอยุธยา พระราม 4 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
541 รัชดาภิเษก
542 ตลิ่งชัน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เดิมใช้เลขสาย ปอ.48

เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย 108

543 BTS แยก คปอ. ตลาดใหญ่ลำลูกกา คลอง 7 เส้นทางสำหรับบรรเทาความเดือดร้อนจากกรณีที่ 543 เส้นทางปกติขาดระยะ โดยใช้รถจากสาย 522 เส้นทางหลัก ไม่ผ่าน ซ.แอนเนกซ์ แยกลำลูกกา
ตลาดใหญ่ลำลูกกา คลอง 7 ดอนเมือง เส้นทางเสริมในช่วงมหาอุทกภัย 2554
บางเขน ท่าน้ำนนทบุรี ผ่านรัชโยธิน วงศ์สว่าง มจพ.

ปัจจุบันเปลี่ยนมาใช้เลขสาย 543ก (1-34)

544 บางขุนเทียน หนามแดง เดิมใช้เลขสาย ปอ.50

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "เมกาบางนา - บางบอน" พร้อมทั้งได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย 3-31

545 นนทบุรี สำโรง เดิมใช้เลขสาย ปอ.126

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่พัฒนาการ 25

สำหรับเส้นทางช่วงแยกลำสาลี - สำโรง ปัจจุบันได้ปรับปรุงเป็นสาย 3-32 (สำโรง - สวนสยาม) เดินรถโดย บจก.ไทยสมายล์บัส

546 - -
547 มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่ถนนตก
หมู่บ้านเอื้ออาทรศาลายา สวนลุมพินี
548 ประชานิเวศน์ 3 ท่านํ้าพระประแดง
549 มีนบุรี เคหะร่มเกล้า ให้บริการด้วยรถเมล์ฟรี
​550 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หมอชิต 2 เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศ (สมัย บจก.พรีเมียม แมเนจเมนท์)
551 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
552 ปากน้ำ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง ไม่ขึ้นทางพิเศษบูรพาวิถี
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คลองเตย ปัจจุบันมี 2 เส้นทาง
  • (รถเมล์) ปากน้ำ - ทางด่วน - นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
  • (รถตู้) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ - BTS อ่อนนุช
552A ปากน้ำ ปัจจุบันสายนี้ให้บริการด้วยรถตู้

ต่อมาเส้นทางนี้ได้ปรับปรุงเป็นสาย 552 หรือ 3-25E (ปากน้ำ - ทางด่วน - นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง) เดินรถโดย บจก.ไทยสมายล์บัส

553 ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ
555 ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) วิ่งตามสัมปทานเดิม

ปัจจุบันเป็นเส้นทางของรถตู้สาย ต.555

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
รังสิต โรงพยาบาลทหารผ่านศึก เส้นทางที่ให้บริการในช่วงแรกของ บจก.ไทยสมายล์บัส
556 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สายใต้ใหม่ รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วย ทางพิเศษศรีรัช ลงด่านยมราช

ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "วัดไร่ขิง - อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย"

สถานีมักกะสัน ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "วัดไร่ขิง - อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย"
วัดไร่ขิง สถานีมักกะสัน
ตลาดโบ๊เบ๊
557 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ วงเวียนใหญ่
559 รังสิต สวนสยาม รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก ด่านธัญบุรี ลงด่านรามอินทรา

เส้นทางที่ให้บริการในช่วงแรกของ บจก.ไทยสมายล์บัส

618 วัดคู่สร้าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

ต่อมาคือสาย 21

642 สถานีมักกะสัน ท่าน้ำคลองสาน เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552
679 ท่าน้ำนนทบุรี บางลำพู เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

ต่อมาคือสาย 64

710 ถนนราชพฤกษ์ ถนนอรุณอมรินทร์ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ต่อมาคือสาย 208

720 อู่กัลปพฤกษ์ ถนนพระรามที่ 2 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ต่อมาคือสาย 209

722 คลองเตย รัชดาภิเษก (ตลาดพลู) เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

ปัจจุบันคือสาย 205

746 อโศก เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

751 เชิงสะพานพระราม 4 BTS บางหว้า ปัจจุบันคือสาย 210
1011 มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันคือสาย 27
1013 นิคมลาดกระบัง พาราไดซ์ พาร์ค เส้นทางสำหรับรถมินิบัส

ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่หัวตะเข้

ต่อมาเส้นทางนี้ได้ปรับปรุงเป็นสาย 3-34 (บางนา - นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง) เดินรถโดย บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เอ็กซา โลจิสติก)

สถานีลาดกระบัง เส้นทางสำหรับรถตู้
1015 รามอินทรา กม.8 พระโขนง ปัจจุบันคือสาย 71
1017 ตลาดบางแค วัดสิงห์ สายใหม่ ผ่าน ถ.บางแค
1067 แฮปปี้แลนด์ ลาดกระบัง ปัจจุบันคือสาย 143
1101 หมู่บ้านบัวขาว ต่อมาคือสาย 130
1118 มีนบุรี หนองจอก ปัจจุบันคือสาย 131
1122 ลาดกระบัง ต่อมาคือสาย 144
1251 คลองเตย สาธุประดิษฐ์
1468 ตลาดบางแค วัดรางบัว
1551 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 โรงพยาบาลจุฬาภรณ์
นร.1 คลองเตย เกียกกาย เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

เป็นโครงการรถโรงเรียนของ ขสมก. เมื่อปี พ.ศ. 2536 เก็บในราคา 2.50 บาท ตลอดสาย[13]

ปอ.1 คลองจั่น ปากคลองตลาด ผ่าน​ ถ.เพชรบุรี

ต่อมาเส้นทางนี้ได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย ปอ.12 (512)

ส่วนเส้นทาง ปอ.1 เปลี่ยนมาใช้เส้นทาง ถ.สุขุมวิท และเปลี่ยนมาใช้เลขสาย 501

ปอ.2ก สีลม ใช้เส้นทาง ถ.รัชดาภิเษก

ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้เลขสาย ปอ.15 และ 514 ตามลำดับ

ปอ.2 มีนบุรี ผ่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

ต่อมาคือสาย 502

ปอ.3 รังสิต ปิ่นเกล้า ต่อมาคือสาย 503
ปอ.4 สวนธนบุรีรมย์ ปัจจุบันคือสาย 504
ปอ.5 ปากเกร็ด วงเวียนใหญ่ ปัจจุบันคือสาย 505
ปอ.9 บางแค นนทบุรี ปัจจุบันคือสาย 509
ปอ.11 ปากน้ำ ปิ่นเกล้า จากอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เลี้ยวขวาเข้าถนนดินสอ ผ่านแยกสะพานวันชาติ วัดบวรนิเวศวิหาร บางลำพู ออกแยกคอกวัว

ปัจจุบันคือสาย 511 พร้อมทั้งวิ่งตรงตามถนนราชดำเนินกลางตลอดสาย และขยายปลายทางไปยังสายใต้ใหม่ในเวลาต่อมา

ปอ.14 มหาวิทยาลัยรามคำแหง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันถูกผนวกรวมเข้ากับสาย​ 61​ เป็นสาย 168
ปอ.28 มีนบุรี หนองจอก ผ่านคู้ซ้าย

ปัจจุบันคือสาย 525 และขยายปลายทางไปยังลำลูกกา คลอง 12

ปอ.29 ผ่านคู้ขวา

ปัจจุบันคือสาย 526 และขยายปลายทางไปยังหมู่บ้านเอื้ออาทรสังฆสันติสุข

ปอ.37 ดาวคะนอง กาญจนาภิเษก เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
ปอ.49 พระราม 7 (อู่เขมา) ตลาดใหญ่ลำลูกกา คลอง 7 ปัจจุบันคือสาย 543 และแบ่งออกเป็น 3 เส้นทาง
  • (ป้ายแดง) อู่บางเขน - ตลาดใหญ่ลำลูกกา คลอง 7
  • (ป้ายน้ำเงิน) อู่บางเขน - ท่าน้ำนนทบุรี
  • (ป้ายขาว) (เสริม) อู่บางเขน - กรมการปกครอง คลอง 9
ปอ.126 นนทบุรี สำโรง ในเวลาต่อมาคือสาย 545
ปอ.พ.1 ท่าน้ำนนทบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ผ่านบางลำพู
เมืองทองธานี สีลม
ปอ.พ.2 มีนบุรี วัดสน
สวนสยาม
ปอ.พ.3 มีนบุรี สี่พระยา เดิมผ่านถนนเสรีไทย ก่อนจะเปลี่ยนมาผ่านถนนสุขาภิบาล 3
ปอ.พ.4 เคหะร่มเกล้า สายใต้ใหม่
ปอ.พ.4-1
ปอ.พ.4-2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันคือสาย 1-50
ปอ.พ.5 วงเวียนใหญ่ ปทุมวัน
พุทธมณฑลสาย 4 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
อ้อมใหญ่
หมอชิต 2
ปอ.พ.6 เทพารักษ์ สี่พระยา
ปากน้ำ
ปอ.พ.7 เคหะบางขุนเทียน จตุจักร
บางบอน หมอชิตใหม่
ปอ.พ.8 สวนสยาม ตลิ่งชัน
ปอ.พ.9 ห้วยขวาง บางบอน
สวนสยาม
ลาดพร้าว 86
ปอ.พ.10 หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง หมู่บ้านเศรษฐกิจ
ปอ.พ.10-1 บางกะปิ
ปอ.พ.10-2 ประตูน้ำ
ปอ.พ.10-3 บางกะปิ ท่าราชวรดิฐ
ปอ.พ.11 ประชานิเวศน์ 3 บางปะแก้ว​
ทุ่งครุ
เซ็นทรัล ลาดพร้าว
ปอ.พ.12 พุทธมณฑลสาย 4 หมอชิต 2
อ้อมใหญ่
วัดไร่ขิง
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
ปอ.พ.13 ปากน้ำ จตุจักร
ปากเกร็ด
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปอ.พ.14 เคหะบางขุนเทียน สำโรง
พุทธมณฑลสาย 2 ปากน้ำ
บางปะแก้ว
ปอ.พ.15 ศรีเอี่ยม นนทบุรี
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2
ปากน้ำ จตุจักร
ปอ.พ.15-2 บางกะปิ
ปอ.พ.15-3 จตุจักร
ปอ.พ.16 เมืองทองธานี สี่พระยา
รังสิต
ปอ.พ.17 สวนสยาม ตลาดพลู
บางรัก
ปอ.พ.17-1
ปอ.พ.18 สายใต้ใหม่ สะพานใหม่
ตลิ่งชัน
แยกลำลูกกา
รังสิต สาทร
ปอ.พ.19 บางบอน กล้วยน้ำไท
เคหะร่มเกล้า
ท่าช้าง
ปอ.พ.20 สวนสยาม ตลิ่งชัน
หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง สวนธนบุรีรมย์
ทุ่งครุ
ปอ.พ.21 สำโรง บางแค
ปอ.พ.22 ปากน้ำ สายใต้ปิ่นเกล้า
ปอ.พ.23 พัฒนาการ
ลาดกระบัง สยาม
ปอ.พ.24 หมู่บ้านเศรษฐกิจ สุขาภิบาล 2 (เสรีไทย)
บางขุนนนท์ บางกะปิ รถบริการทางด่วน (ขึ้นด่านสีลม ลงด่านอโศก)
ปอ.พ.25 คลองขวาง สุขาภิบาล 1 (นวมินทร์)
สวนสยาม ท่าราชวรดิฐ
ปอ.พ.25-1
ปอ.พ.26 บางบอน จตุจักร
ปอ.พ.27 สวนธนบุรีรมย์ สุขาภิบาล 1 (นวมินทร์)
ปอ.พ.28 สวนสยาม สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง)
ปอ.พ.29 พระราม 7 สำโรง
ปอ.พ.30 เทพารักษ์ สนามหลวง
ปอ.พ.31 ประชานิเวศน์ 3
ปอ.พ.32 บางใหญ่ สุขาภิบาล 2 (เสรีไทย)
ปากเกร็ด อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านงามวงศ์วาน ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านงามวงศ์วาน)
ปอ.พ.33 ประชานิเวศน์ 3 ภาษีเจริญ
ปอ.พ.34 ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์ ดอนเมือง
หมอชิต 2
หมอชิตใหม่ บางกะปิ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
ปอ.พ.35 ปากเกร็ด ถนนตก
พัฒนาการ
ปอ.พ.35-1
ท.1 เมืองทองธานี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถบริการทางด่วน

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ปัจจุบันคือสาย 166

ท.4 มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 รถบริการทางด่วน

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ปัจจุบันคือสาย 139

ท.5 คลองเตย รถบริการทางด่วน

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ต่อมาคือสาย 13 ทางด่วน

ท.14 ปากเกร็ด อโศก รถบริการทางด่วน

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ต่อมาคือสาย 150 ทางด่วน

ท.30 มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์ รถบริการทางด่วน

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ปัจจุบันคือสาย 180

ทอ. สะพานใหม่ ดอนเมือง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
ป.1 รังสิต สี่พระยา ผ่านสะพานใหม่

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ป.2 บางรัก ผ่าน ถ.วิภาวดีรังสิต

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ป.13 บางบัวทอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ปัจจุบันคือสาย 134 และได้ขยายปลายทางเป็นหมอชิต 2

ป.19 เทเวศร์ ประเวศ ดัดแปลงเส้นทางจากสาย 99

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ป.23 สนามหลวง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ปัจจุบันคือสาย 53

ปิ่นเกล้า สะพานพุทธ
ป.25ก พระราม 7 เดอะมอลล์ท่าพระ เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ต่อมาคือสาย 175

ป.25ข คลองเตย เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ปัจจุบันคือสาย 205

ป.25ค พระราม 9 พระราม 7 เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2537

ปัจจุบันคือสาย 179

รถเฉพาะกิจ สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) เป็นเส้นทางเชื่อมสถานีรถไฟ จอดรับ-ส่ง​เฉพาะจุดที่กำหนด​คือ​ สถานีกลางกรุงเทพ​อภิวัฒน์ (บางซื่อ),​ ​สถานีรถไฟสามเสน​, ที่หยุดรถ​ไฟโรงพยาบาลรามาธิบดี​, ป้ายหยุดรถไฟยมราช​ และสถานีรถไฟกรุงเทพ​ (หัว​ลำโพง)

ให้บริการ​ฟรีสำหรับผู้มีตั๋วโดยสารรถไฟ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประตู 3 อิมแพ็ค ชาเลนเจอร์ เฉพาะกิจสำหรับงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มสธ. ประจำปี 2565
วงกลมทดลองวิ่ง B1 มีนบุรี หทัยราษฎร์ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นสาย 194 และปัจจุบันคือสาย 197

วงกลมทดลองวิ่ง B2
วงกลมมีนบุรี แฮปปี้แลนด์ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
วงกลมศรีนครินทร์ ถนนศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
A1 ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) สีลม ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "ท่าอากาศยานดอนเมือง - BTS หมอชิต"
BTS เสนานิคม
A2 สนามหลวง ปัจจุบันคือสาย A4 และสาย A2 วิ่งในเส้นทาง "ท่าอากาศยานดอนเมือง - ดินแดง - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ"
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ผ่านอารีย์ จตุจักร

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "ท่าอากาศยานดอนเมือง - ดินแดง - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ"

แยกลำลูกกา รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านหลักสี่ ลงด่านลาดพร้าว) ให้บริการในช่วงเช้าของวันธรรมดา
รถไม่ขึ้นทางด่วน ให้บริการในช่วงเช้าวันหยุดสุดสัปดาห์
A3 ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) เอกมัย ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "ท่าอากาศยานดอนเมือง - สวนลุมพินี"
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ BTS อุดมสุข
A5 ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต
AE1 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สีลม
AE2 บางลำพู
AE3 ถนนวิทยุ
นานาเหนือ สายพิเศษทางราบ
AE4 หัวลำโพง
B1 สายใต้ใหม่ BTS บางหว้า เป็นเส้นทางในโครงการทดลองเดินรถเมล์ BMA Feeder นำส่งผู้โดยสารสู่ระบบขนส่งมวลชนทางราง โดย กทม.
B44 อู่พระราม 9 สุทธิสาร เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ปัจจุบันคือสาย 54 (2-44)

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

B45 หมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม สะพานพุทธ ปัจจุบันคือสาย 73 (2-45)

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

G21 รังสิต ท่าเรือพระราม 5 ปัจจุบันคือสาย 114 (1-21)

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

G59E มีนบุรี สี่พระยา รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านประชาอุทิศ ลงด่านบ่อนไก่)

ปัจจุบันคือสายสาย 514(E) (1-55E)

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

M อู่บางเขน MRT พหลโยธิน เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

เส้นทางสำหรับเชื่อมต่อรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

P1 สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สวนลุมพินี เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

เส้นทางสำหรับ Shuttle Bus ในงานกาชาด 2022

ใช้รถจากสาย B2

P2 สวนป่าเบญจกิติ
R3 สวนหลวง ร.9 สนามกีฬาแห่งชาติ ปัจจุบันคือสาย 11 (3-3)

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

R26E​ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี รถไม่ขึ้นทางด่วน ผ่าน​ ถ.พระราม​ 9​ ตัดใหม่​ แยกผังเมือง​ โบสถ์แม่พระฟาติมา​ ดินแดง​ (ขึ้นสะพานทางยกระดับ​ ถ.พระราม​ 9)

ปัจจุบันคือสาย 3-26E และกลับมาขึ้นทางด่วนอีกครั้ง

R41 ถนนตก แฮปปี้แลนด์ ปัจจุบันคือสาย 22 (3-40)

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

Shuttle Bus สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) รถบริการ​ทางด่วน​ (ขึ้นด่านพหลโยธิน​ ลงด่านหัวลำโพง)

ให้บริการ​ฟรีสำหรับผู้มีตั๋วโดยสารรถไฟ

Y59 สถานีตลิ่งชัน กระทุ่มแบน ปัจจุบันคือสาย 189 (4-59)

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

Y61 หมู่บ้านเศรษฐกิจ หมอชิต 2 ปัจจุบันคือสาย 509 (4-60)

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

Y70E ตลาดทวีทรัพย์ สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านตลิ่งชัน ลงด่านกำแพงเพชร 2)

ค่าโดยสาร คนละ 55 บาท (หากโดยสารแบบไม่ขึ้นทางด่วนค่าโดยสาร คนละ 20-25 บาท) และสามารถใช้บัตร Rabbit ในการชำระค่าโดยสารได้

ปัจจุบันคือสาย 4-70E

1-25 บางเขน BTS คูคต เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ในปี พ.ศ. 2560 แต่ผิดสัมปทาน

ผ่านถนนเทพรักษ์ วงศกร

แยกลำลูกกา เส้นทางสำหรับรถธรรมดาครีมแดง
1-31 คลองหลวง คลอง 5 BTS แยก คปอ. เส้นทางเสริมพิเศษ
2-33 บัวทองเคหะ สถานีชุมทางบางซื่อ ผ่านท่าน้ำนนท์ ตลาดนนทบุรี
3-32 สำโรง รามคำแหง 74 เส้นทางเสริมพิเศษเข้าอู่
4-44 หนองแขม ตลาดบางแค ให้บริการด้วยรถมินิบัส

ปัจจุบันคือสาย 80A

เขตการเดินรถที่ให้บริการ

[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีการแบ่งการบริหารจัดการเดินรถ เรียกว่า "เขตการเดินรถ" โดยในปัจจุบันแบ่งเป็น 8 เขตการเดินรถ ประกอบด้วย

  • เขตการเดินรถที่ 1 ประกอบไปด้วย อู่บางเขน อู่ธรรมศาสตร์ อู่รังสิต
  • เขตการเดินรถที่ 2 ประกอบไปด้วย อู่มีนบุรี อู่สวนสยาม
  • เขตการเดินรถที่ 3 ประกอบไปด้วย อู่ช้างเอราวัณ อู่ปู่เจ้าสมิงพราย อู่ฟาร์มจระเข้ อู่บ่อดิน อู่เมกาบางนา
  • เขตการเดินรถที่ 4 ประกอบไปด้วย อู่คลองเตย อู่สาธุประดิษฐ์ อู่พระราม 9
  • เขตการเดินรถที่ 5 ประกอบไปด้วย อู่ราชประชา อู่กัลปพฤกษ์ อู่แสมดำ
  • เขตการเดินรถที่ 6 ประกอบไปด้วย อู่วัดไร่ขิง อู่บรมราชชนนี
  • เขตการเดินรถที่ 7 ประกอบไปด้วย อู่เทศบาลบางบัวทอง อู่บัวทองเคหะ อู่ท่าอิฐ
  • เขตการเดินรถที่ 8 ประกอบไปด้วย อู่กำแพงเพชร อู่ใต้ทางด่วนรามอินทรา อู่สวนสยาม

[14]

พื้นที่ที่รับผิดชอบของแต่ละเขตการเดินรถ

[แก้]

เขตการเดินรถที่ให้บริการเส้นทางบางส่วนในพื้นที่ปริมณฑล

การปฏิรูป 276 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

[แก้]

โซนให้บริการ

[แก้]

การปฏิรูปจะรวมเขตการเดินรถเหลือเพียง 4 โซน แบ่งตามสี คือ

รูปแบบของเลขสาย

[แก้]
  • ตัวอักษรแรกคือรหัสโซน
  • ตัวเลขที่ตามมาคือลำดับหมายเลขสายของโซนนี้
  • หากมีตัว E ต่อท้ายหมายถึงรถขึ้นทางด่วน

อย่างไรก็ดี ในเวลาต่อมากรมการขนส่งทางบก เตรียมพิจารณาแผนเปลี่ยนเลขสายรถเมล์ใหม่ทั้งกรุงเทพฯ โดยใช้ระบบแบ่งเขต (Zoning) ในการตั้งชื่อสายรถเมล์ด้วยหมวดตัวเลข[15] แทนการใช้ตัวอักษร GRYB ได้แก่

  • โซนหมายเลข 1 คือ กรุงเทพฝั่งเหนือ (รังสิต, ดอนเมือง, ลำลูกกา, บางเขน, มีนบุรี, หนองจอก, หลักสี่)
  • โซนหมายเลข 2 คือ กรุงเทพฝั่งตะวันตก (ปากเกร็ด, บางใหญ่, บางบัวทอง, นนทบุรี, เกษตร, จตุจักร, ลาดพร้าว, ดินแดง, บางซื่อ)
  • โซนหมายเลข 3 คือ กรุงเทพฝั่งตะวันออก (รามคำแหง, บางกะปิ, คลองเตย, ปากน้ำ, ลาดกระบัง, ศรีนครินทร์, บางพลี)
  • โซนหมายเลข 4 คือ กรุงเทพฝั่งใต้ (พระราม2, บางแค, ปิ่นเกล้า, พระประแดง, ศาลายา, สามพราน, อ้อมน้อย)
  • โซนหมายเลข 5 คือ เส้นทางเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว

นอกจากนี้ยังมีเลขสายที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ซึ่งเป็นเส้นทางเชื่อมต่อท่าอากาศยาน ได้แก่

รายชื่อสายรถโดยสารประจำทางปฏิรูป 276 เส้นทาง

[แก้]

ตารางที่จะแสดงต่อจากนี้ จะแบ่งแยกด้วยการใช้สีต่าง ๆ กล่าวคือ [3] [4] [5] [16] [17]

  • เส้นทางของ ขสมก. แทนด้วย สีเขียว
  • เส้นทางของ บจก.สมาร์ทบัส แทนด้วย สีฟ้าเข้ม
  • เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส แทนด้วย สีกรมท่า
  • เส้นทางของบริษัทเอกชนรายอื่นๆ แทนด้วย สีดำ
  • เส้นทางที่ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ หรือยังไม่ทราบเป็นที่แน่ชัด แทนด้วย สีขาว
สายที่ เส้นทางเทียบเคียง จุดเริ่มต้น ขึ้นทางพิเศษที่ด่าน ลงทางพิเศษที่ด่าน จุดสิ้นสุด ผู้ได้รับสัมปทาน หมายเหตุ
1 - 1 29 บางเขน - - หัวลำโพง บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เดินรถบนถนนวิภาวดีรังสิตจนถึงแยกลาดพร้าว และเดินรถบนถนนพระราม 6
1 - 2E 34E รังสิต รามอินทรา พหลโยธิน บจก.ไทยสมายล์บัส ขึ้นทางพิเศษฉลองรัชและไปตามทางพิเศษศรีรัช
เที่ยวกลับ : ขึ้นทางพิเศษที่ด่านพระราม 9
1 - 3 34 บางเขน - - เดินรถบนถนนพหลโยธิน
1 - 4 39A มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) บางเขน
1 - 5 39 รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.หลีกภัยขนส่ง)
1 - 6 52 ท่าเรือปากเกร็ด สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เดินรถบนถนนแจ้งวัฒนะ, ถนนวิภาวดีรังสิต
1 - 7E 59E รังสิต แจ้งวัฒนะ คลองประปา สนามหลวง ขสมก. ขึ้นทางพิเศษศรีรัช
เที่ยวกลับ : ขึ้นทางพิเศษที่ด่านพหลโยธิน
1 - 8 59, 503 - -
1 - 9E เส้นทางใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) เชียงราก ยมราช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) บจก.ไทยสมายล์บัส ขึ้นทางพิเศษอุดรรัถยาและไปตามทางพิเศษศรีรัช
1 - 10 95 บางเขน - - สถานีรถไฟฟ้าหัวหมาก ขสมก.
1 - 11 95A รังสิต แฮปปี้แลนด์
1 - 12E 107 บางเขน ดินแดง ท่าเรือ คลองเตย ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
1 - 13 126 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ - - คลองตัน บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
1 - 14E 129 บางเขน ดินแดง บางนา สำโรง ขสมก. ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
1 - 15 150 ท่าเรือปากเกร็ด - - มีนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
1 - 16 185 แยกลำลูกกา พระราม 9 ขสมก.
1 - 17 187 หมู่บ้านเอื้ออาทรคลอง 3 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ธรรมนัส ทรานสปอร์ต)
1 - 18E 504 รังสิต แจ้งวัฒนะ ดินแดง บางรัก บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) ขึ้นทางยกระดับอุตราภิมุข
1 - 19 510 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) - - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขสมก.
1 - 20E 510E อนุสรณ์สถาน ลาดพร้าว ขึ้นทางยกระดับอุตราภิมุข
1 - 21 114 รังสิต - - ท่าเรือพระราม 5 วิ่งบนถนนวิภาวดีรังสิต
1 - 22E 522 งามวงศ์วาน คลองประปา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขึ้นทางพิเศษศรีรัช
1 - 23 524 หลักสี่ - - สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (ถนนบรมราชชชนี) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524)
1 - 24E 538 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี หลักสี่ สุทธิสาร โรงพยาบาลสงฆ์ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) ขึ้นทางยกระดับอุตราภิมุข
1 - 25 543 บางเขน - - ลำลูกกา (อำเภอลำลูกกา) ขสมก.
1 - 26 1009 สายไหม เทพรักษ์ ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
1 - 27 90 ท่าเรือหัวถนนติวานนท์ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) บจก.บัส 90
1 - 28 เส้นทางใหม่ รังสิต บางเขน ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ วิ่งบนถนนสายไหม
1 - 29 95B บางเขน มหาวิทยาลัยรามคำแหง ขสมก. วิ่งบนถนนเลียบด่วนรามอินทรา
1 - 30 เส้นทางใหม่ ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ สถานีรถไฟดอนเมือง ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
1 - 31 523 (เทียบเคียง) คลองหลวง บจก.ไทยสมายล์บัส
1 - 32E เส้นทางใหม่ บางเขน ประชาอุทิศ สุรวงศ์ สถานีรถไฟฟ้าตลาดพลู ขึ้นทางพิเศษฉลองรัช, ทางพิเศษศรีรัช
1 - 33 196 (เทียบเคียง) - - สถานีรถไฟฟ้าบางซื่อ
1 - 34 543A ท่าเรือนนทบุรี ขสมก.
1 - 35E 26E มีนบุรี โยธิพัฒนา พหลโยธิน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขึ้นทางพิเศษฉลองรัช, ทางพิเศษศรีรัช
เที่ยวกลับ : ขึ้นทางพิเศษที่ด่านพระราม 9 ลงทางพิเศษที่ด่านรามอินทรา
1 - 36 26 - - สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) เดินรถบนถนนรามอินทรา
1 - 37 27, 502 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส วิ่งบนถนนเสรีไทย
1 - 38 60 สวนสยาม สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย ขสมก.
1 - 39 71 คลองเตย บจก.ไทยสมายล์บัส
1 - 40 93 หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ท่าเรือสี่พระยา ขสมก.
1 - 41 92 เคหะร่มเกล้า แฮปปี้แลนด์ บจก.ไทยสมายล์บัส
1 - 42 96 มีนบุรี สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ขสมก. เดินรถบนถนนลาดพร้าว
1 - 43 96A แฮปปี้แลนด์ ผ่านสำนักงานเขตคันนายาว
1 - 44 58, 113 หัวลำโพง บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
1 - 45 109, 115 สวนสยาม บางรัก
1 - 46 131 หนองจอก แฮปปี้แลนด์ ขสมก.
1 - 47 143 นิคมอุตสาหกรรมนำไกร มีนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส
1 - 48 เส้นทางใหม่ ศรีนครินทร์ ประเวศ ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
1 - 49 152 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แฮปปี้แลนด์ บจก.ไทยสมายล์บัส
1 - 50 168 เคหะร่มเกล้า อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขสมก.
1 - 51 1009 แยกลำลูกกา มีนบุรี ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ
1 - 52 197 มีนบุรี ถนนหทัยราษฎร์ บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
1 - 53 501, 508 หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ท่าช้าง ขสมก.
1 - 54 514 มีนบุรี สถานีรถไฟฟ้าลุมพินี
1 - 55E 514E ประชาอุทิศ พระราม 4 ท่าเรือสี่พระยา ขึ้นทางพิเศษฉลองรัช, ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
1 - 56 517 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส
1 - 57 519 มีนบุรี ท่าเรือคลองเตย ขสมก.
1 - 58 525 สวนสยาม ลำลูกกา คลอง 12 บจก.ไทยสมายล์บัส
1 - 59 526 หมู่บ้านเอื้ออาทรสังฆสันติสุข
1 - 60 93A หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง บางกะปิ ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
1 - 61 เส้นทางใหม่ หมู่บ้านเอื้ออาทรสังฆสันติสุข มีนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส
1 - 62 มีนบุรี กระทรวงพาณิชย์
1 - 63 ปัฐวิกรณ์ สวนหลวงพระราม 8
1 - 64 ซาฟารีเวิลด์ นวลจันทร์ เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
1 - 65 หนองจอก มีนบุรี ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ
1 - 66 นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี
1 - 67 1013 หัวตะเข้ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (เอกมัย)
1 - 68 520 รังสิต มีนบุรี ขสมก.
1 - 69 เส้นทางใหม่ หัวตะเข้ ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ
1 - 70 สถานีรถไฟฟ้าลาดกระบัง หนองจอก เดินรถบนถนนคุ้มเกล้า
1 - 71 143A (เทียบเคียง) มีนบุรี นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
1 - 72 1269 หัวตะเข้ หนองจอก ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ
1 - 73 เส้นทางใหม่ หมู่บ้านเอื้ออาทรลาดกระบัง 2 ร่มเกล้า บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
1 - 74 สถานีรถไฟฟ้าลาดกระบัง หนองจอก ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ เดินรถบนถนนหลวงแพ่ง
1 - 75 มีนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา
1 - 76 168A (เทียบเคียง) หมู่บ้านบัวขาว มีนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
1 - 77 26A มีนบุรี คลองเตย
1 - 78 518 ลำลูกกา คลอง 12 ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ วิ่งบนถนนนิมิตรใหม่
1 - 79 144 เคหะร่มเกล้า เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
1 - 80E 60E สวนสยาม ศรีนครินทร์ พหลโยธิน สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย ขสมก. ขี้นทางพิเศษศรีรัช
2 - 1 5 ท่าเรือพระราม 7 - - อรุณอมรินทร์ ยังไม่มีผู้ใดประมูล เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
2 - 2 16, 505 ท่าเรือปากเกร็ด ท่าเรือสี่พระยา ขสมก.
2 - 3 18 ตลาดท่าอิฐ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส
2 - 4 30, 65 วัดปากน้ำ (นนทบุรี) สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (ปิ่นเกล้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ไบรท์สตาร์ซัพพลาย (1999))
2 - 5 32 ท่าเรือปากเกร็ด วัดโพธิ์ ขสมก.
2 - 6 33 ปทุมธานี เทเวศร์ บจก.บัส 33
2 - 7 50 ท่าเรือพระราม 7 สถานีรถไฟฟ้าลุมพินี ขสมก.
2 - 8 51 วัดปรางค์หลวง บางเขน บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
2 - 9 53 สนามหลวง เทเวศร์ ขสมก. เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
2 - 10E 63 นครอินทร์ งามวงศ์วาน คลองประปา ประตูน้ำ ขี้นทางพิเศษศรีรัช
2 - 11 64 กระทรวงสาธารณสุข - - สนามหลวง บจก.ไทยสมายล์บัส
2 - 12 66 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (ปิ่นเกล้า) ขสมก.
2 - 13 69 ท่าอิฐ มหาวิทยาลัยรามคำแหง บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
2 - 14 70 ประชานิเวศน์ 3 สนามหลวง ขสมก.
2 - 15 97 กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสงฆ์ บจก.ไทยสมายล์บัส
2 - 16 104 ท่าเรือปากเกร็ด สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เดินรถบนถนนติวานนท์, ถนนงามวงศ์วาน, ถนนพหลโยธิน
2 - 17 112 (เทียบเคียง) สถานีรถไฟฟ้าบางซื่อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
2 - 18E 69E ท่าอิฐ งามวงศ์วาน อโศก มหาวิทยาลัยรามคำแหง ขี้นทางพิเศษศรีรัช
2 - 19 127 ตลาดบางบัวทอง - - บางลำพู บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
2 - 20 134 หมู่บ้านบัวทองเคหะ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ขสมก.
2 - 21E 166 ท่าเรือปากเกร็ด แจ้งวัฒนะ คลองประปา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขี้นทางพิเศษศรีรัช
เที่ยวกลับ : ขึ้นทางพิเศษที่ด่านพหลโยธิน
2 - 22 175 ท่าเรือนนทบุรี - - ถนนตก บจก.ไทยสมายล์บัส
2 - 23 203 หมู่บ้านบัวทองเคหะ สนามหลวง บจก.บางกอก 118
2 - 24E 505 ท่าเรือปากเกร็ด งามวงศ์วาน สะพานเหลือง วงเวียนใหญ่ ขสมก. ขี้นทางพิเศษศรีรัช
เที่ยวกลับ : ขึ้นทางพิเศษที่ด่านหัวลำโพง
2 - 25 516 หมู่บ้านบัวทองเคหะ - - เทเวศร์
2 - 26 545 ท่าเรือนนทบุรี พัฒนาการ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
2 - 27 210, 751 เมืองทองธานี สถานีรถไฟฟ้าบางหว้า บจก.ไทยสมายล์บัส
2 - 28 177 (เทียบเคียง) ตลาดบางบัวทอง สถานีรถไฟฟ้าลุมพินี ขสมก.
2 - 29 752 สถานีรถไฟฟ้าคลองบางไผ่ เซ็นทรัล พระราม 2
2 - 30 เส้นทางใหม่ เมืองทองธานี สามัคคี ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
2 - 31E 166 ศรีสมาน แจ้งวัฒนะ คลองประปา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขสมก. ขี้นทางพิเศษศรีรัช
เที่ยวกลับ : ขึ้นทางพิเศษที่ด่านพหลโยธิน
2 - 32E 70E ประชานิเวศน์ 3 งามวงศ์วาน อุรุพงษ์ สนามหลวง ขี้นทางพิเศษศรีรัช
2 - 33 134 (เทียบเคียง) หมู่บ้านบัวทองเคหะ - - สถานีรถไฟฟ้าบางซื่อ
2 - 34 55 (เทียบเคียง) สถานีรถไฟสามเสน ดินแดง บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
2 - 35 110 ประชานิเวศน์ 3 เทเวศร์ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
2 - 36 เส้นทางใหม่ ไทรน้อย ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ ขสมก.
2 - 37 3 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี
2 - 38 8 แฮปปี้แลนด์ ท่าเรือสะพานพุทธ บจก.ไทยสมายล์บัส
2 - 39 24 ประชานิเวศน์ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขสมก.
2 - 40 36 พระราม 9 ท่าเรือสี่พระยา
2 - 41 36A ปัฐวิกรณ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
2 - 42 44 เคหะคลองจั่น ท่าเตียน บจก.ไทยสมายล์บัส
2 - 43 49 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) หัวลำโพง ขสมก.
2 - 44 54 พระราม 9 สุทธิสาร เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
2 - 45 73 หมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม ท่าเรือสะพานพุทธ
2 - 46 73A สวนสยาม สถานีรถไฟฟ้าสนามกีฬาแห่งชาติ
2 - 47 117 ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ท่าเรือนนทบุรี
2 - 48 122 แฮปปี้แลนด์ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.รวีโชค)
2 - 49 156 ตลาดสุคนธสวัสดิ์ นวมินทร์ ขสมก. เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
2 - 50 178 แฮปปี้แลนด์ เซ็นทรัล ลาดพร้าว
2 - 51 191 เคหะคลองจั่น กระทรวงพาณิชย์
2 - 52 204 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ท่าเรือราชวงศ์
2 - 53 เส้นทางใหม่ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รัชดาภิเษก เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
2 - 54 196 สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต โชคชัย 4 ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ
2 - 55 วิภาวดีรังสิต ลาดปลาเค้า
3 - 1 2 ปากน้ำ - - ท่าเรือสะพานพุทธ บจก.ไทยสมายล์บัส
3 - 2E 2E ปู่เจ้าสมิงพราย สุขุมวิท 62 เพชรบุรี
3 - 3 11 สวนหลวง ร.9 - - สถานีรถไฟฟ้าสนามกีฬาแห่งชาติ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เอ็กซา โลจิสติกส์) เดินรถฝั่งสนามกีฬาแห่งชาติฝั่งเดียว
3 - 4E 23E สมุทรปราการ บางนา เพชรบุรี เทเวศร์ ขสมก. ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
3 - 5 23 ปู่เจ้าสมิงพราย - -
3 - 6 25 โรงเรียนปทุมคงคา สมุทรปราการ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (เอกมัย) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สาย 25 ร่วมใจ)
3 - 7E 25E แพรกษา บางนา สะพานสว่าง ท่าช้าง ขสมก. ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร, ทางพิเศษศรีรัช
3 - 8 38 มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา - - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
3 - 9E 45 หนามแดง บางนา บ่อนไก่ ท่าเรือสี่พระยา ขสมก. ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
3 - 10 46 มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา - - บจก.สิทธิชาญชัย
3 - 11 48 ท่าช้าง บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
3 - 12E 102 แพรกษา บางนา ท่าเรือ เซ็นทรัล พระราม 3 ขสมก. ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
3 - 13 507 สำโรง - - สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (ถนนบรมราชชนนี) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
3 - 14 132 เคหะบางพลี สถานีรถไฟฟ้าอุดมสุข บจก.ไทยสมายล์บัส
3 - 15 133 สถานีรถไฟฟ้าเอกมัย บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สันติมิตรขนส่ง)
3 - 16E 139 มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา สุขุมวิท 62 เพชรบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไพศาลสามัคคีขนส่ง ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
3 - 17E 142 ปากน้ำ บางนา สุขสวัสดิ์ แสมดำ ขสมก.
3 - 18 145 แพรกษา - - สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร)
3 - 19E 145E ศรีนครินทร์ ดินแดง ขึ้นทางพิเศษศรีรัช, ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
3 - 20E 180 มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา สุขุมวิท 62 ท่าเรือ เซ็นทรัล พระราม 3 ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
3 - 21 207 - - มหาวิทยาลัยรามคำแหง ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ เดิม บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ เป็นผู้ได้รับสัมปทาน แต่ต่อมาได้ยุติการเดินรถไป โดยขณะนี้ ขสมก. เข้ามาเดินรถแทนในระหว่างรอเปิดคัดเลือกผู้เดินรถรายใหม่
3 - 22E 511 ปากน้ำ บางนา เพชรบุรี สถานีขนส่งผู้โดยสารกรงุเทพฯ (ถนนบรมราชชนนี) ขสมก. ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
3 - 23E 513 สำโรง อาจณรงค์ รามอินทรา ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ บจก.ไทยสมายล์บัส ขึ้นทางพิเศษฉลองรัช
3 - 24E 536 ปากน้ำ บางนา เพชรบุรี สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ขสมก. ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
3 - 25E 552(A) บางนา กม.6 นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง บจก.ไทยสมายล์บัส ขึ้นทางพิเศษบูรพาวิถี
3 - 26E R26E, 537 สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร ศรีนครินทร์ พหลโยธิน โรงพยาบาลรามาธิบดี ขึ้นทางพิเศษศรีรัช
เที่ยวกลับ : ขึ้นทางพิเศษที่ด่านพระราม 9

เดิม บจก.มารัตน์ ทรานสปอร์ต เป็นผู้ได้รับสัมปทาน แต่ต่อมาได้ยุติการเดินรถไป โดยขณะนี้ ขสมก. เข้ามาเดินรถแทนในระหว่างรอเปิดคัดเลือกผู้เดินรถรายใหม่[18]

ปัจจุบันมีผู้ได้รับสัมปทานรายใหม่แล้ว คือ บจก.ไทยสมายล์บัส

3 - 27 207A (เทียบเคียง) ปู่เจ้าสมิงพราย - - สวนสยาม
3 - 28 เส้นทางใหม่ สถานีรถไฟฟ้าอ่อนนุช อุดมสุข ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
3 - 29 สำโรง ศรีนครินทร์
3 - 30 206 ศรีเอี่ยม บางเขน ขสมก.
3 - 31 544 (เทียบเคียง) เมกา บางนา บางบอน
3 - 32 545A (เทียบเคียง) สำโรง สวนสยาม บจก.ไทยสมายล์บัส
3 - 33 เส้นทางใหม่ ปากน้ำ สถานีรถไฟฟ้าสีลม ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ
3 - 34 1013 (เทียบเคียง) บางนา นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เอ็กซา โลจิสติกส์)
3 - 35 1 พระราม 3 ท่าเตียน บจก.ไทยสมายล์บัส
3 - 36 4 ท่าเรือคลองเตย ท่าเรือภาษีเจริญ
3 - 37 12 ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย
3 - 38 13 คลองเตย ปัฐวิกรณ์ ขสมก.
3 - 39 14 ถนนตก ศรีย่าน บจก.ไทยสมายล์บัส
3 - 40 22 แฮปปี้แลนด์ ขสมก.
3 - 41 47 ท่าเรือคลองเตย สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย
3 - 42 62 ท่าเรือสาธุประดิษฐ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
3 - 43 67 พระราม 3 วัดเสมียนนารี
3 - 44 72A, 74 (เทียบเคียง) ท่าเรือคลองเตย อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส
3 - 45 77 พระราม 3 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร)
3 - 46 72 ท่าเรือคลองเตย เทเวศร์ ขสมก.
3 - 47 136 คลองเตย สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร)
3 - 48 137 รัชดาภิเษก รามคำแหง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
3 - 49 179 ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ท่าเรือพระราม 7
3 - 50 195 คลองเตย สถานีรถไฟฟ้าตลาดพลู วิ่งบนถนนสุขสวัสดิ์
3 - 51 205 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
3 - 52 เส้นทางใหม่ พระราม 3 หัวลำโพง บจก.ไทยสมายล์บัส
3 - 53 สถานีรถไฟฟ้าหัวหมาก เสาชิงช้า
3 - 54 ท่าน้ำภาษีเจริญ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
3 - 55 ท่าเรือคลองเตย พระราม 7
4 - 1 6 ท่าเรือพระประแดง - - บางลำพู บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เศวกฉัตร) ข้ามสะพานพระพุทธยอดฟ้า
4 - 2 15 สถานีรถไฟฟ้าตลาดพลู สยาม ขสมก. เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม

วนซ้าย : ข้ามสะพานพระปกเกล้า
วนขวา : ข้ามสะพานพระพุทธยอดฟ้า

4 - 3 17 พระประแดง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส
4 - 4 20 ป้อมพระจุลจอมเกล้า ท่าดินแดง ขสมก.
4 - 5 101 ท่าเรือพระประแดง พุทธมณฑลสาย 2
4 - 6 21 วัดคู่สร้าง มหานาค
4 - 7E 21E สุขสวัสดิ์ สาทร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร, ทางพิเศษศรีรัช
4 - 8 35 เคหะธนบุรี - - บางลำพู บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.บี.บี.ริช ประเทศไทย)
4 - 9 37 ท่าเรือพระประแดง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขสมก.
4 - 10 42 เสาชิงช้า ท่าพระ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.มหาชนยานยนต์) เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
4 - 11 43 โรงเรียนศึกษานารีวิทยา เทเวศร์ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4 - 12 68 แสมดำ บางลำพู ขสมก.
4 - 13 75 วัดพุทธบูชา หัวลำโพง บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.แกรนด์ซิตี้บัส)
4 - 14 76 แสมดำ ประตูน้ำ ขสมก.
4 - 15 82 ท่าน้ำพระประแดง บางลำพู บจก.ไทยสมายล์บัส ข้ามสะพานพระปกเกล้า
4 - 16 85 พระประแดง สถานีรถไฟธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4 - 17 88 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (บางขุนเทียน) สถานีรถไฟฟ้าตลาดพลู บจก.ไทยสมายล์บัส
4 - 18 105 สมุทรสาคร สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี ขสมก. วิ่งบนถนนพระรามที่ 2
4 - 19 108, 542 สถานีรถไฟฟ้าตลาดพลู อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
4 - 20 111 เจริญนคร ตลาดพลู ขสมก.
4 - 21 120 สมุทรสาคร แยกบ้านแขก บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.รถรุ่งโรจน์)
4 - 22E 138 พระประแดง สุขสวัสดิ์ ดินแดง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ขสมก. ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
4 - 23E 140 แสมดำ ถนนเพชรบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส
4 - 24E 141 ท่าเรือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขสมก.
4 - 25 147 เคหะธนบุรี - - บางแค บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
4 - 26 167 สถานีรถไฟฟ้าลุมพินี
4 - 27E 173 บางขุนเทียน สุขสวัสดิ์ พัฒนาการ แฮปปี้แลนด์ บจก.ไทยสมายล์บัส ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร, ทางพิเศษฉลองรัช
4 - 28 529 แสมดำ - - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
4 - 29E 529E สุขสวัสดิ์ อโศก สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร, ทางพิเศษศรีรัช
4 - 30 เส้นทางใหม่ แฟลตทุ่งครุ - - ท่าเรือสี่พระยา ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ ข้ามสะพานภูมิพล 1
4 - 31 68A, 209 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (บางขุนเทียน) สถานีรถไฟฟ้าตลาดพลู
4 - 32 เส้นทางใหม่ พระสมุทรเจดีย์ เคหะธนบุรี วิ่งบนถนนประชาอุทิศ
4 - 33E 138 (เทียบเคียง) ท่าเรือพระประแดง สุขสวัสดิ์ พหลโยธิน สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ขสมก. ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
4 - 34 เส้นทางใหม่ เคหะธนบุรี - - พระประแดง บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
4 - 35 คลองสาน เทเวศร์ ขสมก.
4 - 36 7 โรงเรียนศึกษานารีวิทยา 2 หัวลำโพง บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ต.มานิตย์การเดินรถ)
4 - 37 9 กัลปพฤกษ์ สถานีรถไฟสามเสน บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4 - 38 28 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (ถนนบรมราชชนนี) มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
4 - 39 40 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (เอกมัย)
4 - 40 56 สะพานกรุงธน บางลำพู บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ชัยกรการเดินรถ) เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
4 - 41 57 ตลิ่งชัน ธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส
4 - 42 79 บรมราชชนนี ราชประสงค์ ขสมก.
4 - 43 80 วัดศรีนวลธรรมวิมล สนามหลวง
4 - 44 80A หมู่บ้าน วปอ.11 สวนหลวงพระราม 8 บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เจริญบัส)
4 - 45 81 พุทธมณฑลสาย 5 ท่าราชวรดิฐ บจก.ไทยสมายล์บัส
4 - 46 84 วัดไร่ขิง สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี
4 - 47 89 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (ถนนบรมราชชนนี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพฯ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4 - 48 7A พุทธมณฑลสาย 2 พาหุรัด ขสมก.
4 - 49 170 บรมราชชนนี สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) บจก.ไทยสมายล์บัส
4 - 50 123 อ้อมใหญ่ ท่าราชวรดิฐ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4 - 51 124 หมู่บ้านเอื้ออาทรศาลายา สนามหลวง
4 - 52 146 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (บรมราชชนนี) ถนนเพชรเกษม บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางเดินรถวงกลม
4 - 53 149 บรมราชชนนี สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (เอกมัย)
4 - 54E 157 อ้อมใหญ่ ฉิมพลี คลองประปา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เที่ยวกลับ : ขึ้นทางพิเศษที่ด่านพหลโยธิน
4 - 55 163 สถานีรถไฟศาลายา - - สถานีรถไฟฟ้าสนามกีฬาแห่งชาติ
4 - 56 165 บรมราชชนนี สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี
4 - 57 91A (เทียบเคียง) สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (ถนนบรมราชชนนี) ทวีวัฒนา ขสมก. เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
4 - 58 เส้นทางใหม่ สามพราน เซ็นทรัล พระราม 2 ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ
4 - 59 189 สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน กระทุ่มแบน ขสมก.
4 - 60 91, 509 หมู่บ้านเศรษฐกิจ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร)
4 - 61 125, 515 ศาลายา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส
4 - 62 539 อ้อมน้อย หจก.บุญมงคลกาญจน์
4 - 63 84A, 547 หมู่บ้านเอื้ออาทรศาลายา ถนนตก บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4 - 64 556 วัดไร่ขิง อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ขสมก.
4 - 65 เส้นทางใหม่ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (ถนนบรมราชชนนี) สมุทรสาคร ยังไม่เปิดคัดเลือกผู้เดินรถ
4 - 66 เคหะธนบุรี หนองแขม เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
4 - 67 387 (เทียบเคียง) สถานีรถไฟศาลายา กระทรวงพาณิชย์ บจก.ไทยสมายล์บัส
4 - 68 เส้นทางใหม่ สวนผัก ถนนตก
4 - 69 201 (เทียบเคียง) บรมราชชนนี พระราม 9 ขสมก.
4 - 70E Y70E มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ศาลายา ตลิ่งชัน ถนนกำแพงเพชร 2 สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต อยู่ระหว่างการหาผู้เดินรถรายใหม่ ขึ้นทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร

เดิม บจก.ชัยวิเศษ แทร์นสปอท เป็นผู้ได้รับสัมปทาน แต่ต่อมาได้ยุติการเดินรถไป โดยขณะนี้ ขสมก. เข้ามาเดินรถแทนในระหว่างรอเปิดคัดเลือกผู้เดินรถรายใหม่

4 - 71E 515E ฉิมพลี คลองประปา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ยังไม่ทราบเป็นที่แน่ชัด ขึ้นทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครลงทางพิเศษศรีรัช
เที่ยวกลับ : ลงทางพิเศษที่ด่านบางบำหรุ

โดยขณะนี้ ขสมก. เข้ามาเดินรถแทนในระหว่างรอเปิดคัดเลือกผู้เดินรถ

5 - 1 เส้นทางใหม่ สนามหลวง - - ศูนย์การค้าสยาม ยังไม่ทราบเป็นที่แน่ชัด เส้นทางเดินรถเป็นวงกลม
ค่าโดยสาร คนละ 70 บาท เป็นเส้นทางเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว
5 - 2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
5 - 3 ท่าเรือสี่พระยา
A1 เส้นทางใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง หลักสี่ ลาดพร้าว สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ขสมก. ขึ้นทางยกระดับอุตราภิมุข
A2 ดินแดง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
A3 สวนลุมพินี ยังไม่ทราบเป็นที่แน่ชัด
A4 ยมราช สนามหลวง ขึ้นทางยกระดับอุตราภิมุขลงทางพิเศษศรีรัช
S1 เส้นทางใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ สุวรรณภูมิ ยมราช สนามหลวง ยังไม่ทราบเป็นที่แน่ชัด ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7ลงทางพิเศษศรีรัช
S2 554 รังสิต รามอินทรา ทับช้าง 1,
สุวรรณภูมิ
ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วิ่งบนถนนรามอินทรา, ผ่านหน้าท่าอากาศยานดอนเมือง
ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9, ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7
S3 559 ธัญบุรี,
สวนสยาม
บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ราชา โร้ด) วิ่งบนถนนรังสิต-นครนายก, ถนนสวนสยาม, ถนนเสรีไทย
ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9, ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7
S4 151, 549 มีนบุรี - -
S5 550 แฮปปี้แลนด์
S6 555 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) พระราม 9 สุวรรณภูมิ ขึ้นทางพิเศษศรีรัชลงทางหลวงพิเศษหมายเลข 7
S7 558 ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ บางนา สุขสวัสดิ์ เคหะธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) ขึ้นทางพิเศษเฉลิมมหานคร
S8 201, 551, 556 สุวรรณภูมิ พระราม 9 สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (ถนนบรมราชชนนี) ยังไม่ทราบเป็นที่แน่ชัด ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ลงทางพิเศษศรีรัช

รถโดยสารที่ให้บริการ

[แก้]

รถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตามข้อมูลการเดินรถ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 มีจำนวนทั้งสิ้น 7,525 คัน แบ่งเป็นรถขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำนวน 3,509 คัน และรถร่วมบริการ 4,016 คัน[19] โดยมีรายละเอียดของรถที่ใช้งานในปัจจุบัน และในอดีตดังต่อไปนี้

รถโดยสารที่ให้บริการในปัจจุบัน

[แก้]

รถโดยสารที่ให้บริการในปัจจุบันขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีครีม-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO AK176 2534 1, 3, 4, 5 เขตฯ 1 59 (เดิม) / 59 (1-8) / 114 (1-21) / 356 (บางใหญ่) / 510 (1-19) / 1-7E (59E)

เขตฯ 3 23(E) (3-4E) / 23 (3-5) / 25(E) (3-7E) / 45 (3-9E) / 129 (1-14E) / 145 (3-18) / 206 (3-30) / 3-19E (145E) / 3-31 (544)

เขตฯ 4 47 (3-41) / 54 (2-44) / 62 (3-42) / 72 (3-46) / 179 (3-49) / 180 (3-20E) / 205 (3-51)

เขตฯ 5 15 (4-2) / 21 (4-6) / 37 (4-9) / 68 (4-12) / 68 (มหาชัย) / 68 (มจธ.) / 105 (4-18) / 111 (4-20) / 195 (3-50) / 4-35

494 + 3*

(ตัดบัญชี 10 คัน)

ข-40001-40540 34
2535 เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ HINO รุ่น AK176 ประจำการอยู่ 3 (รถสำรองวิ่ง) 5-40541

5-40542

4-40543

2551 (ยกสถานะจากรถสำรองวิ่ง) 5 เขตฯ 5 68 (4-12) 1 5-40544
2565 (ปรับปรุงสภาพ) เขตฯ 5 21 (4-6) / 105 (4-18) / 4-35 (รถปรับปรุงสภาพโดย HINO) 3 5-40126

5-40128

5-40131

2566 (ปรับปรุงสภาพ) เขตฯ 5 4-35 (รถปรับปรุงสภาพโดย HINO) 1 5-40496
2567 (ปรับปรุงสภาพ) เขตฯ 5 37 (4-9) (รถปรับปรุงสภาพโดย HINO) 2 5-40129

5-40167

ISUZU MT111QB 2534 1, 6 ,7, 8 เขตฯ 1 95 (1-10) / 95ก (1-11) / 95(ข) (1-29) / 114 (1-21) / 185 (1-16) / 356 (เขียว) / 356 (แดง) / 543ก (1-34)

เขตฯ 6 7ก (4-48) / 53 (2-9) / 66 (2-12) / 80 (4-43) / 91ก (เดิม) / 101 (4-5) / 189 (4-59) / 556 (4-64) / 4-57 (91ก) / 4-69 (201)

เขตฯ 7 24 (2-39) / 32 (2-5) / 50 (2-7) / 63 (เดิม) / 63 (2-10E) / 64 (เดิม)** / 70 (2-14) / 134 (2-20) / 166 (เดิม) / 166 (เสริม) / 505 (2-24E) / 2-2 (16) / 2-28 (177) / 2-29 / 2-32E (70E) / 2-33 (134) / 2-36

เขตฯ 8 3 (2-37) / 5 / 49 (2-43) / 67 (3-43) / 204 (2-52)

540

(ตัดบัญชี 11 คัน)

ข-50001-50540
Mitsubishi Fuso RP118 2, 4, 8 เขตฯ 2 26 (1-36) / 26(E) (1-35E) / 60 (1-38) / 93 (1-40) / 96 (1-42) / 96(ก) (1-43) / 131 (1-46) / 501 (1-53) / 519 (1-57) / 520 (1-68) / 3-21 (207) / 1-50 (168) / 1-80E (60E)

เขตฯ 4 13 (3-38) / 54 (2-44) / 107 (1-12E) / 136 (3-47) / 179 (3-49) / 180 (3-20E)

เขตฯ 8 36ก (2-41) / 73(ก) (2-46) / 117 (2-47) / 137 (3-48) / 156 (2-49) / 178 (รถวน) / 178 (2-50) / 191 (2-51) / 2-53

508

(ตัดบัญชี 9 คัน)

ข-80001-80510
2559 (ปรับปรุงสภาพ) 8 เขตฯ 8 178 (2-50) (รถปรับปรุงสภาพโดย บจก.ไทยเจริญฯ) 1 8-80040

หมายเหตุ + ตัวเลข* หมายถึงจำนวนรถสำรองวิ่ง (รถสแปร์) ในรุ่นนั้น ๆ

หมายเลขสาย** หมายถึง ให้บริการในสถานะช่วยวิ่งจากเส้นทางอื่น

เก็บค่าโดยสาร ราคา 8 บาท ตลอดสาย (เฉพาะสาย 3-21 (207) เก็บค่าโดยสาร ราคา 10 บาท ตลอดสาย)

HINO AK176 สาย 34/1-40041, 1-40042 และสาย 95ก/1-40003, 1-40023, 1-40367 ถูกปลดระวางเนื่องจากเปลี่ยนเครื่องยนต์เป็นเครื่องยนต์ที่รองรับก๊าซ NGV แต่ประสบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้อง สาย 23/3-40184 และสาย 72/4-40466 ถูกปลดระวางเนื่องจากถูกเผาในเหตุการณ์วันสงกรานต์ พ.ศ. 2552 สาย 59/1-40028, 1-40090 ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงในปี พ.ศ. 2542 ส่วนสาย 59/1-40077 ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดเหตุเพลิงไหม้ในปี พ.ศ. 2551 โดยหลังจากเกิดเหตุดังกล่าวจึงมีการนำรถสำรองวิ่ง หมายเลขข้างรถ 1-40544 มาประจำการทดแทน 1-40077 ที่ปลดระวางไป (ปัจจุบันรถคันนี้ให้บริการในสาย 68), ISUZU MT111QB สาย 95ก/1-50015, 1-50072, 1-50154, 1-50158, 1-50433, 1-50502 ถูกปลดระวางเนื่องจากเปลี่ยนเครื่องยนต์เป็นเครื่องยนต์ที่รองรับก๊าซ NGV แต่ประสบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้อง สาย 111/5-50377 ถูกปลดระวางเนื่องจากเปลี่ยนเครื่องยนต์เป็นเครื่องยนต์ที่รองรับก๊าซ NGV และโอนการซ่อมบำรุงเป็นช่างองค์การภายหลังสิ้นสุดการทดลอง สาย 3/1-50064 เกิดเหตุเพลิงไหม้ในปี พ.ศ. 2539 ต่อมาองค์การได้เข้ามาซ่อมเองก่อนที่จะปลดระวางและขายรถให้เอกชนไปในปี พ.ศ. 2542 สาย 129/1-50009 ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงในปี พ.ศ. 2545 สาย 80ก/6-50128 ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงในปี พ.ศ. 2551 สาย 67/7-50483 ถูกปลดระวางเนื่องจากถูกเผาในเหตุการณ์วันสงกรานต์ พ.ศ. 2552, Mitsubishi Fuso RP118 สาย 13/4-80373, สาย 60/2-80042, สาย 71/2-80212 และสาย 95ก/1-80001, 1-80229, 1-80440 ถูกปลดระวางเนื่องจากเปลี่ยนเครื่องยนต์เป็นเครื่องยนต์ที่รองรับก๊าซ NGV แต่ประสบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้อง สาย 26/2-80067 ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง สาย 60/2-80176, 2-80215 ถูกปลดระวางเนื่องจากถูกเผาในเหตุการณ์วันสงกรานต์ พ.ศ. 2552


รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
ISUZU CQA650 A/T 2538 1, 7 เขตฯ 1 543 (1-25) / 543ก (1-34)

เขตฯ 7 134 (2-20) / 166 (เดิม) / 166 (2-21E) / 166 (2-31E) / 516 (2-25)

100 ข-3001-3100 46
HINO HU3KSKL 2, 4 เขตฯ 2 26 (1-36) / 501 (1-53) / 519 (1-57)

เขตฯ 4 13 (3-38) / 22 (3-40) / 62 (3-42) / 72 (3-46)

61 + 1* [20] (ตัดบัญชี 1 คัน) ข-4001-4080 47
2538 (เข้าประจำการ), 2567 (ปรับปรุงสภาพ) เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ HINO รุ่น HU3KSKL ประจำการอยู่ (ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็นในพื้นที่เขตการเดินรถที่ 2)

(รถปรับปรุงสภาพโดยอู่ตากสิน)

1 (รถสำรองวิ่ง) 2-4081
2554 (ปรับปรุงสภาพ) 4 เขตฯ 4 13 (3-38)

(ดัดแปลงสภาพเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุ)

1 4-4067
2565 (ปรับปรุงสภาพ) 2, 4 เขตฯ 2 26 (1-36) / 519 (1-57)

เขตฯ 4 62 (3-42)

(รถปรับปรุงสภาพโดย HINO)

3 2-4021

2-4045

4-4058

2566 (ปรับปรุงสภาพ) 2 เขตฯ 2 26 (1-36) / 519 (1-57)

(รถปรับปรุงสภาพโดยอู่ตากสิน)

4 2-40XX
2567 (ปรับปรุงสภาพ) เขตฯ 2 26 (1-36) / 501 (1-53) / 519 (1-57)

(รถปรับปรุงสภาพโดยอู่ตากสิน)

10

หมายเหตุ + ตัวเลข* หมายถึงจำนวนรถสำรองวิ่ง (รถสแปร์) ในรุ่นนั้น ๆ

เก็บค่าโดยสารตามระยะทาง ราคา 12 14 16 18 20 บาท

HINO HU3KSKL สาย 501/2-4067 เคยเกิดอุบัติเหตุชนท้ายรถครีมแดง HINO AK176 สาย 29 (1-40104) เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2554 โดยได้มีการนำอะไหล่รถยูโรทูมาใส่ทดแทนและนำกลับมาให้บริการตามปกติ (ปัจุบันรถคันนี้ให้บริการอยู่ในสาย 13 (3-38))[21] ,สาย 77/4-4072 ปลดระวางเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2558 เนื่องจากสภาพรถเสียหายหนักมาก หากซ่อมแล้วเอามาวิ่งใหม่ จะไม่คุ้มค่ากับการลงทุนซ่อมรถ


รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
BONLUCK JXK6120L-NGV-01 2561 1 เขตฯ 1 510 (1-19) / 510E (1-20E) / 2-37 (3)* / A1 / A2 / A3 / A4 49 1-70268-70277

1-70279-70297

1-70303-70322

32 Handicapped/disabled access (ถอดที่นั่งออกบางส่วนเพื่อดัดแปลงเป็นคอกวางกระเป๋า)
1, 2, 3, 5 เขตฯ 1 510 (1-19) / 510E (1-20E) / 522 (1-22E) / 2-37 (3)*

เขตฯ 2 26 (1-36) / 26E (1-35E) / 60 (1-38) / 514 (1-54) / 514E (1-55E) / 1-50 (168)

เขตฯ 3 23 (3-5) / 23E (3-4E) / 25E (3-7E) / 102 (3-12E) / 129 (1-14E) / 142 (3-17E) / 145 (3-18) / 206 (3-30) / 511 (3-22E) / 536 (3-24E) / S1

เขตฯ 5 20 (4-4) / 21 (4-6) / 21E (4-7E) / 37 (4-9) / 76 (4-14) / 105 (4-18) / 138 (4-22E) / 141 (4-24E)

440 (ตัดบัญชี 3 คัน) ข-70001-70489 35 Handicapped/disabled access

หมายเหตุ หมายเลขสาย* หมายถึง ให้บริการในสถานะช่วยวิ่งจากเส้นทางอื่น

เก็บค่าโดยสารตามระยะทาง ราคา 15 20 25 บาท

BONLUCK JXK6120L-NGV-01 สาย 522/1-70370 ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดเพลิงไหม้ขณะวิ่งอยู่บน ถ.งามวงศ์วาน ในคืนวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 สภาพรถเสียหายทั้งหมด[22] สาย 145/3-70421 และ 3-70481 ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดเพลิงไหม้ขณะกำลังจอดภายในอู่แพรกษาบ่อดินในคืนวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2563[23] สภาพรถเสียหายทั้งหมดโดยเฉพาะ 3-70481 เสียหายทั้งคัน เดิมมีแผนที่จะนำมาซ่อมใหม่แต่หากซ่อมแล้วเอามาวิ่งใหม่ จะไม่คุ้มค่ากับการลงทุนซ่อมรถ

ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2567 รถทั้งหมด เคยถูกสั่งตัดจอดชั่วคราว เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับบริษัทรับเหมาซ่อมบำรุงรายเดิม โดยในปัจจุบันได้บริษัทรับเหมาซ่อมบำรุงรายใหม่แล้ว และจะทยอยนำรถกลับเข้าสู่เส้นทางตั้งแต่วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2567 เป็นต้นไป


รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO RU1JSSL 2541 (ชุดที่ 1), 2564 (ปรับปรุงสภาพ) 1, 2, 3, 4, 5 เขตฯ 1 59 (1-8) / 522 (1-22E)

เขตฯ 2 26 (1-36) / 93 (1-40) / 514 (1-54) / 519 (1-57) / 1-50 (168)

เขตฯ 3 23(E) (3-4E) / 25(E) (3-7E) / 102 (3-12E) / 129 (1-14E) / 142 (3-17E) / 145 (3-18) / 206 (3-30) / 511 (3-22E) / 536 (3-24E) / S1

เขตฯ 4 36 (2-40) / 205 (เดิม)

เขตฯ 5 15 (4-2) / 20 (4-4) / 20 (เพิ่มช่วง) / 21E (4-7E) / 68 (4-12) / 76 (4-14) / 138 (4-22E) / 4-33E (138)

199 + 2*

(ตัดบัญชี 2 คัน)

ข-44001-44200 33 (ถอดที่นั่งออกบางส่วนเพื่อเพิ่มช่องทางออกสำหรับประตูฉุกเฉิน)
2545 (ชุดที่ 2), 2564 (ปรับปรุงสภาพ) เขตฯ 1 59 (1-8) / 95ก (1-11) / 114 (1-21) / 522 (1-22E) / 555

เขตฯ 2 26 (1-36) / 514 (1-54) / 514(E) (1-55E)

เขตฯ 3 102 (3-12E) / 129 (1-14E) / 142 (3-17E) / 145 (3-18) / 206 (3-30) / 511 (3-22E) / 536 (3-24E)

เขตฯ 4 205 (เดิม)

เขตฯ 5 15 (4-2) / 68 (4-12) / 76 (4-14) / 138 (4-22E) / 4-33E (138)

124 + 1* ข-45001-45125
2541 1, 2, 3, 4, 5 เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ HINO รุ่น RU1JSSL ประจำการอยู่ (ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็นในพื้นที่เขตการเดินรถที่ 5) 1 (รถสำรองวิ่ง) 5-44201
2545 เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ HINO รุ่น RU1JSSL ประจำการอยู่ (ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็นในพื้นที่เขตการเดินรถที่ 1) 1-45126
2561 (ปรับปรุงสภาพ) เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ HINO รุ่น RU1JSSL ประจำการอยู่ (ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็นในพื้นที่เขตการเดินรถที่ 3) (รถปรับปรุงสภาพโดย HINO) 3-44202
2563 (ปรับปรุงสภาพ) 1 เขตฯ 1 95ก (1-11) (รถปรับปรุงสภาพโดย HINO) 1 1-45090
2566 (ปรับปรุงสภาพ) 5 เขตฯ 5 76 (4-14) (รถปรับปรุงสภาพโดยอู่ตากสิน) 5-44065
ISUZU LV223S 2541 1, 6, 7, 8 เขตฯ 1 95 (1-10) / 543 (1-25)

เขตฯ 6 79 (4-42) / 80 (4-43) / 91 / 509 (4-60) / 556 (4-64) / 4-69 (201)

เขตฯ 7 24 (2-39) / 32 (2-5) / 50 (2-7) / 63 (เดิม) / 70 (2-14) / 505 (2-24E) / 2-2 (16) / 2-36

เขตฯ 8 3 (2-37) / 49 (2-43) / 67 (3-43) / 204 (2-52)

200 ข-55001-55200 35
LV423R 2545 เขตฯ 1 522 (1-22E)

เขตฯ 6 66 (2-12) / 79 (4-42) / 80 (4-43) / 91 / 509 (4-60) / 515(E) (4-71E) / 556 (4-64) / 4-69 (201) / 4-70E (Y70E)

เขตฯ 7 24 (2-39) / 505 (2-24E)

เขตฯ 8 3 (2-37) / 204 (2-52)

125

(ตัดบัญชี 2 คัน)

ข-56001-56125
DAEWOO BH115H 8 เขตฯ 8 73(ก) (2-46) / 137 (3-48) 16 ข-67001-67060
BH115 เขตฯ 8 73 (2-45) / 73(ก) (2-46) / 137 (3-48) 35 ข-67061-67250

หมายเหตุ + ตัวเลข* หมายถึงจำนวนรถสำรองวิ่ง (รถสแปร์) ในรุ่นนั้น ๆ

หมายเลขสาย** หมายถึง ให้บริการในสถานะช่วยวิ่งจากเส้นทางอื่น

เก็บค่าโดยสารตามระยะทาง ราคา 13 15 17 19 21 23 25 บาท (เฉพาะสาย 4-70E (Y70E) เก็บค่าโดยสารตามระยะทาง ราคา 14 16 18 20 22 24 26 บาท)

รถโดยสารยูโรทูยี่ห้อ HINO RU1JSSL ได้รับการเปลี่ยนเครื่องยนต์และเชื้อเพลิงให้เป็นแก๊สธรรมชาติ (NGV) โดยได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน เมื่อปี พ.ศ. 2556 และได้รับการซ่อมแซมตัวถังพร้อมทำสีใหม่ในช่วงระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2564, HINO RU1JSSL สาย 23/3-44009 และสาย 511/3-44043 ถูกปลดระวางเนื่องจากถูกเผาในเหตุการณ์วันสงกรานต์ พ.ศ. 2552 ,รถสำรองวิ่ง (รถสแปร์) หมายเลขข้างรถ 3-44202 (เลขในปัจจุบัน) ได้รับการปรับปรุงสภาพใหม่ตามโครงการปรับปรุงสภาพรถโดยสารยูโรทูยี่ห้อ HINO จำนวน 323 คัน ทั้งนี้ก่อนปรับปรุงสภาพรถคันดังกล่าวถูกรถบรรทุกชนท้ายขณะนำไปวิ่งในเส้นทางสาย 510 ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2559[24] ,สาย 39/1-45090 ได้รับการปรับปรุงสภาพใหม่ตามโครงการปรับปรุงสภาพรถโดยสารยูโรทูยี่ห้อ HINO จำนวน 323 คัน ทั้งนี้ก่อนปรับปรุงสภาพรถคันดังกล่าวถูกเพลิงไหม้เสียหายในช่วงต้นปี พ.ศ. 2561[25] ,ISUZU LV423R สาย 79/6-56032 ถูกปลดระวางเนื่องจากเปลี่ยนเครื่องยนต์เป็นเครื่องยนต์ที่รองรับก๊าซ NGV แต่ประสบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้อง จึงปลดระวาง ส่วน ISUZU LV423R สาย 80/6-56060 ถูกปลดระวางเนื่องจากประสบอุบัติเหตุชนเสาไฟฟ้าเมื่อ พ.ศ. 2557 ส่วน DAEWOO BH115 และ BH115H สาย 59/1-67045 ถูกปลดระวางเนื่องจากถูกเผาในเหตุการณ์วันสงกรานต์ พ.ศ. 2552 สาย 520/1-67064, 1-67073 ถูกปลดระวางเนื่องจากเปลี่ยนเครื่องยนต์เป็นเครื่องยนต์ที่รองรับก๊าซ NGV แต่ประสบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้อง สาย 20/5-67170 ถูกปลดระวางเนื่องจากถูกตู้คอนเทนเนอร์หล่นทับ จากถนนวงแหวนรอบนอกด้านใต้ ในอู่ราชประชา ส่วนที่เหลืออีก 195 คัน ปลดระวางเนื่องจากปัญหาการซ่อมบำรุง


รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีเขียว-ขาว (รถเก่าปรับปรุงสภาพ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
DAEWOO BH115 2559 (ปรับปรุงสภาพ) 8 เขตฯ 8 73 (2-45) (รถปรับปรุงสภาพโดย สจล.) 1 8-67132 35

เก็บค่าโดยสารตามระยะทาง ราคา 13 15 17 19 21 23 25 บาท


รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีฟ้า (ไฮบริด)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO HU2ASKP-VJT 2563 1 เขตฯ 1 A1 1 1-46001 35 Handicapped/disabled access

เก็บค่าโดยสารตามระยะทาง ราคา 15 บาท (ช่วงห้าแยกลาดพร้าว - หมอชิต 2) / 30 บาท (เข้าสนามบิน)

รถโดยสารที่ให้บริการในปัจจุบันของกลุ่มบริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด และบริษัทในเครือ

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
NEX-MINEBUS XML6805JEV บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 2566
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-26 (167)
  • สาขาตลิ่งชัน 2-35 (110)
  • สาขาบึงกุ่ม 1-13 (126) / 1-44 (113) / 1-45 (115)
  • สาขาปากเกร็ด 1-6 (52) / 1-15 (150) / 2-8 (51)
  • สาขาศาลายา 4-51 (124) / 4-63 (547)**
16 (ส่วนอีก 11 คันตัดจอด) 22 Handicapped/disabled access
บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด 2567
  • สาขาท่าอิฐ 2-3 (18)*
  • สาขาหนองจอก 1-58 (525)* / 1-59 (526)* / 1-71 (เสริม)*
  • สาขาบึงกุ่ม 1-39 (71)* / 1-52 (197)*
  • สาขาปากน้ำ 3-1 (2)*
  • สาขารังสิต 39 (เดิม)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 1 (เดิม)*
  • สาขาไร่ขิง 4-46 (84)*
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 2-15 (97)*
  • สาขาบางพูน 34 (เดิม)* / 34 (เสริม)*

(ข้างรถยังเป็นบริษัท สมาร์ทบัส จำกัด)

33

หมายเหตุ หมายเลขสาย* หมายถึง ให้บริการในสถานะช่วยวิ่งจากเส้นทางอื่น

หมายเลขสาย** หมายถึง งดให้บริการชั่วคราว

เก็บค่าโดยสาร ราคา 10 บาท ตลอดสาย

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีน้ำ​เงิน (ใช้พลังงาน​ไฟฟ้า​)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
MINEBUS NJL6106BEV บริษัท แกรนด์ซิตี้บัส จำกัด 2566
  • สาขาธารทิพย์ 4-13 (75)
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-45 (77)*
12 31 Handicapped/disabled access
บริษัท เจริญบัส จำกัด 2564
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-45 (77)* / 4-1 (6)*
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-44 (80A)**
11 (ส่วนอีก 2 คันตัดจอด)
บริษัท เศวกฉัตร​ จำกัด
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาบางพูน 1-2E (34E)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 4-1 (6)
15
บริษัท บี.บี.ริช (ประเทศไทย) จำกัด
  • สาขาบางพลี 3-26E (537)*
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-45 (77)* / 4-1 (6)* / 4-8 (35)**
14 (ส่วนอีก 1 คันตัดจอด)
บริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาบางพูน 34 (เดิม)* / 1-2E (34E)* / 1-5 (39)**
  • สาขาบางพลี 3-15 (133)* / 3-26E (537)*
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 4-1 (6)*
17
บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด สาขาบางพลี 3-15 (133) 15 (ส่วนอีก 1 คันตัดจอด)
บริษัท อำไพรุ่งโรจน์ จำกัด 2565
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาเอกชัย 4-36 (7)* / 4-21 (120)**
5
บริษัท ต.มานิตย์การเดินรถ จำกัด
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาบางพลี 3-15 (133)*
  • สาขาเอกชัย 4-36 (7)
19
NEX-MINEBUS XML6115JEV
  • สาขาเคหะธนบุรี S7 (558)*
  • สาขาเอกชัย 4-36 (7)
8 (ส่วนอีก 3 คันตัดจอด)
2567
  • สาขาปากน้ำ 3-1 (2)*
  • สาขาบางพลี 3-14 (132)*
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 2-15 (97)*
  • สาขาศาลายา 4-55 (163)*
  • สาขาเอกชัย 4-36 (7)**
7
บริษัท เอ็กซา โลจิสติก จำกัด 2565
  • สาขาบางพูน 1-5 (39)*
  • สาขา ม.รามฯ 2 3-3 (11) / 3-11 (48)* / 3-34 (1013) / S5 (550)*
17 (ส่วนอีก 2 คันตัดจอด)
บริษัท ราชาโร้ด จำกัด
  • สาขาหนองจอก S4 (549)
  • สาขาบึงกุ่ม 1-52 (197)*
  • สาขาปากเกร็ด 1-15 (150)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-52* / 4-15 (82)*
  • สาขา ม.รามฯ 2 3-11 (48)* / 3-34 (1013)* / S5 (550) / S6 (555)**
  • สาขารังสิต S3 (559)
20 (ส่วนอีก 6 คันตัดจอด)
2566
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาหนองจอก 1-59 (526)* / 1-61*
  • สาขาบางพลี 3-14 (132)*
  • สาขา ม.รามฯ 2 3-11 (48)* / S5 (550)** / S6 (555)
  • สาขารังสิต 39 (เดิม)* / 1-4 (39A)* / 1-9E* / S3 (559)**
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)*
15 (ส่วนอีก 5 คันตัดจอด)
บริษัท เจริญบัส จำกัด
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-8 (35)*
  • สาขาตลิ่งชัน 4-53 (149)*
  • สาขาหนองจอก 1-47 (143)* / 1-56 (517)* / 1-59 (526)*
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-44 (80A)
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)*
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 2-11 (64)* / 2-22 (175)*
11 (ส่วนอีก 1 คันตัดจอด)
บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด 2565 (ชุดที่ 1)
  • สาขากัลปพฤกษ์ 4-17 (88)
  • สาขาคลอง 6 1-17 (187)* / 1-24E (538)*
  • สาขาหนองจอก 1-61**
  • สาขาท่าอิฐ 2-13 (69)*
  • สาขาธารทิพย์ 4-13 (75)*
  • สาขาบางพลี 3-15 (133)* / 3-26E (537)*
  • สาขาบางพูน 1-2E (34E) / 1-3 (34) / 34 (เดิม)*
  • สาขาบึงกุ่ม 1-39 (71)*
  • สาขาปากน้ำ 3-2E (2E)* / 3-25E (552)**
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 1 (เดิม)* / 3-44 (74)* / 3-45 (77)* / 4-3 (17)** / 4-15 (82)**
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)** / 2-42 (44)** / 3-53*
  • สาขาแสมดำ 4-23E (140) / 4-27E (173) / 4-34**
  • สาขาไร่ขิง 4-45 (81) / 4-61 (515)*
  • สาขาเอกชัย 4-36 (7)*
162
2565 (ชุดที่ 2)
  • สาขากัลปพฤกษ์ 3-36 (4) / 3-54
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-8 (35)* / 4-25 (147)* / S7 (558)*
  • สาขาคลอง 6 1-17 (187)* / 1-24E (538)*
  • สาขาตลิ่งชัน 4-53 (149) / 4-56 (165) / 4-68
  • สาขาหนองจอก 1-47 (143) / 1-49 (152) / 1-56 (517) / 517 (เดิม)* / 1-58 (525) / 1-59 (526) / 1-62** / 1-71 (143A) / 1-73 / 1-77 (26A)
  • สาขาบางพลี 3-14 (132)
  • สาขาบางพูน 34 (เดิม)* / 34E (1-2E)* / 1-5 (39)*
  • สาขาปากเกร็ด 2-8 (51)* / 2-16 (104)*
  • สาขาปากน้ำ 3-1 (2) / 3-2E (2E) / 3-23E (513)
  • สาขารังสิต 39 (เดิม)* / 1-4 (39A) / 1-18E (504)* / S2 (554)*
  • สาขาบึงกุ่ม 1-37 (27) / 1-39 (71) / 1-41 (92) / 1-45 (115)* / 1-52 (197) / 1-63 / 1-64 / 1-76 (168A)
  • สาขาท่าอิฐ 2-18E (69E) / 2-27 (210)*
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 2-11 (64)** / 2-15 (97)
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-49 (170) / 4-52 (146)
  • สาขาพรานนก 4-41 (57)
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-35 (1) / 3-39 (14) / 3-44 (74)* / 3-52** / 4-15 (82)
  • สาขาศาลายา 4-55 (163)
  • สาขาแสมดำ 4-23E (140) / 4-28 (529) / 4-29E (529E)
  • สาขาไร่ขิง 4-45 (81) / 4-61 (515)
474
2565 (ชุดที่ 3)
  • สาขากัลปพฤกษ์ 1-32E
  • สาขาคลอง 6 1-31 (523)
  • สาขาตลิ่งชัน 3-37 (12) / 3-55
  • สาขาหนองจอก 1-56 (517)
  • สาขารังสิต 1-4 (39A)* / 1-5 (39)* / 1-9E** / 1-18E (504)* / S3 (559)*
  • สาขาบางพลี 3-14 (132)
  • สาขาบางพูน 1-3 (34)
  • สาขาปากเกร็ด 2-8 (51)*
  • สาขาปากน้ำ 3-27 (207A) / 3-32 (545A)
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-44 (74)** / 3-45 (77)
  • สาขารามคำแหง 74 2-34 (55)
  • สาขาท่าอิฐ 2-3 (18) / 2-27 (210)
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 1-33 (196) / 2-11 (64)* / 2-15 (97) / 2-17 (112) / 2-22 (175) / 4-67 (387)
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-54E (157)
  • สาขาไร่ขิง 4-46 (84)
131
2566 (ชุดที่ 1)
  • สาขาบางพูน 1-3 (34)
  • สาขาบึงกุ่ม 1-39 (71)
  • สาขาปากน้ำ 3-25E (552)
  • สาขา ม.รามฯ 2 3-27 (207A)
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)
  • สาขาแสมดำ 4-23E (140) / 4-34
  • สาขาไร่ขิง 4-45 (81)
56
2566 (ชุดที่ 2)
  • สาขารังสิต 1-9E
  • สาขาบางพูน 34 (เดิม)* / 1-3 (34)**
  • สาขาบึงกุ่ม 1-41 (92)
  • สาขาปากน้ำ 3-1 (2)
  • สาขาหนองจอก 517 (เดิม)* / 1-58 (525) / 1-59 (526) / 1-61 / 1-73
  • สาขาท่าอิฐ 2-3 (18)
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-52 (146) / 4-54E (157)
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-45 (77) / 4-3 (17)*
  • สาขาพรานนก 4-41 (57)*
  • สาขาไร่ขิง 4-45 (81) / 4-46 (84)
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 2-11 (64) / 2-15 (97)
XX
2567
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-8 (35)* / 4-25 (147)*
  • สาขาตลิ่งชัน 3-37 (12)**
  • สาขาท่าอิฐ 2-3 (18)
  • สาขาหนองจอก 1-56 (517)* / 1-61*
  • สาขาบางพลี 3-14 (132)* / 3-26E (537)**
  • สาขาบางพูน 34 (เดิม)*
  • สาขาบึงกุ่ม 1-37 (27)* / 1-39 (71)
  • สาขาปากเกร็ด 1-6 (52)* / 1-15 (150)*
  • สาขาปากน้ำ 3-1 (2)*
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-54E (157)*
  • สาขารังสิต 1-1 (29)*
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8) / 2-42 (44)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 4-3 (17)* / 4-15 (82)**
  • สาขาไร่ขิง 4-46 (84) / 4-61 (515)
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 2-15 (97)
  • สาขาศาลายา 4-55 (163)*
  • สาขาสายใต้ใหม่ 4-39 (40)*
  • สาขาแสมดำ 4-23E (140) / 4-34*
  • สาขาเอกชัย 4-36 (7)*
107
บริษัท แกรนด์ซิตี้บัส จำกัด
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาธารทิพย์ 4-13 (75)**
  • สาขาปากน้ำ 3-1 (2)*
  • สาขารังสิต S2 (554)*
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 2-15 (97)*
  • สาขาสายใต้ใหม่ 4-39 (40)*
  • สาขาแสมดำ 4-28 (529)*
  • สาขาเอกชัย 4-36 (7)*
11
บริษัท ธรรมนัส ทรานสปอร์ต จำกัด 2566 (รถชุดที่ 1)
  • สาขาคลอง 6 1-17 (187)** / 1-31 (523)*
  • สาขาหนองจอก 1-58 (525)* / S4 (549)*
  • สาขาบางพูน 1-5 (39)*
  • สาขาบึงกุ่ม 1-37 (27)*
  • สาขาปากเกร็ด 1-15 (150)*
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-52 (146)*
  • สาขารังสิต 1-18E (504)* / S3 (559)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-39 (14)*
19 (ส่วนอีก 1 คันตัดจอด)
2566 (รถชุดที่ 2)
  • สาขาคลอง 6 1-17 (187)
  • สาขาปากน้ำ 3-1 (2)*
  • สาขาปากเกร็ด 1-6 (52)* / 2-8 (51)*
  • สาขารังสิต 1-1 (29)* / 1-4 (39A)*
14 (ส่วนอีก 6 คันตัดจอด)
บริษัท ชัยกรการเดินรถ จำกัด 2566
  • สาขากัลปพฤกษ์ 3-54*
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-49 (170)*
  • สาขาพรานนก 4-40 (56) / 4-41 (57)*
  • สาขาศาลายา 4-63 (547)*
14 (ส่วนอีก 2 คันตัดจอด)
2567
  • สาขาปากน้ำ 3-2E (2E)*
  • สาขาพรานนก 4-40 (56)**
1
บริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด 2566
  • สาขาบางพูน 1-5 (39)
  • สาขา ม.รามฯ 2 3-34 (1013)*
  • สาขาหนองจอก 1-49 (152)*
12 (ส่วนอีก 1 คันตัดจอด)
บริษัท เศวกฉัตร จำกัด
  • สาขาธารทิพย์ 4-13 (75)*
  • สาขาบึงกุ่ม 1-37 (27)* / 1-64*
  • สาขาบางพูน 34 (เดิม)*
  • สาขาบางพลี 3-14 (132)*
  • สาขาปากเกร็ด 2-8 (51)* / 2-16 (104)*
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-39 (14)* / 4-1 (6)** / 4-15 (82)*
  • สาขาหนองจอก 1-56 (517)* / 1-58 (525)* / 1-59 (526)* / 1-71 (143A)*
  • สาขาสายใต้ใหม่ 2-4 (30)*
26 (ส่วนอีก 4 คันยังไม่พร้อมให้บริการ)
บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด
  • สาขากัลปพฤกษ์ 3-36 (4)* / 3-54* / 4-17 (88)*
  • สาขาตลิ่งชัน 3-37 (12)*
  • สาขาธารทิพย์ 4-13 (75)*
  • สาขาบางพลี 3-15 (133)**
  • สาขาบึงกุ่ม 1-37 (27)* / 1-41 (92)*
  • สาขาปากน้ำ 3-6 (25)*
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)*
  • สาขาหนองจอก 1-58 (525)*
13 (ส่วนอีก 5 คันยังไม่พร้อมให้บริการ)
บริษัท บี.บี.ริช (ประเทศไทย) จำกัด
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-8 (35)**
  • สาขาธารทิพย์ 4-13 (75)*
  • สาขาบางพูน 1-5 (39)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 3-39 (14)* / 3-52* / 4-15 (82)*
  • สาขาไร่ขิง 4-45 (81)*
8 (ส่วนอีก 1 คันยังไม่พร้อมให้บริการ)
บริษัท มหาชนยานยนต์ จำกัด
  • สาขากัลปพฤกษ์ 3-36 (4)* / 4-10 (42) / 4-17 (88)* / 4-19 (108)*
  • สาขาท่าอิฐ 2-27 (210)*
  • สาขาบางพลี 3-14 (132)*
  • สาขาบึงกุ่ม 1-37 (27)*
  • สาขาปากน้ำ 3-1 (2)*
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-44 (80A)* / 4-49 (170)* / 4-54E (157)*
  • สาขาศาลายา 4-51 (124)* / 4-63 (547)*
  • สาขาสายใต้ใหม่ 4-38 (28)*
  • สาขาหนองจอก 1-58 (525)* / 1-62*
26 (ส่วนอีก 4 คันตัดจอด)
บริษัท อำไพรุ่งโรจน์ จำกัด
  • สาขากัลปพฤกษ์ 3-54*
  • สาขาท่าอิฐ 2-3 (18)*
  • สาขาบางพลี 3-14 (132)*
  • สาขาปากน้ำ 3-1 (2)*
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 2-22 (175)*
  • สาขาศาลายา 4-51 (124)*
  • สาขาหนองจอก 1-56 (517)*
  • สาขาเอกชัย 4-21 (120)
19 (ส่วนอีก 4 คันตัดจอด)
บริษัท รวีโชค จำกัด
  • สาขาหนองจอก 517 (เดิม)* / 1-58 (525)* / 1-77 (26A)*
  • สาขาบึงกุ่ม 1-39 (71)* / 2-48 (122)
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)*
10
บริษัท สาย 25 ร่วมใจ จำกัด
  • สาขาปากน้ำ 3-6 (25) / 3-13 (507)*
  • สาขาไร่ขิง 4-45 (81)*
19 (ส่วนอีก 3 คันตัดจอด)
บริษัท ไบร์ทสตาร์ซัพพลาย (1999) จำกัด
  • สาขากัลปพฤกษ์ 4-17 (88)*
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-25 (147)*
  • สาขาบางพลี 3-14 (132)*
  • สาขาปากเกร็ด 2-8 (51)*
  • สาขาพุทธมณฑลสาย 2 4-44 (80A)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 4-15 (82)*
  • สาขาไร่ขิง 4-45 (81)*
  • สาขาสายใต้ใหม่ 2-4 (30) / 4-39 (40)*
  • สาขาหนองจอก 1-73*
20 (ส่วนอีก 2 คันตัดจอด)
บริษัท บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524 จำกัด
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-25 (147)*
  • สาขาธารทิพย์ 4-13 (75)*
  • สาขาพรานนก 4-41 (57)*
  • สาขาสายใต้ใหม่ 1-23 (524) / 2-4 (30)* / 4-38 (28)* / 4-39 (40)*
18 (ส่วนอีก 2 คันตัดจอด)
บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 2566 (ชุดที่ 1)
  • สาขากัลปพฤกษ์ 3-36 (4)* / 4-10 (42)* / 4-37 (9) / 4-19 (108)
  • สาขาคลอง 6 1-31 (523)*
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-16 (85) / 4-25 (147) / 4-26 (167) / S7 (558)
  • สาขาตลิ่งชัน 3-37 (12)* / 4-53 (149)*
  • สาขาท่าอิฐ 2-3 (18)* / 2-13 (69) / 2-19 (127) / 2-26 (545)
  • สาขาหนองจอก 1-58 (525)* / 1-59 (526)*
  • สาขาบางพูน 1-3 (34)*
  • สาขาปากเกร็ด 1-6 (52)* / 1-15 (150)* / 2-8 (51)* / 2-16 (104)*
  • สาขาปากน้ำ 3-13 (507)
  • สาขา ม.รามฯ 2 3-8 (38) / 3-11 (48)
  • สาขาบึงกุ่ม 1-45 (115)** / 1-64*
  • สาขาพรานนก 4-41 (57)*
  • สาขาไร่ขิง 4-45 (81)*
  • สาขารังสิต 1-4 (39A)* / 1-18E (504)
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)*
  • สาขาราษฎร์บูรณะ 4-15 (82)*
  • สาขาศาลายา 4-51 (124) / 4-63 (547)
  • สาขาสายใต้ใหม่ 4-38 (28)* / 4-39 (40) / 4-47 (89) / 2-35 (110) / 4-50 (123)
  • สาขาแสมดำ 4-34*
XX
2566 (ชุดที่ 2)
  • สาขาบึงกุ่ม 1-13 (126) / 1-44 (113)
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)*
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-25 (147) / 4-26 (167)* / S7 (558)
  • สาขาตลิ่งชัน 3-37 (12)* / 4-56 (165)*
  • สาขาท่าอิฐ 2-3 (18)* / 2-13 (69)
  • สาขาหนองจอก 1-71* / 1-73*
  • สาขาบางพูน 34 (เดิม)* / 1-3 (34)* / 1-2E (34E)*
  • สาขาบึงกุ่ม 1-37 (27)*
  • สาขาปากเกร็ด 1-15 (150)* / 2-8 (51)* / 2-16 (104)*
  • สาขาปากน้ำ 3-13 (507)
  • สาขา ม.รามฯ 2 3-11 (48)
  • สาขาไร่ขิง 4-61 (515)*
  • สาขารังสิต 1-1 (29) / 1-4 (39A)* / 1-18E (504) / S2 (554)
  • สาขารามคำแหง 74 2-38 (8)*
  • สาขาสายใต้ใหม่ 4-38 (28)
  • สาขาเอกชัย 4-11 (43) / 4-36 (7)*
2567 (ชุดที่ 1)
  • สาขาคลอง 6 1-24E (538)**
  • สาขาเคหะธนบุรี 4-8 (35)* / 4-25 (147)
  • สาขาพรานนก 4-40 (56)*
  • สาขารังสิต 39 (เดิม)*
  • สาขาเลี่ยงเมืองนนท์ 2-15 (97)*
  • สาขาสายใต้ใหม่ 4-39 (40)* / 4-50 (123)*
17

หมายเหตุ หมายเลขสาย* หมายถึง ให้บริการในสถานะช่วยวิ่งจากเส้นทางอื่น

หมายเลขสาย** หมายถึง งดให้บริการชั่วคราว

เก็บค่าโดยสารตามระยะทาง ราคา 15 20 25 บาท

NEX-MINEBUS XML6115JEV มีรถให้บริการทั้งหมด 5 ชุด แบ่งเป็นกลุ่มแรกที่ประจำการในปี 2565 มีรถให้บริการ 3 ชุด โดยแบ่งตามขนาดความจุของแบตเตอรี่และจุดสังเกตต่างๆ คือ รถชุดที่ 1 ความจุแบตเตอรี่ 300 กิโลวัตต์ กล่องแบตเตอรี่ขนาดใหญ่แบบเตี้ย ใช้ตราหน้ารถแบบวงกลม รถชุดที่ 2 ความจุแบตเตอรี่ 150 กิโลวัตต์ กล่องแบตเตอรี่ขนาดใหญ่แบบเตี้ย (เหมือนรถชุดที่ 1) ใช้ตราหน้ารถแบบวงรีแนวนอน และรถชุดที่ 3 ความจุแบตเตอรี่ 120 กิโลวัตต์ กล่องแบตเตอรี่ขนาดเล็กแบบสูง ใช้ตราหน้ารถแบบวงรีแนวนอน (เหมือนรถชุดที่ 2) และมีที่ชาร์จแบตโทรศัพท์มือถือติดตั้งมาพร้อมกับตัวรถ (ส่วนรถชุดที่ 1 และ 2 ทยอยนำมาติดตั้งในภายหลัง) ส่วนกลุ่มถัดไปที่ประจำการในปี 2566 มีรถให้บริการ 2 ชุด โดยแบ่งตามขนาดความจุของแบตเตอรี่และจุดสังเกตต่างๆ คือ รถชุดที่ 1 ความจุแบตเตอรี่ 120 กิโลวัตต์ กล่องแบตเตอรี่ขนาดเล็กแบบสูง ใช้ตราหน้ารถแบบวงรีแนวนอนและมีที่ชาร์จแบตโทรศัพท์มือถือติดตั้งมาพร้อมกับตัวรถ และรถชุดที่ 2 ความจุแบตเตอรี่ 150 กิโลวัตต์ กล่องแบตเตอรี่ขนาดใหญ่แบบเตี้ย ใช้ตราหน้ารถแบบวงรีแนวนอนและมีที่ชาร์จแบตโทรศัพท์มือถือติดตั้งมาพร้อมกับตัวรถ (เหมือนรถชุดที่ 1) ส่วนกลุ่มสุดท้ายที่ประจำการในปี 2567 มีรถให้บริการ 1 ชุด โดยแบ่งตามขนาดความจุของแบตเตอรี่และจุดสังเกตต่างๆ คือ รถชุดที่ 1 ความจุแบตเตอรี่ 150 กิโลวัตต์ กล่องแบตเตอรี่ขนาดใหญ่แบบเตี้ย ใช้ตราหน้ารถแบบวงรีแนวนอนและมีที่ชาร์จแบตโทรศัพท์มือถือติดตั้งมาพร้อมกับตัวรถ

NEX-MINEBUS XML6115JEV ชุดของสาย 43 บางส่วน (ซึ่งใช้รถชุดที่ 2 ที่เข้าประจำการในปี 2566) มีการดัดแปลงให้กล่องแบตเตอรี่มีขนาดใหญ่แบบเตี้ย เพื่อรองรับการวิ่งลอดใต้สะพานพระพุทธยอดฟ้า (ฝั่งธนบุรี)

NEX-MINEBUS XML6115JEV สาย 81/4-45 (7) ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดเพลิงไหม้ขณะจอดอยู่ในอู่ไร่ขิง ในวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2567 สภาพรถเสียหายทั้งหมด เนื่องจากสภาพรถเสียหายหนักมาก หากซ่อมแล้วเอามาวิ่งใหม่ จะไม่คุ้มค่ากับการลงทุนซ่อมรถ[26]

รถโดยสารที่ให้บริการในปัจจุบันของบริษัทเอกชนรายอื่นๆ

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีขาว-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO AK176 บริษัท ซัคเซสบัสเซอร์วิส จำกัด 2560 92 8 XX
BX321 บริษัท สหศรีสุพรรณยานยนต์ จำกัด 254X 98 2
BX320 บริษัท บริบูรณ์​อินฟินิตี้ จำกัด 256X 38 1
ISUZU BD61 บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด 2557 182
BF40
บริษัท สามัคคีบัส จำกัด 2565 27
บริษัท บริบูรณ์​อินฟินิตี้ จำกัด 256X 38
บริษัท ซัคเซสบัสเซอร์วิส จำกัด 2560 92 6
บริษัท สหมีชัยขนส่ง จำกัด 254X 2
บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์ จำกัด 2567 182
บริษัท สหศรีสุพรรณยานยนต์ จำกัด 254X 98 1
DAEWOO BF120 บริษัท สหมีชัยขนส่ง​ จำกัด 254X 92 8
บริษัท​ ซัคเซสบัสเซอร์​วิส​ จำกัด 2561 2
บริษัท สามัคคีบัส จำกัด 2565 27 1
บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด 2567 182
2557 5
BF120S 2
บริษัท สามัคคีบัส จำกัด 2565 27 1
Mercedes-Benz OF1113
LP911 บริษัท สหศรีสุพรรณยานยนต์ จำกัด 25XX 98
OF1417 บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด 2567 182
LP1113 2557
- บริษัท บริบูรณ์​อินฟินิตี้ จำกัด 256X 38
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีชมพู
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO BX321 บริษัท สหศรีสุพรรณยานยนต์ จำกัด 2553 98 3 XX
ISUZU BF40 บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด 182
2567 2
บริษัท สามัคคีบัส จำกัด 27 1
MT111QB 2566
JCR600YNZZ 2
2567 3
บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด 2553 182 1
DAEWOO BF120 2562
BF120S บริษัท บางกอก​ 118 จำกัด 2560​ (รถ​เก่า​ปรับปรุง​สภาพ) 203 4 (ส่วนอีก 15 คันตัดจอด) 32
บริษัท สามัคคีบัส จำกัด 2567 27 2 XX
2565 7
Mercedes-Benz OF1113 2
- บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์ จำกัด 2567 182 1
LP911
Leyland Albion Viking Vk55
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีส้ม
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
ANYUAN PK6120AGN3 บริษัท บางกอก​ 118 จำกัด 2562 203 10 32
DAEWOO BF120 บริษัท สิทธิ​ชาญชัย​ จำกัด 2563​ (รถ​เก่า​ปรับปรุง​สภาพ) 3-10 (46) 3 XX
ISUZU BF40 XX
HINO BX321 22 35
NISSAN CV41L 1 XX
Mercedes-Benz OF1113
LP1113 3
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีส้ม
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO FD1JKC บริษัท รูธ 45 จำกัด 2552 27 XX XX
FD2JLB
FD2HLA บริษัท บริการเดินรถสยาม จำกัด
ISUZU FVR13 บริษัท ซี.ที.วิเศษทรานสปอร์ต จำกัด 2553 1
บริษัท รูธ 45 จำกัด 2559 82
- 2552 2 27 82 XX
บริษัท บริการเดินรถสยาม จำกัด 27
NPR82K บริษัท เกลียวเวิลด์ จำกัด 1 4 20 34 82 76 17
NISSAN CBF87FHSB บริษัท เศวกฉัตร จำกัด 20 1 XX
บริษัท ทเวนตี้บัส จำกัด 82 XX
บริษัท เนื้อทองทรานสปอร์ต จำกัด 74
บริษัท ยูทีบีทรานสปอร์ต จำกัด
บริษัท บ้านทองบัส จำกัด 2
บริษัท รูธ 45 จำกัด 71
บริษัท ฉมาพันธ์การเดินรถ จำกัด 27
71
บริษัท มินิบัสไทยสายสิบเอ็ด จำกัด
บริษัท บ้านโป่งบัสบอดี้ จำกัด 2553
บริษัท สามัคคีบัส จำกัด 2565 2
บริษัท ใช้จึงเจริญกิจ จำกัด 74 7
บริษัท ซี.ที.วิเศษทรานสปอร์ต จำกัด 2553 27 XX
Mercedes-Benz O1114L บริษัท รูธ 45 จำกัด 71
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ​ สีเหลือง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
ZHONGTONG​ (WINWIN) LCK6910GC บริษัท ฉมาพันธ์การเดินรถ จำกัด 2553 11 XX 31
บริษัท ทีบัสทรานสปอร์ต​ จำกัด
บริษัท วินวิน​เอ็นจีวี​ จำกัด
ZHONGTONG LCK6125GC บริษัท บางกอก​ 118 จำกัด 2557 203 9 35
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
BONLUCK JXK6120L-NGV-01 ห้างหุ้นส่วนจำกัด บุญมงคลกาญจน์ 2564 4-62 (539) 7 31 Handicapped/disabled access
SUNLONG SLK6129CNG บริษัท บัส 90 จำกัด 2566 90 3 (ยังไม่พร้อมให้บริการ) 35 Handicapped/disabled access
บริษัท บัส 33 จำกัด 2-6 (33) 2
10
SLK6985CNG 4 31
2567 1
2566 (รถเก่าปรับปรุงสภาพ) 3
2563 (รถเก่าปรับปรุงสภาพ) 6
2566 1
90*
บริษัท บัส 90 จำกัด 2-6 (33)* 90
2565 (รถเก่าปรับปรุงสภาพ) 3
บริษัท สิทธิ​ชาญชัย​ จำกัด 3-10 (46) 1
ZHONGTONG​ (WINWIN) LCK6910GC บริษัท บางกอก​ 118 จำกัด 2563 (รถเก่าปรับปรุงสภาพ) 203 6
บริษัท สิทธิ​ชาญชัย​ จำกัด 2566 (ปรับปรุงสภาพ) 3-10 (46) 4
KINGLONG XMQ6106CNG 2554 (ประจำการใน ขสมก.)

2566 (ปรับปรุงสภาพ)

6
ห้างหุ้นส่วนจำกัด บุญมงคลกาญจน์ 4-62 (539) 2
Mercedes-Benz O405 Duple Metsec 2553 (ประจำการ)

2563 (ปรับปรุงสภาพ)

4 (ปัจจุบันตัดจอด) 38
HIGER KLQ6120G 2551 (ประจำการ)

2564 (ปรับปรุงสภาพ)

2 35
HINO HO7C บริษัท ไพศาลสามัคคีขนส่ง จำกัด 254X (ประจำการ)

2563 (ปรับปรุงสภาพ)

3-16E (139) 5 XX
YOUNGMAN JNP6120GC 2563 2 34 Handicapped/disabled access
YUTONG ZK6118HGK 2563 4 34
HENGTONG CKZ6953HN บริษัท กิตติสุนทร จำกัด 2561 (ประจำการ)

2565 (ปรับปรุงสภาพ)

2-6 (33)* 2 (ปัจจุบันตัดจอด) 29

หมายเหตุ หมายเลขสาย* หมายถึง ให้บริการในสถานะช่วยวิ่งจากเส้นทางอื่น

รถโดยสารที่ให้บริการในปัจจุบันของบริษัทเอกชน (รถหมวด 4)

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีขาว-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO BX340 บริษัท ลาดกระบัง จำกัด 254X 1013 3 XX
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีขาว-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO FG8J บริษัท สยามเมล์ จำกัด 2566 1009(เสริม) 1 XX
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีฟ้า-ชมพู
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO RK1JSL บริษัท สยามเมล์ จำกัด 254X 1009 1009(เสริม) XX XX
2562 1009 1
2563
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก สีฟ้า-ชมพู
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HIGER KLQ6608GC บริษัท สยามเมล์ จำกัด 2552 1009(เสริม) 2 18
TOYOTA COASTER 2563 1009 1 XX
HINO Liesse II 255X 1009(เสริม)
2563
1009
2564
2565
- - 256X 1009(เสริม)
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีขาว-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Toyota Hilux Vigo Champ บริษัท สยามเมล์ จำกัด 255X 1009(เสริม) XX 12
Mitsubishi L200 Strada 1
Isuzu TFR
NLR130 2565
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีขาว-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HINO BX340 บริษัท ลาดกระบัง จำกัด 254X 1013 1013(เสริม) XX XX
AK176 1013 4
ISUZU BF40 XX
Mercedes Benz OF1617/61 2559 (รถเก่าปรับปรุงสภาพ) 15
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก สีขาว-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HIGER KLQ6608GC บริษัท ลาดกระบัง จำกัด 2552 1013(เสริม) 21 XX
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก (สองแถว) สีขาว-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Toyota Hilux Revo บริษัท ลาดกระบัง จำกัด 256X 1013(เสริม) XX 12
Hilux Vigo 255X
Hilux Vigo Champ
Mitsubishi L200 Strada
Triton
Isuzu TFR
D-Max
Nissan Big-M
Frontier
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดใหญ่ (สองแถว) สีแดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Isuzu NPR รถร่วม ขสมก. 253X 1059 XX 24
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก (สองแถว) สีแดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Mitsubishi L200 Strada บริษัท ส.เสงี่ยมสุข จำกัด 255X 1476 XX 12
Triton 1124
Isuzu D-Max 1124 1476
Toyota Hilux Vigo
Hilux Vigo Champ
Hilux Revo 256X
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก(สองแถว) สีแดง-เหลือง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Toyota Hilux Vigo ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็น.ไอ.เอ็ม.คาร์เซอร์วิส 255X 1470 XX 12
Daihatsu Hijet 6
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก (สองแถว) สีแดง-เหลือง-ขาว
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Isuzu D-Max ห้างหุ้นส่วนจำกัด กลุ่มรถร่วมคลองขวาง 255X 1303 XX 12
Toyota Hilux Vigo
Hilux Vigo Champ
Hilux Revo 256X
Suzuki Multi-Cab 6
Daihatsu Hijet
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก (สองแถว) สีแดง-เหลือง-เขียว
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Isuzu D-Max บริษัท บัสซอยทรานสปอร์ต จำกัด 255X 1475 XX 12
Toyota Hilux Vigo Champ
Hilux Revo 256X
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก สีขาว-ฟ้า
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
HIGER KLQ6608GC บริษัท หนองจอกร่วมมิตรเดินรถ จำกัด 256X 1108 1 XX
TOYOTA Coaster 2557 1119 6
Commuter 255X XX 13
2563 1108
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีฟ้า-ขาว
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Mitsubishi Triton บริษัท หนองจอกร่วมมิตรเดินรถ จำกัด 255X 1108 XX 12
L200 Strada 1119
Isuzu TFR
D-Max 1108
บริษัท พรดำรงขนส่ง จำกัด 2567 1402
2568 1017
บริษัท ศิริชัยบางบอนขนส่ง จำกัด 255X 1501
Toyota Hilux Vigo
Hilux Vigo Champ
บริษัท หนองจอกร่วมมิตรเดินรถ จำกัด 1108 1119
Hilux Revo บริษัท พรดำรงขนส่ง จำกัด 2567 1402
2568 1467
Chevrolet Colorado 1017
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีฟ้า-เทา-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Toyota Hilux Revo บริษัท ตลิ่งชันวัฒนา จำกัด 256X 1474 XX 12
Hilux Vigo 255X
Isuzu TFR
D-Max
Nissan Frontier
Navara
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีน้ำเงิน-ขาว
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Isuzu D-Max บริษัท อุ่นเรือนเดินรถ จำกัด 255X 1318 XX 12
Toyota Hilux Vigo Champ
Hilux Revo 256X
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีขาว-เขียว
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Toyota Hilux Revo ห้างหุ้นส่วนจำกัด ปู่อินทร์ทรานสปอร์ต 256X 1063 1314 1314(เสริม) XX 12
Hilux Vigo 255X
Hilux Mighty X 1314
Hilux Vigo Champ 1314 1314(เสริม)
Isuzu D-Max
Nissan Big-M 1314
Navara
Mitsubishi Triton 1314(เสริม)
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีขาว-เขียว-เหลือง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Toyota Hilux Revo บริษัท ล.กลอยฤทัยทรานสปอร์ต 1993 จำกัด 256X 1292 XX 12
Hilux Vigo Champ 255X
Hilux Vigo
Hilux Mighty X 254X
Nissan Big-M
Navara 255X
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีเขียว-เหลือง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
Toyota Hilux Vigo บริษัท สหมงคลชัยเดินรถ จำกัด 254X 1405 XX 12
Isuzu D-Max

รถโดยสารที่ให้บริการในปัจจุบันของ กทม.

[แก้]
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก​ สีขาว (ใช้พลังงาน​ไฟฟ้า​)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
EVT M221040143 กรุงเทพมหานคร (กทม.) 2565 B2 6 20 Handicapped/disabled access
TX365XSD10 B3 5 21 Handicapped/disabled access

รถโดยสารที่ให้บริการในปัจจุบันของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

[แก้]
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก​ สีชมพู (ใช้พลังงาน​ไฟฟ้า​)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
NEX-MINEBUS XML6805JEV บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 2565 1 2 3 4 5 15 22 Handicapped/disabled access

รถโดยสารที่ให้บริการในปัจจุบันของ BRT

[แก้]
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีเขียว-เหลือง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ เส้นทางที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ
CRRC - บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 2567 402 XX XX Handicapped/disabled access

รถโดยสารที่ให้บริการในอดีต

[แก้]

รถโดยสารที่ให้บริการในอดีตขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีครีม-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO BX320 2520-2535 1, 2, 4, 5 , 10 1,000 ข-1001 ถึง ข-2000 เป็นรถที่ ขสมก. ซื้อ
2523-≈2537 2, 4 40 38-101 ถึง 38-140 *1เป็นรถที่ ขสมก. เช่า ซึ่งคนละชุดกับที่ซื้อเมื่อปี 2520 ที่มีจำนวนมากถึง 1,000 คัน ทำให้เลขข้างรถ มีความแตกต่างไปจากรถที่ซื้อมา

*2เคยให้บริการในสาย 4 ตลาดพลู - คลองเตย ก่อนที่จะเป็นรถที่ ขสมก. ซ่อมเอง วิ่งในสาย 61 ม.รามคำแหง -อนุสาวรีย์ชัยฯ

*3คาดว่าปลดระวางในช่วงรถครีมแดงรุ่นปี 2534 เข้าประจำการ + ไปอีก 2-3 ปี[27]

ISUZU BF40 2521-2535 1, 8, 9 500 ข-2001 ถึง ข-2500 เป็นรถที่ ขสมก. ซื้อ
Mercedes Benz OF1113[28] 3, 5, 6 800 ข-3001 ถึง ข-3800 เป็นรถที่ ขสมก. ซื้อ เรียกว่า "เบนซ์ลูกฟูก" เพราะมีตัวถังเป็นลอนคล้ายกระดาษลูกฟูก
VOLVO Alisa B55-10 MK II 2521 - 1 - เป็นรถเมล์สองชั้นที่บริษัท วอลโว่ ให้ ขสมก. ทดลองวิ่ง มีความยาว 9.9 เมตร สองเพลา สามารถจุผู้โดยสารได้ 100 คน วิ่งให้บริการในสาย 39 64 80[29][30]
HINO BX340 2523-2540[31][32] 1, 2, 3, 4, 5, 10 500 ข-10101 ถึง ข-10600 *1เป็นรถที่ ขสมก. เช่า เพื่อเพิ่มเติมจากรถเก่าที่มีอยู่ เรียกว่า "ฮีโน่จัมโบ้" เพราะรถมีตัวถังใหญ่กว่ารถรุ่นเก่า

*2ในปี 2539-2540 ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายที่รถรุ่นนี้ให้บริการ มีการนำรถบางส่วนมาทำการปรับปรุงสภาพ โดยทำสีจากสีครีมน้ำเงินเป็นสีครีมแดง

ISUZU JCR600YZNN 1, 5, 8, 9 ข-20101 ถึง ข-20600 *1เป็นรถที่ ขสมก. เช่า เพื่อเพิ่มเติมจากรถเก่าที่มีอยู่ เรียกว่า "อีซูซุจัมโบ้" เพราะรถมีตัวถังใหญ่กว่ารถรุ่นเก่า

*2ในปี 2536-2539 มีการนำรถบางส่วนมาให้บริการในเขต 5 หลายสาย เช่น 17, 20, 21, 37, 42, 82, 85, 105, 106, 141 เป็นต้น โดยที่ ขสมก. ซ่อมเอง[33]

*3ในปี 2539-2540 ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายที่รถรุ่นนี้ให้บริการ มีการนำรถบางส่วนมาทำการปรับปรุงสภาพ โดยทำสีจากสีครีมน้ำเงินเป็นสีครีมแดง

Mercedes Benz OF1617/61 2523-2535[34] 5, 6 200 ข-30101 ถึง ข-30300 เป็นรถที่ ขสมก. เช่า เพื่อเพิ่มเติมจากรถเก่าที่มีอยู่ เรียกว่า "เบนซ์จัมโบ้" เพราะรถมีตัวถังใหญ่กว่ารถรุ่นเก่า
LEYLAND Olympian B45 2530 1 1 - เป็นรถเมล์สองชั้นที่บริษัทเลย์แลนด์ ให้ ขสมก. ทดลองวิ่ง 6 เดือน มีความยาว 10.3 เมตร สูง 4.5 เมตร สองเพลา สามารถจุผู้โดยสารได้ 140 คน วิ่งให้บริการในสาย 29 52 95 138 [35][30]รายได้จากค่าโดยสารหลังหักค่าใช้จ่าย สมทบทุนการก่อสร้างสวนหลวง ร.9
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีครีม-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO BX321 2531-2542 1, 2, 3, 4, 5, 6, 10 250 ข-4001 ถึง ข-4250 *1เป็นรถที่ ขสมก. เช่า มีเครื่องเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ ประตูอัตโนมัติ และพัดลมระบายอากาศ

*2ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถเอกชนร่วมบริการ ในสาย 46 และรถหมวด 3 ในสาย 511 (อุบลราชธานี - กันทรลักษ์)

ISUZU MT111L 1, 5, 8, 9 ข-5001 ถึง ข-5250 *1เป็นรถที่ ขสมก. เช่า มีเครื่องเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ ประตูอัตโนมัติ และพัดลมระบายอากาศ

*2ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถหมวด 3 ในสาย 356

DAEWOO BF120 2, 3, 4, 5, 6 400 ข-70101 ถึง ข-70500 *1เป็นรถที่ ขสมก. เช่า มีเครื่องเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ ประตูอัตโนมัติ และพัดลมระบายอากาศ

*2ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถเอกชนร่วมบริการ เช่นสาย 8 27 46 64 92 182 เป็นต้น และรถหมวด 3 ในสาย 365

BF120S 2534-2542 3, 5, 6 450 ข-70501 ถึง ข-70950 *1เป็นรถที่ ขสมก. ซื้อ ประตูอยู่กลางรถ

*2เข้าประจำการพร้อมกับ Hino AK176, ISUZU MT111QB และ Mitsubishi FUSO RP118 รถรุ่นนี้ถูกเผาเป็นจำนวนมากในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ปี 2535 เนื่องจากเส้นทางเดินรถบางสายที่ใช้รถรุ่นนี้ผ่านบริเวณที่มีผู้ชุมนุม เป็นผลทำให้รถรุ่นนี้ถูกทำลายจากกลุ่มผู้ชุมนุม

*3ในปี 2543 รถบางส่วนได้ถูกนำไปดัดแปลงในโครงการรถบรรเทา(Relief Bus)[36]

*4ในปี 2558 รถบางส่วนถูกบริจาคให้มูลนิธิสัมมาชีพ เพื่อนำไปทำปะการังเทียม[37]

*5ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถเอกชนร่วมบริการ เช่นสาย 27 182​ 203​ (ปรับปรุงสภาพตัวถัง)​ เป็นต้น และรถหมวด 3 ในสาย 356

Mitsubishi Fuso RP118 2536-≈2554 2, 4, 8 3 (รถสำรอง) 2-80511

8-80512

4-80513

*1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ Mitsubishi รุ่น Fuso RP118 ประจำการอยู่

*2ยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวเนื่องจากเหตุผลด้านการซ่อมบำรุง

HINO AK176 2535-2551 1, 2 1 (รถสำรอง) 1-40544 *1ในอดีตเคยเป็นรถสำรองวิ่งของเขตการเดินรถที่ 2 ภายหลังได้ย้ายมาเป็นรถสำรองวิ่งของเขตการเดินรถที่ 1[38]

*2เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ HINO รุ่น AK176 ประจำการอยู่ (ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็นในพื้นที่เขตการเดินรถที่ 1 )

*3ภายหลังเหตุเพลิงไหม้ของรถสาย 59 หมายเลข 1-40077 ทำให้รถคันนี้ต้องยกสถานะจากรถสำรองวิ่งมาประจำการถาวรในสาย 59

*4ปัจจุบันรถคันดังกล่าวให้บริการในสาย 68 เขตการเดินรถที่ 5

ISUZU MT111QB 2535-2564 1, 6, 7, 8 6-50541
*1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ ISUZU รุ่น MT111QB ประจำการอยู่ (ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็นในพื้นที่เขตการเดินรถที่ 6 )

*2ยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวเนื่องจากเหตุผลด้านการซ่อมบำรุง

LT112P 2537-2564 1, 6, 7, 8, 9 7-50542 *1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ ISUZU รุ่น MT111QB ประจำการอยู่ (ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็นในพื้นที่เขตการเดินรถที่ 7 )

*2ยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวเนื่องจากเหตุผลด้านการซ่อมบำรุง

รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีครีม-ขาว
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
Mercedes-Benz OF1617 2540-1 ตุลาคม 2554 5, 6, 10 80 ข-30301 ถึง ข-30380 *1มี 32 ที่นั่ง

*2เคยใช้ Fare Box 2 ครั้ง ในปี 2540 ตอนเข้าประจำการ และในปี 2547 ทดลองใช้ในสาย 7 คลองขวาง - หัวลำโพง

*3เป็นรถเช่าจากเอกชน แต่ ขสมก. ซ่อมเอง

*4เคยให้บริการสาย 7 7ก 15 36 37 42 68 73 75 76 79 84 84ก 98 105 105ก 111 117 137 140 141 147 154 165 172 193 201 ป.25ค.(179)

HINO AK176 2534-2561 5 41 5-40XXX
*1มี 34 ที่นั่ง

*2เป็นรถที่ดัดแปลงสีและตัวถังบางส่วนจากรถ ฮีโน่ครีมแดงประตูกลาง โดยมีการติดตั้งพัดลมเพิ่มเติมภายในรถ และเก็บค่าโดยสารเพิ่มอีก 1 บาท

*3เคยให้บริการสาย 10 15 21 37 68 75 88 105 105ก 111 147 710

BX321 2531-2550 5, 6 1 6-018 *1เป็นรถที่ดัดแปลงสีและตัวถังบางส่วนจากรถ ฮีโน่ครีมแดงประตูหน้า-หลัง

*2เคยให้บริการสาย 7ก 68[39]

DAEWOO BF120S 2534-2550 7 ข-70501 ถึง ข-70950 *1เป็นรถที่ดัดแปลงสีและตัวถังบางส่วนจากรถ แดวูครีมแดงประตูกลาง

*2เคยให้บริการสาย 7ก 68 165[40]

รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีขาว-เขียว (รถเก่าปรับปรุงสภาพ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
Mitsubishi Fuso RP118 2559-2566 (ปรับปรุงสภาพ) 8 1 8-80416
*1เป็นรถต้นแบบตามโครงการปรับปรุงสภาพรถโดย สจล. (Renovate) โดยทำการปรับปรุงสภาพเมื่อปี 2559

*2ก่อนที่จะมีการ Renovate เคยให้บริการในสาย 178

*3ภายหลังการ Renovate เคยให้บริการในสาย 36ก

*4ปัจจุบันได้ยุติการใช้รถคันดังกล่าวแล้ว เนื่องจากปัญหาด้านการซ่อมบำรุง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
VOLVO B57-60 2521-2525 / 2530-2534 11 200 11-101 ถึง 11-300 *1ในช่วงแรกมีประตูหน้าและประตูกลาง แต่ใช้ประตูหน้าเพียงบานเดียว

*2งดให้บริการระหว่างปี 2526-2529 ออกมาให้บริการอีกครั้งในปี 2530 *3เมื่อนำออกมาวิ่งอีกครั้ง รถคันที่สามารถนำออกมาให้บริการ ได้ดัดแปลงตัวถังเหลือประตูกลางเพียงบานเดียว

2523-2534[41] 40 81-3001 ถึง 81-3040
HINO RF720 2523-2528[42][43] 180 82-4001 ถึง 82-4180 เป็นรถที่ ขสมก. ให้บริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัด วิ่งในวันที่ 22 กรกฎาคม 2528 ในสาย ปอ.4 ปอ.6 ปอ.7 ปอ.8 และ ปอ.29[44]
ISUZU BU35KL 83-5001 ถึง 83-5180 เรียกว่า "อีซูซุรถโรงเรียน" เพราะหลังจากรถปลดระวาง ได้มีการนำรถไปทำรถโรงเรียน
- ≈2536-2538[45] 1 (รถสำรองวิ่ง) 83-5181 *1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ ISUZU รุ่น BU35KL ประจำการอยู่

*2สันนิษฐานว่ารถคันนี้เป็นต้นแบบของ ISUZU CQA650A/T เนื่องจากลักษณะโดยรวมทั้งภายนอกและภายในของรถคันนี้มีลักษณะใกล้เคียงกับรถรุ่นดังกล่าว

MAN 2530 ปอ.11 1 - เป็นรถทดลองใช้ก๊าซ NGV
Mercedes Benz OF1617/61 2531-2534 11 100 11-6001 ถึง 11-6100 *1มี 49 ที่นั่ง

*2ปลดระวางเมื่อปี 2534 เนื่องจากมีรถปรับอากาศ Mercedes Benz OF1617/61 ทรงปาดาเน่ เข้าประจำการแทน[46]

*3มีการสันนิษฐานว่ารถรุ่นนี้ ได้ถูกดัดแปลงให้กลายเป็นทรงปาดาเน่ และออกวิ่งในรูปแบบรถร่วมบริการในสาย ปอ.สาย 7, 15, 68, 84 และ 205 เนื่องจากเลขทะเบียนตรงกัน[47]

*4พบเห็นได้มากในสาย ปอ.9(509) ปอ.10(510)

2534-2561 1,​ 2, 3, 4, 5,​ 6, 8, 10, 11 800 ข-6101 ถึง ข-6900 *1เดิมมี 800 คัน ซึ่ง 500 คันแรก ปลดระวาง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ที่เหลือส่วนใหญ่ประมาณ 200 คัน ถูกสั่งตัดจอดยังไม่มีกำหนด เมื่อต้นปี 2554 และทยอยปลดระวางทั้งหมดในปี 2561

*2ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถเอกชนร่วมบริการ (ปรับปรุงสภาพตัวถัง) ได้แก่สาย 64 รถหมวด 3 ในสาย 487 และรถหมวด 4 ในสาย 1013

*3 เคยให้บริการในสาย 5 6 20 21 22 25 37 54 59 60 75 76 79 80 84ก 91 92 93 95 95ก 96 98 99 102 105 138 140 141 168 185 201 501 502 508 509 510 511 512 513 514 515 516 517 518 519 520 556

5 1 5-6882 *1เป็นรถที่นำไปปรับปรุงป้ายไฟให้ยาวขึ้น​ที่อู่แสมดำ โดยทำการปรับปรุงสภาพเมื่อปี 2554

*2เคยให้บริการในสาย 21 141

3 5-6365

5-6387 5-6461

*1เป็นรถที่นำไปปรับปรุงสภาพรถบางส่วน​ที่อู่บ้านโป่งบัสบอดี้ โดยทำการปรับปรุงสภาพเมื่อปี 2554

*2เคยให้บริการในสาย 20​ 21​ 37​ 105 141

17 5-6XXX
*1เป็นรถที่นำไปปรับปรุงสภาพรถ​ที่อู่บ้านโป่งบัสบอดี้ โดยทำการปรับปรุงสภาพเมื่อปี 2554

*2เคยให้บริการในสาย 20​ 21​ 37​ 105 138​ 141

O1114L 2540-2547 4, 5 30 ข-9501 ถึง ข-9530 *1เคยใช้เครื่องเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ 10 บาทตลอดสาย

*2ตัวถังเดิมใช้สีขาวคาดม่วง ก่อนเปลี่ยนเป็นสีขาวคาดน้ำเงิน ลวดลายเดียวกับ Mercedes Benz OF1617/61

*3เคยให้บริการในสาย 1 4 37 42 47 75 76 105 141 ปอ.26(162)[48]

Scania L113 ≈2538-≈2547 1, 7, 8, 11 1 (รถสำรองวิ่ง) 7-3101 *1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ ISUZU รุ่น CQA650A/T ประจำการอยู่

*2ยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวเนื่องจากเหตุผลด้านการซ่อมบำรุง

ISUZU LV223S ≈2538-≈2541 11 11-3102 *1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ ISUZU รุ่น CQA650A/T ประจำการอยู่

*2ยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวเนื่องจากเหตุผลด้านการซ่อมบำรุง

*3สันนิษฐานว่าภายหลังยุติการใช้งาน รถได้นำไปเปลี่ยนสีตัวถังเป็นสีส้มและนำมาใช้เป็นรถสำรองวิ่งรถปรับอากาศยูโรทู ISUZU LV223S และ LV423R ใช้เลขข้างรถ 1-55201

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ รถพ่วง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
VOLVO B10M 2535 1 1 - เป็นรถที่บริษัทวอลโว่ นำมาให้ ขสมก. ทดลองวิ่งในสาย ปอ.3(503) ปอ.4(504) ปอ.39[49]
IKARUS 283 2538-2550 2 50 2-8001 ถึง 2-8050 *1ปลดระวางครั้งแรก เมื่อปี 2544 เนื่องจากเปลี่ยนช่างซ่อมบำรุง

*2เคยให้บริการในสาย 26 168 ปอ.2(502) ปอ.12(512) ปอ.15(514) ปอ.19(518)[50]

Mercedes-Benz O405G 2538-2554 3 52 3-9001 ถึง 3-9052 *1 ทยอยปลดระวางตั้งแต่ปี 2550 เนื่องจากปัญหาการซ่อมบำรุง

*2เคยให้บริการในสาย 145 ปอ.11(511) ปอ.13(513)[50]

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีขาว-เขียว-น้ำเงิน (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
Mercedes-Benz O405 CNG 2536-2554 1, 11 38 1-1001 ถึง 1-1038 *1ปลดระวางเนื่องจากปัญหาการซ่อมบำรุงและมหาอุทกภัย พ.ศ. 2554

*2เคยให้บริการในสาย 39​ 59​ 503 559 ปอ.24​(522)

MAN 16.230 HOCL/R - CNG 2536-2543 44 1-2001 ถึง 1-2044 *1ปลดระวางไปก่อน เมื่อปี 2543 เนื่องจากความดันของก๊าซ NGV ยังไม่ได้มาตรฐาน ทำให้รถเสียบ่อยครั้ง

*2ในปี 2547 ได้มีโครงการที่จะนำรถรุ่นนี้มาปรับปรุงสภาพอีกครั้ง โดยนำรถหมายเลข 1-2025 มาเป็นต้นแบบ เมื่อปรับปรุงสภาพเสร็จ ได้นำมาทดลองในสาย 503 โดยนำมาวิ่งได้ไม่นานก็ยุติโครงการ[51]

*3ต่อมา ปตท.ได้ชดใช้ค่าเสียหาย และได้นำรถรุ่นดังกล่าว มาปรับปรุงใหม่ จำนวน 26 คัน (หมายเลข 2018,2020-2044) โดยรถบางคัน ถูกดัดแปลงให้เป็นประตูหน้าหลัง และเปลี่ยนหมายเลขข้างรถ เป็น 2001-2017,2019-2026 ยกเว้นหมายเลข 2018 ยังเป็นคันเดิม

*4เคยให้บริการในสาย 39 522 ปอ.3(503)

2555–30 พฤศจิกายน 2559 1 25 1-2001 ถึง 1-2017, 1-2019 ถึง 1-2026
2547 1 1-2025
2553–30 พฤศจิกายน 2559 1-2018
HINO RU1JSSL 2547-2548 - *1เป็นรถทดลองวิ่งใช้ก๊าซ NGV ที่ดัดแปลงจากรถปรับอากาศยูโรทูสีส้มรุ่นเดียวกันซึ่งเป็นรถสำรองวิ่ง หมายเลขข้างรถ 2-45126 และใช้เชื้อเพลิงดีเซล ก่อนที่จะกลับมาทำสีส้มพร้อมทั้งกลับมาใช้เชื้อเพลิงดีเซลแล้วนำไปใช้เป็นรถสำรองวิ่งตามเดิม[52]

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 503

DONGFENG HANGZHOU DHZ6111CF (CNG) [53] 2549-2550 เป็นรถเมล์ใช้ก๊าซ NGV ที่บริษัท ดองแฟง หางโจวมอเตอร์ไทยแลนด์ จำกัด ให้ ขสมก. ทดลองวิ่งในสาย 522 เครื่องยนต์ 4 สูบ รหัส YC6G260N-3T 258 แรงม้า อัตราการสิ้นเปลืองเฉลี่ย 2.47 กม./กก.[54]

ต่อมารถคันนี้ได้ปรากฏอยู่ในสาย 542 และย้ายมาให้บริการในสาย 30 ก่อนที่จะยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวไป

ISUZU LV486R 2550-2551 *1เป็นรถเมล์ใช้ก๊าซ NGV ที่บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด ให้ ขสมก. ทดลองวิ่งในสาย 129 522

*2ส่วนตัวที่นำมาโชว์ (คันสีเหลือง) ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถหมวด 3 ในสาย 487

SUNLONG SLK6111 UE6NA CNG 2554-2564 43 1-90001 ถึง 1-90043
*1มี 38 ที่นั่ง

*2เป็นรถเช่าจากเอกชน ตามโครงการเช่ารถเมล์​ให้บริการในรูปแบบการให้บริการ​เชิงคุณภาพ​ (PBC)​ ตลอดอายุ​สัญญา​ 10​ ​ปี

*3เดิมเป็นรถสีเหลืองที่เอกชนใช้งานมาแล้วประมาณ 2-3 ปี มาเปลี่ยนสีเป็นสีขาว

*4เริ่มแรกมี 40 คัน ต่อมามี 3 คันที่เสียจนไม่สามารถซ่อมบำรุงได้ ทำให้มีรถมาเพิ่ม เพื่อมาทดแทนรถทั้ง 3 คันในเวลาต่อมา และมีอีก 2 คันเพลิงไหม้เสียหายทั้งคัน ทำให้ยอดรถเหลือ 38 คันจนหมดสัญญาเช่า

*5เคยให้บริการในสาย 522​ (เคยช่วยวิ่งสาย 36 ในช่วงมหาอุทกภัย พ.ศ. 2554[55])

KINGLONG XMQ6106CNG 5 80 5-90001 ถึง 5-90080
*1มี 31 ที่นั่ง

*2เป็นรถเช่าจากเอกชน ตามโครงการเช่ารถเมล์​ให้บริการในรูปแบบการให้บริการ​เชิงคุณภาพ​ (PBC)​ ตลอดอายุ​สัญญา​ 10​ ​ปี

*3เริ่มแรกมี 80 คัน ต่อมามี 1 คันเพลิงไหม้เสียหายทั้งคัน ทำให้ยอดรถเหลือ 79 คันจนหมดสัญญาเช่า

*4เคยให้บริการในสาย 76 138 140 141

*5ในปี 2565​ รถบางส่วนได้นำไปให้บริการ​ในรูปแบบรถโดยสารภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU POP Bus) โดยนำมาให้บริการชั่วคราวระหว่างรอรถโดยสารใหม่ที่​ บจก.สมาร์ท​บัส​ ได้สัมปทานดังกล่าวไป

*6ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถเอกชน (ปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า) ในสาย 539 และ 46

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
SUNLONG SLK6129CNG 2560 1, 5 5 5-70042

5-70088

5-70108

1-70156

1-70241

Handicapped/disabled access

*1มี 35 ที่นั่ง

*2เป็นรถที่ ขสมก. นำมาทดลองวิ่งในขณะที่อยู่ภายใต้สัญญาโครงการจัดซื้อรถโดยสารเอ็นจีวีจำนวน 489 คันกับ บจก.เบสท์ริน กรุ๊ป (ซึ่งเป็นคนละบริษัทกับรถที่ ขสมก. ให้บริการจริงในปัจจุบัน) เพื่อทดสอบสภาพรถและเก็บข้อมูลเป็นเวลา 3 วัน ตั้งแต่วันที่ 19 - 21 มกราคม พ.ศ. 2560

*3เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 138 140 141 510 522[56]

*4ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถเอกชนใน บจก.บัส 33 (ในเครือ บจก.กิตติสุนทร)

HINO RU1JSSL 2561 5 1 5-44202 *1เป็นรถต้นแบบที่ได้รับการปรับปรุงสภาพใหม่ตามโครงการปรับปรุงสภาพรถโดยสารยูโรทูยี่ห้อ HINO จำนวน 323 คัน ทั้งนี้ก่อนปรับปรุงสภาพรถคันดังกล่าวถูกรถบรรทุกชนท้ายขณะนำไปวิ่งในเส้นทางสาย 510 ในช่วงกลางปี 2559

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 138

*3ต่อมาในปี 2563 รถคันดังกล่าวได้กลับมาใช้สีส้ม และกลับไปทำหน้าที่เป็นรถสำรองวิ่งตามเดิม

BONLUCK JXK6120L-NGV-01 2563-2567 1, 2, 3, 5 4 5-70490

1-70491

2-70492

3-70493

Handicapped/disabled access

*1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ BONLUCK รุ่น JXK6120L-NGV-01 ประจำการอยู่

*2ยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวเนื่องจากเหตุผลด้านการซ่อมบำรุง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
Mercedes-Benz OHL1829 2541-2561 1, 2, 3, 5, 6, 8,​ 10, 11 393 ข-66001-66393
*1มี 35 ที่นั่ง

*2เข้าประจำการพร้อมกับ Hino RU1JSSL (44XXX) และ Isuzu LV223S (55XXX)

*3รถรุ่นนี้ประสบปัญหาการซ่อมบำรุงมากกว่ารถปรับอากาศยูโรทูรุ่นอื่นๆ ทำให้ต้องปลดระวางรถรุ่นดังกล่าวเป็นจำนวนมาก และรถชุด 30 คันสุดท้ายปลดระวางเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561

*4เคยให้บริการในสาย 3 11 15 20 21 22 23 26 27 34 36 36ก 37 39 45ก 59 60 73 73ก 75 76 79 80 84ก 91 93 95ก 102 122 138 140 141 142 145 185 206 501 502 503 508 509 511 512 514 515 517 518 519 520 522 536 553 555 557 (เคยช่วยวิ่งในสาย 207)[ต้องการอ้างอิง]

1, 2, 3, 5 4 ข-66394-66397 Handicapped/disabled access
*1มี 32 ที่นั่ง โดยส่วนที่ถอดที่นั่งออกคือพื้นที่รองรับวีลแชร์และประตูรองรับระบบลิฟท์ไฮดรอลิก

*2เป็นรถที่ดัดแปลงเพื่อรองรับวีลแชร์ โดยทำการดัดแปลงในปี 2542

*3ในปี 2549-2550 รถหมายเลข 5-66396 และ 5-66397 ได้ย้ายมายังสังกัดเขตการเดินรถที่ 2 เพื่อใช้เดินรถเวียน (Shuttle Bus) ภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ[57]

*4ทยอยปลดระวางตั้งแต่ปี 2557 เนื่องจากปัญหาการซ่อมบำรุง

*5เคยให้บริการในสาย 20 168 39 511 536

O405 ≈2546-2554 2, 5 1 (รถสำรองวิ่ง) 2-66398 *1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ Mercedes-Benz รุ่น OH1829/63 ประจำการอยู่

*2ยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวเนื่องจากเหตุผลด้านการซ่อมบำรุง

≈2547-2554 1, 5 5-66399
2, 5 5-66400
DAEWOO BH115H 2545-2557 1, 5 44 ข-67001-67060
*1มี 35 ที่นั่ง

*2เข้าประจำการพร้อมกับ Hino RU1JSSL (45XXX) และ Isuzu LV423R (56XXX)

*3เฉพาะรถชุดนี้ทั้งหมด 198 คัน ปลดระวางไปก่อนในช่วงต้นปี 2557 เนื่องจากปัญหาการซ่อมบำรุง และเหลือรถที่ยังสามารถให้บริการได้เพียง 52 คันสุดท้าย ซึ่งปัจจุบันรถทั้งหมดได้ให้บริการในเขตการเดินรถที่ 8

*4เคยให้บริการในสาย 3 20 21 22 34 36 36ก 37 39 59 73 73ก 76 105 134ก 138 140 141 204 503 510 513 520 522 555 557 559 (เคยช่วยวิ่งในสาย 168 206)[ต้องการอ้างอิง]

BH115 1, 5, 8 154 ข-67061-67250
DONGFENG - ≈2547-2554 5, 8 1 (รถสำรองวิ่ง) 5-67251 *1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ DAEWOO รุ่น BH115H, BH115 ประจำการอยู่

*2ยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวเนื่องจากเหตุผลด้านการซ่อมบำรุง

*3เคยให้บริการในสาย 20 21 22 34 36 36ก 37 59 73 73ก 76 105 138 140 141 168 503 510 520 522 550 551 557 559[ต้องการอ้างอิง]

Isuzu LV223S 254X-2564 1, 5, 6, 7, 8 6-55201
*1เวียนไปใช้ในสายต่าง ๆ ที่มีรถยี่ห้อ ISUZU รุ่น LV223S และ LV423R ประจำการอยู่ (ส่วนใหญ่จะปรากฏให้เห็นในพื้นที่เขตการเดินรถที่ 6 )

*2มีการสันนิษฐานว่าเดิมรถคันดังกล่าวเป็นรถสำรองวิ่งของรถยี่ห้อ ISUZU รุ่น CQA650A/T หมายเลข 11-3102 โดยใช้สีตัวถังสีครีมน้ำเงิน ก่อนที่จะเปลี่ยนมาใช้สีตัวถังสีส้มในภายหลัง

*3ยุติการใช้งานรถคันดังกล่าวเนื่องจากเหตุผลด้านการซ่อมบำรุง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีเขียว-ขาว (รถเก่าปรับปรุงสภาพ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ ภาพประกอบ หมายเหตุ
Mercedes-Benz OHL1829 2559-2564 (ปรับปรุงสภาพ) 2, 3, 8 1 8-66249
*1เป็นรถต้นแบบตามโครงการปรับปรุงสภาพรถโดย สจล. (Renovate) โดยทำการปรับปรุงสภาพเมื่อปี 2559

*2ก่อนที่จะมีการ Renovate เคยให้บริการในสาย 60 93 501 517

*3ภายหลังการ Renovate เคยให้บริการในสาย 73ก 168 511 536

*4ปัจจุบันได้ยุติการใช้รถคันดังกล่าวแล้ว เนื่องจากปัญหาด้านการซ่อมบำรุง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีเขียวอ่อน (รถเอทานอล)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ หมายเหตุ
Scania K270UB 2554 5 1 - 34 เป็นรถทดลองวิ่งในสาย 21
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีเหลือง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ หมายเหตุ
TATA Marcopolo LPO1625CNG 2555 1, 5 2 - 26 เป็นรถทดลองวิ่งที่บริษัท ทาทา มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด ส่งมอบให้ ขสมก. ทดลองวิ่งจำนวน 2 คัน คือรุ่น Semi Floor ทดลองวิ่งในสาย 510 และรุ่น Low Entry ทดลองวิ่งในสาย 141
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีขาว (ไฮบริด)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO HU8JLGP 2559 1, 3, 4, 5 1 - 26 Handicapped/disabled access *1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้เชื้อเพลิง Hybrid คันแรก โดยนำมาจากรถโดยสาร Toei Bus ในโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มาทดลองวิ่งในประเทศไทยเป็นระยะเวลา 5 เดือน

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 137 77 A1 A2 510 522 140 138 511 145 รวมทั้ง Shuttle Bus เส้นทาง "วงกลมเกาะรัตนโกสินทร์"

HU2ASKP-VJT 2560-2561 35 Handicapped/disabled access
*1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้เชื้อเพลิง Hybrid คันที่ 2 โดยเป็นคันแรกที่ประกอบในประเทศ

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 137 77 A1 A2 510 522 140 138 511 145

2561-2563 1, 3, 5 1-46001
*1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้เชื้อเพลิง Hybrid คันที่ 3 โดยเป็นคันที่ 2 ที่ประกอบในประเทศ

*2รถคันนี้ยังถือเป็นเป็นรถโดยสารเชื่อมความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น โดยความร่วมมือระหว่าง ขสมก. บริษัท ฮีโน่ มอเตอร์สเซลส์ (ประเทศไทย) จำกัด และองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (JICA)

*3เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย A1 510 522 145 511 140 138 ก่อนที่จะนำมาวิ่งในสาย A1 ในเวลาต่อมา

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ เขตการเดินรถที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ หมายเลขข้างรถ จำนวนที่นั่ง ภาพประกอบ หมายเหตุ
BYD K9RA 2558 3, 5, 7 1 - 29 *1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้พลังงานไฟฟ้าคันแรก โดยเป็นการร่วมมือระหว่าง ขสมก. และบริษัท ล็อกซ์เลย์ จำกัด (มหาชน)

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 511 141 63

2559 1 35 *1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้พลังงานไฟฟ้าคันที่ 2 โดยเป็นการร่วมมือระหว่าง ขสมก. และบริษัท ล็อกซ์เลย์ จำกัด (มหาชน) และเป็นคันแรกที่ประกอบในประเทศ

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย A1 522 รวมทั้ง Shuttle Bus เส้นทาง "สนามม้านางเลิ้ง - หมอชิต 2" และ “หมอชิต 2 - สนามหลวง”

EDISON MOTORS e-FIBRID 2561-2562 4, 5, 7, 8 23 *1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้พลังงานไฟฟ้าคันที่ 3 โดยเป็นการร่วมมือระหว่าง ขสมก. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 137 36 73 204 138 50

SKYWELL (THAI EV) NJL6859BEV 2562 1 24 *1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้พลังงานไฟฟ้าคันที่ 4 โดยเป็นการร่วมมือระหว่าง ขสมก. และบริษัท ไทย อีวี จำกัด

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 129 A1 522

*3ต่อมาในปี 2563 บริษัท แกรนด์ซิตี้บัส จำกัด ได้นำรถคันดังกล่าวมาทดลองวิ่งในสาย 75

Mercedes-Benz OHL1829 (HSN-EVB-2101) 2563 35 *1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้พลังงานไฟฟ้าคันที่ 5 และเป็นคันแรกที่นำรถปรับอากาศยูโรทู Mercedes-Benz OHL1829 ที่ปลดระวางแล้วมาดัดแปลงเป็นรถเมล์ไฟฟ้า โดยเป็นการร่วมมือระหว่าง ขสมก. และบริษัท สบายมอเตอร์ (ไทยแลนด์) จำกัด

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 543ก

Mercedes-Benz (SAKUN.C) OHL1829 2565 39 *1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้พลังงานไฟฟ้าคันที่ 6 และเป็นคันที่ 2 ที่นำรถปรับอากาศยูโรทู Mercedes-Benz OHL1829 ที่ปลดระวางแล้วมาดัดแปลงเป็นรถเมล์ไฟฟ้า โดยเป็นการร่วมมือระหว่าง ขสมก. และบริษัท โชคนำชัย ไฮ-เทค เพรสซิ่ง จำกัด ในโครงการทดลองนำรถโดยสารเก่า​มาดัดแปลงเป็นรถเมล์​ไฟฟ้า​ โดย​ สวทช.​ ขสมก.​ กฟผ. กฟน. กฟภ.

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 543ก 129 543 95 A1 107

Mercedes-Benz (PTA) 33 *1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้พลังงานไฟฟ้าคันที่ 8 และเป็นคันที่ 4 ที่นำรถปรับอากาศยูโรทู Mercedes-Benz OHL1829 ที่ปลดระวางแล้วมาดัดแปลงเป็นรถเมล์ไฟฟ้า โดยเป็นการร่วมมือระหว่าง ขสมก. และบริษัท พานทองกลการ จำกัด ในโครงการทดลองนำรถโดยสารเก่า​มาดัดแปลงเป็นรถเมล์​ไฟฟ้า​ โดย​ สวทช.​ ขสมก.​ กฟผ. กฟน. กฟภ.

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 543 543ก 129 107 95 A1

EVT EVT12M 34 *1เป็นรถทดลองวิ่งโดยใช้พลังงานไฟฟ้าคันที่ 7 และเป็นคันที่ 3 ที่นำรถปรับอากาศยูโรทู Mercedes-Benz OHL1829 ที่ปลดระวางแล้วมาดัดแปลงเป็นรถเมล์ไฟฟ้า โดยเป็นการร่วมมือระหว่าง ขสมก. และบริษัท รถไฟฟ้า (ประเทศไทย) จำกัด ในโครงการทดลองนำรถโดยสารเก่า​มาดัดแปลงเป็นรถเมล์​ไฟฟ้า​ โดย​ สวทช.​ ขสมก.​ กฟผ. กฟน. กฟภ.

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 129 543 543ก A1 107 95

*3ปัจจุบันรถคันดังกล่าวให้บริการเป็นรถรับส่งบุคลากรการบินไทย

รถโดยสารที่ให้บริการในอดีตของกลุ่มบริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด และบริษัทในเครือ

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีส้ม (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
NISSAN CBF87FHSB 2552-2566 บริษัท มหาชนยานยนต์ จำกัด 9 เคยให้บริการในสาย 4-10 (42)
ISUZU FVR13 2553-2566 1
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีเหลือง (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
SUNLONG / GOLDEN DRAGON SLK6111UE6NA CNG 2563 บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด XX *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท พรีเมี่ยม แมเนจเมนท์ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 29

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่เคยให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
SUNLONG SLK6129CNG 2562-2567 บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 365
*1เคยให้บริการในสาย 9 28 29 30 38 40 43 48 51 52 69 85 89 104 108 110 113 115 122 123 124 126 127 147 150 167 187 504 507 524 538 545 547 554 558

*2ปัจจุบันรถบางส่วนให้บริการเป็นรถรับส่งบุคลากรการบินไทย

2564-2566 บริษัท แกรนด์ซิตี้บัส จำกัด 8
เคยให้บริการในสาย 75
SLK6985CNG 2563-2566 20
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 75

*3ในปี 2566 รถชุดดังกล่าวได้โอนย้ายไปบริษัท กิตติสุนทร จำกัด

2565 บริษัท ต.มานิตย์การเดินรถ จำกัด 10
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยได้รับโอนมาจากบริษัท เศวกฉัตร จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 7

2563-2565 บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 9
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยได้รับโอนมาจากบริษัท เจริญกัลปพฤกษ์เดินรถ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 9 30 43 110 127 167 524

SUNLONG / GOLDEN DRAGON SLK6111UE6NA CNG 446
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยได้รับโอนมาจากบริษัท พรีเมี่ยม แมเนจเมนท์ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 9 28 29 30 40 43 110 126 127 504 524 554 558

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติเหลว LNG)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
SUNLONG SLK6129CNG 2564-2565 บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 1
*1เป็นรถคันที่ดัดแปลงจากรถที่ใช้แก๊สธรรมชาติ NGV โดยนำมาจาก​สาย​ 554​ หมายเลขข้างรถ​ 554-4

*2ในช่วงที่ยังใช้เชื้อเพลิงแก๊สธรรมชาติ LNG เคยให้บริการ​ในสาย 29 504

*3ต่อมารถคันดังกล่าวได้กลับมาใช้แก๊สธรรมชาติ​ NGV​ และย้ายไปให้บริการ​ใน​สาย​ 108 554 ก่อนที่จะตัดจอดและปลดระวางในปี 2566

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีน้ำ​เงิน (ใช้พลังงาน​ไฟฟ้า​)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
MINEBUS NJL6106BEV 2564-2567 บริษัท บี.บี.ริช (ประเทศไทย) จำกัด 15
*1เคยให้บริการในสาย 35 (4-8)

*2ปัจจุบันรถทั้งหมดได้ย้ายไปให้บริการในสาย 77 (3-45)

2564-2566 บริษัท ชัยกรการเดินรถ จำกัด 12
*1เคยให้บริการในสาย 56 (4-40)

*2ปัจจุบันรถทั้งหมดได้ย้ายไปให้บริการในสาย 75 (4-13)

บริษัท เจริญบัส จำกัด 13
*1เคยให้บริการในสาย 80

*2ปัจจุบันรถบางส่วนได้ย้ายไปช่วยวิ่งในสาย 6 (4-1) และ 538 (1-24E) ที่เหลือตัดจอด

NEX-MINEBUS XML6115JEV 2566 บริษัท ธรรมนัส ทรานสปอร์ต จำกัด 20
*1เคยให้บริการในสาย 187 (1-17)

*2ต่อมาตัดจอด เนื่องจากไฟไม่พอวิ่งในเส้นทาง จึงได้นำรถชุดใหม่ที่มีความจุแบตมากกว่าชุดเดิมมาให้บริการแทน

*3ปัจจุบันรถบางส่วนได้ย้ายไปช่วยวิ่งในสาย 34 (1-3) / 168A (1-76) และ 549 (S4) ที่เหลือตัดจอด

บริษัท เศวกฉัตร จำกัด 24
*1เคยให้บริการในสาย 6 (4-1)

*2ต่อมาตัดจอด เนื่องจากความสูงของกล่องแบตเตอรี่ไม่รองรับการลอดใต้สะพานพระพุทธยอดฟ้า (ฝั่งธนบุรี)

*3ปัจจุบันรถบางส่วนได้ย้ายไปช่วยวิ่งในสาย 75 (4-13) / 132 (3-14) และบางส่วนย้ายไปให้บริการในสาย 517 (1-56) / 525 (1-58) / 526 (1-59) ที่เหลือตัดจอด

2566-2567 บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 39
*1เคยให้บริการในสาย 40 (4-39)

*2ต่อมาตัดจอด เนื่องจากไฟไม่พอวิ่งในเส้นทาง จึงได้นำรถชุดใหม่ที่มีความจุแบตมากกว่าชุดเดิมมาให้บริการแทน

*3ปัจจุบันรถบางส่วนได้ย้ายไปช่วยวิ่งในสาย 4 (3-36) / 28 (4-38) / 57 (4-41) และ 147 (4-25) ที่เหลือตัดจอด

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
SKYWELL NJL6129BEV 2563 บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 1
*1เป็นรถคันที่ บริษัท ซันชายน์รุ่งเรื่อง จำกัด ร่วมกับสมาร์ทบัสทดลองวิ่งให้บริการฟรีเพื่อทดสอบสมรรถนะของรถ

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 29 538 504

SKYWELL (MINEBUS)
*1เป็นรถคันที่ บริษัท ไมน์ โมบิลิตี คอร์ปอเรชั่น จำกัด ร่วมกับสมาร์ทบัสทดลองวิ่งให้บริการฟรีเพื่อทดสอบสมรรถนะของรถ

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 29 504 554 538

SUNLONG SLK6129EV
*1เป็นรถคันที่สมาร์ทบัสทดลองวิ่งให้บริการฟรีเพื่อทดสอบสมรรถนะของรถ

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 29 538 504

BYD K9RA
*1เป็นรถคันที่บริษัท สยาม แอดวานซ์ เทคโนโลยี รีเลชั่นชิป จำกัด ร่วมกับสมาร์ทบัสทดลองวิ่งให้บริการฟรีเพื่อทดสอบสมรรถนะของรถ

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 29 504 554 538

BC10A01 2564
*1เป็นรถคันที่ บริษัท สยาม แอดวานซ์ เทคโนโลยี รีเลชั่นชิป จำกัด ร่วมกับสมาร์ทบัสทดลองวิ่งให้บริการฟรีเพื่อทดสอบสมรรถนะของรถ

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 29 504 554 (ใช้กระสอบทรายบรรจุรถ)

รถโดยสารที่ให้บริการในอดีตของบริษัทเอกชน

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีครีม-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO BX340 2541-254X บริษัท รถรุ่งโรจน์ จำกัด (อำไพรุ่งโรจน์) XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 120

ISUZU JCR600YZNN
Mercedes-Benz LP911 252X-254X - 1 *1ปัจจุบันเปลี่ยนตัวถังใหม่และเปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2ปัจจุบันยังให้บริการในสาย 8 โดยบริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด

รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีครีม-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
ISUZU BF40 253X-254X - XX *1ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นสีขาว-น้ำเงิน และตัวถังคล้ายกับ Benz OF1617 (รถพัดลม)

*2ปัจจุบันให้บริการในนามของบริษัท ทรัพย์ 888 จำกัด

2535-254X บริษัท สหายยนต์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. ก่อนที่จะนำรถ ISUZU MT111L มาให้บริการแทน

*2เคยให้บริการในสาย 52[58]

MT111L 2542-≈2545 บริษัท ที.อาร์.บี.มอเตอร์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 14 99

บริษัท กำมัชพล จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 43

บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 104

254X-2552 บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2สันนิษฐานว่ามีการต่อความยาวของคัชชีรถจาก 10 เมตรเป็น 12 เมตร

*3เคยให้บริการในสาย 133

JCR600YZNN 254X-2553 บริษัท รวีโชค จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 122

254X-254X บริษัท นรภัทร์ 2002 จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 48

DAEWOO BF120 254X-255X บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 133

2542-2545 บริษัท ษารินทร์เซอร์วิส จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 103[59] 175

254X-2558 บริษัท รวีโชค จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 122

BF120S
HINO BX340 254X-255X
BX321 2548-2549 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยเคยทำสีเป็นสีขาว-น้ำเงิน จากนั้นกลับมาทำสีครีมแดง

*2เคยให้บริการในสาย 98 และวิ่งไปถึงอนุสาวรีย์ชัย ฯ ก่อนที่จะย้ายมาวิ่งในเส้นทางสาย 122 ในช่วงเวลาสั้น ๆ

บริษัท สหศรีสุพรรณยานยนต์ จำกัด
2543-2546 - *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 83

AK176 2533-2548 บริษัท เทพนิรมิตขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อคัสซีมาต่อตัวถังเอง ไม่ได้ซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 92

*3เปลี่ยนสีตัวถังเป็นสีขาว-น้ำเงิน (คาดเหลือง)

Mercedes-Benz OF1113 253X-254X บริษัท ธิติวัชขนส่ง จำกัด *1เคยให้บริการในสาย 6

*2ในเวลาต่อมารถทั้งหมดได้เปลี่ยนสีเป็นสีขาว-น้ำเงิน

รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีขาว-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO BX320 2563-2566 บริษัท บัส 33 จำกัด

และ บริษัท บัส 90 จำกัด

5
*1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท กิตติสุนทร จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 33 และ 90

254X-2563 บริษัท กิตติสุนทร จำกัด XX
*1เคยให้บริการในสาย 33 90

*2ในปี 2562 ได้มีรถเพลิงไหม้เสียหายไป 1 คัน คือ 33-9 / 13-4181 กทม.[60]

*3ในปี 2563 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสังกัดบริษัท บัส 33 จำกัด

- 254X-2555, 2562-2564 บริษัท สหขนส่งธนบุรี จำกัด (ธ.สหกรุง) *1เป็นรถที่ต่อตัวถังให้มีความคล้ายกับ Mitsubishi FK457P

*2เคยให้บริการในสาย 29

*3ตั้งแต่ปี 2555 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีชมพู ก่อนที่ในปี 2562 จะมีรถบางส่วนกลับมาทำสีขาว-น้ำเงิน

KL360 254X-2566 บริษัท ทรัพย์ 888 จำกัด 1
เคยให้บริการในสาย 8
BX340 บริษัท สาย 25 ร่วมใจ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 25

254X-255X บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์ จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 182

254X-2553 บริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 39[61]

*3ต่อมาในช่วงปี 2553 รถบางส่วนได้ทำสีชมพู

254X-2556 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด เคยให้บริการในสาย 150
254X-2564 บริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัด เคยให้บริการในสาย 5 74
บริษัท ลาดกระบังขนส่ง จำกัด
เคยให้บริการในสาย 143 151 152
254X-2565 บริษัท จ.เพชรสุพรรณทรานสปอร์ต จำกัด
เคยให้บริการในสาย 92
254X-2563 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 124

BX321
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 124 125

254X-2554 บริษัท อาร์ ที ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 35

254X-2566 บริษัท ไพชนะกิจ จำกัด

และ บริษัท สิทธิชาญชัย จำกัด

*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 46

*3ปัจจุบันรถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีส้ม

254X-2564 บริษัท กรุงเทพไฟว์สตาร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 89

บริษัท กรุงเทพบัสแอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 17

2548-255X บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 150

*3ต่อมาในช่วงปี 2551 รถบางส่วนได้ทำสีชมพู แต่ใช้สีนี้เพียงไม่นานก็กลับมาใช้สีขาว-น้ำเงินตามเดิม

AK176 254X-255X 1 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยนำรถธรรมดาครีมแดงจาก ขสมก. สาย 59 หมายเลขข้างรถ 1-40090 ที่ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงในปี พ.ศ. 2541 มาปรับปรุงสภาพใหม่[62]

*2เคยให้บริการในสาย 150

254X-2564 บริษัท ลาดกระบังขนส่ง จำกัด 3 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อมาจากบริษัทฮีโน่ ซึ่งเป็นคนละชุดกับรถธรรมดาครีมแดง HINO AK176 ที่ ขสมก. จัดซื้อในปี 2534

*2เคยใช้ตัวถังสีขาว-แดง ให้บริการในสาย 1013 ก่อนที่จะเปลี่ยนมาใช้ตัวถังสีขาว-น้ำเงิน

*3เคยให้บริการในสาย 151

≈2548-2560 บริษัท เทพนิรมิตขนส่ง จำกัด XX *1เคยให้บริการในสาย 92

*2ในปี 2560 รถทั้งหมดได้โอนย้ายไปสังกัดบริษัท ซัคเซสบัสเซอร์วิส จำกัด

ISUZU BF40
254X-2562 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด เคยให้บริการในสาย 109 131 144
บริษัท สหายยนต์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 52

254X-2566 บริษัท ทรัพย์ 888 จำกัด 6
เคยให้บริการในสาย 8 92
บริษัท สาย 25 ร่วมใจ จำกัด 2 เคยให้บริการในสาย 25
254X-2567 บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด 4
*1เคยให้บริการในสาย 8

*2ในช่วงปี 2567 รถบางส่วนได้โอนย้ายไปสาย 182 สังกัดบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์ จำกัด

254X-2563 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 113
JCR600YNZZ 254X-255X บริษัท ไพศิริเดินรถ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 38

บริษัท วิริยะวงศ์ รถร่วมบริการ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 147

บริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัด เคยให้บริการในสาย 5
254X-2551 บริษัท นรภัทร์ 2002 จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 48

2550-2553 *1เป็นรถที่เอกชนนำไปปรับปรุงสภาพตัวถังใหม่

*2เคยให้บริการในสาย 48

*2ตั้งแต่ปี 2553 รถได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีชมพูทั้งหมด

254X-2562 บริษัท สหายยนต์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 51 52

254X-2563 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. และในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 115 116 146

254X-2565 บริษัท ไทยบัสขนส่ง จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 8

MT111L 254X-255X บริษัท รถรุ่งโรจน์ จำกัด (อำไพรุ่งโรจน์) *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2สันนิษฐานว่ามีการต่อความยาวของคัชชีรถจาก 10 เมตรเป็น 12 เมตร[63]

*3เคยให้บริการในสาย 120

บริษัท ลาดกระบังขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 143

254X-2553 บริษัท ไทยเทรลเลอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง และในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 85

254X-2554 บริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 5

254X-255X, 2552-2554 บริษัท สยามบัสขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 19

254X-≈2558 บริษัท ไพศาลสามัคคีขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 92 139

254X-≈2560 บริษัท กำมัชพล จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 43

254X-2562 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง และต่อมาบางส่วนดัดแปลงเป็นรถปรับอากาศ

*2เคยให้บริการในสาย 104 150

บริษัท สหายยนต์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 51 52

254X-2563 บริษัท ที.อาร์.บี.มอเตอร์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 14 99

254X-2564 บริษัท กรุงเทพบัสแอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 17

MT111QB 2545-≈2560 บริษัท กรุงเทพไฟว์สตาร์ทรานสปอร์ต จำกัด 1 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยนำรถธรรมดาครีมแดงจาก ขสมก. สาย 129 หมายเลขข้างรถ 1-50009 ที่ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงในปี พ.ศ. 2545 มาปรับปรุงสภาพใหม่[64]

*2เคยให้บริการในสาย 89

254X-2560 บริษัท 207 เดินรถ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยนำรถธรรมดาครีมแดงจาก ขสมก. สาย 3 หมายเลขข้างรถ 1-50064 ที่ถูกปลดระวางเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงในปี พ.ศ. 2539 และให้ช่าง ขสมก. ซ่อมจนถึงปี พ.ศ. 2542 มาปรับปรุงสภาพใหม่

*2เคยให้บริการในสาย 207

*3ในปี 2563 รถคันดังกล่าวได้ปรับปรุงสภาพเป็นสีส้ม และกลับมาให้บริการในเส้นทางเดิม โดยได้โอนย้ายไปสังกัด บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ

DAEWOO BF120 2551-2553 บริษัท วิริยะวงศ์ รถร่วมบริการ จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจาก บจก.สุพรรณยานยนต์มาบางส่วนเพื่อทดแทนรถชุดเดิมของสายที่หยุดวิ่งไป

*2เคยให้บริการในสาย 147

254X-2553 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. และในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 147

บริษัท รถรุ่งโรจน์ จำกัด (อำไพรุ่งโรจน์) *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. และในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 120

254X-2554 นางพเยาว์ อ่องบางน้อย (บจก.อ่องบางน้อยยานยนต์) *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. และในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 81

254X-2555 ห้างหุ้นส่วนจำกัด จงรุ่งทัวร์ *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 201

*3ปัจจุบันรถบางส่วนพบเห็นได้ในสาย 8

254X-2558 บริษัท ษารินทร์เซอร์วิส จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 175

*3ปัจจุบันรถบางส่วนพบเห็นได้ในสาย 27 46 92 182

254X-2562 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง และต่อมาบางส่วนดัดแปลงเป็นรถปรับอากาศ

*2เคยให้บริการในสาย 104

บริษัท ที.อาร์.บี.มอเตอร์ จำกัด 2 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 99

254X-2567 บริษัท สุพรรณยานยนต์ จำกัด 24
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 64

254X-2564 บริษัท กำมัชพล จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 28 43 108

ห้างหุ้นส่วนจำกัด พีแอนด์เจบัส 1 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจาก บจก.ษารินทร์เซอร์วิสมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 123

2567 บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจาก บจก.กระแสร์เงินยานยนต์

*2เคยให้บริการในสาย 8

*3ปัจจุบันย้ายกลับไปให้บริการในสาย 182

2556-2567 2
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจากห้างหุ้นส่วนจำกัด จงรุ่งทัวร์

*2เคยให้บริการในสาย 8

*3ในช่วงปี 2567 รถบางส่วนได้โอนย้ายไปสาย 182 สังกัดบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์ จำกัด

254X-255X บริษัท สหขนส่งธนบุรี จำกัด (ธ.สหกรุง) XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 149 169

บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 113

บริษัท 207 เดินรถ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 207

บริษัท ลาดกระบังขนส่ง จำกัด 1 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 143

BF120S
254X-2553 บริษัท วิริยะวงศ์ รถร่วมบริการ จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. และในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนสีเป็นสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 147

254X-2559 บริษัท ต.สยามวิศวยนต์ 1999 จำกัด (เจริญกัลปพฤกษ์เดินรถ) 32 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 9

*3ปัจจุบันพบเห็นรถบางส่วนได้ในรูปแบบปรับปรุงสภาพเป็นสีชมพู และให้บริการในสาย 203

254X-2563 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 110 113 115 (เคยนำไปช่วยวิ่งสาย 19 ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง)

บริษัท ออนซอร์ ทรานสปอร์ต เซอร์วิสเซส จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 40

บริษัท ไบร์ทสตาร์ซัพพลาย (1999) จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 30

254X-2564 บริษัท กำมัชพล จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 108

บริษัท กรุงเทพไฟว์สตาร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 89 162

บริษัท สหขนส่งธนบุรี จำกัด (ธ.สหกรุง)
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 29 39 163

ห้างหุ้นส่วน​จำกัด​ ทีพีการเดินรถ
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 27 58

254X-2565 บริษัท รวีโชค จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 44 122

*3ในปี 2565 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสาย 27 สังกัดบริษัท สามัคคีบัส จำกัด

2544-2563 บริษัท มอเตอร์บัส จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 126 (เคยนำไปช่วยวิ่งสาย 19 ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง)

2545-≈2559 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. และต่อมาบางส่วนดัดแปลงเป็นรถปรับอากาศ

*2เคยให้บริการในสาย 69 104

Mitsubishi FK457P 2543-2558 บริษัท สหขนส่งธนบุรี จำกัด (ธ.สหกรุง) *1เป็นรถที่เอกชนนำรถปรับอากาศสีฟ้ารุ่นเดียวกันบางส่วนของบริษัทมาดัดแปลงเป็นรถธรรมดา

*2เคยให้บริการในสาย 149 157 159 163 169

254X-255X บริษัท ลาดกระบังขนส่ง จำกัด เคยให้บริการในสาย 143
Mercedes-Benz LP911 25XX-2566 บริษัท ทรัพย์ 888 จำกัด 1
เคยให้บริการในสาย 8
OF1113 2557-2566 บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด เคยให้บริการในสาย 182
254X-2564 นายพยนต์ ธารณา (ห้างหุ้นส่วนจำกัด พีแอนด์เจบัส) XX *1เคยให้บริการในสาย 123

*2ต่อมาในช่วงปี 2553 รถบางส่วนได้ทำสีชมพู

254X-2554 บริษัท ธิติวัชขนส่ง จำกัด *1เคยให้บริการในสาย 6

*2ต่อมาในช่วงปี 2554 รถบางส่วนได้ทำสีชมพู

OF1617/61 254X-2550 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 88[65]

O1114L 2548-2555 บริษัท ยูเนี่ยนบัสเซอร์วิส จำกัด *1เป็นรถที่นำรถปรับอากาศสีฟ้า 10 เมตรของ บ.เอสเค ที่เคยใช้รถรุ่นนี้ในสาย ปอ.4 ปอ.29 ปอ.44 (538) มาดัดแปลงเป็นรถธรรมดา

*2เคยให้บริการในสาย 187 188

บริษัท ธรรมพล จำกัด (ธรรมนัสทรานสปอร์ต)
OF1417 254X-2567 บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด 1
*1เคยให้บริการในสาย 8

*2ในช่วงปี 2567 รถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 182 สังกัดบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์ จำกัด

- 2557-2567 บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด
*1เคยให้บริการในสาย 182

*2ในช่วงปี 2567 รถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 8 สังกัดบริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด ต่อมาได้ย้ายกลับมาให้บริการในสาย 182 เหมือนเดิม

2567 บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด
*1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 8

*3ต่อมาได้โอนย้ายกลับไปสาย 182 สังกัดบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด

25XX-2566 บริษัท สาย 25 ร่วมใจ จำกัด
เคยให้บริการในสาย 25
254X-2566 บริษัท ทรัพย์ 888 จำกัด 5
เคยให้บริการในสาย 8
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีฟ้า
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
ISUZU - 2551-2552 บริษัท คณะศยามยานยนต์ จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนนำรถปรับอากาศสีฟ้ารุ่นเดียวกันบางส่วนของบริษัทมาดัดแปลงเป็นรถธรรมดา

*2เคยให้บริการในสาย 537

รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีชมพู
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO BX320 2553-256 บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด 1
เคยให้บริการในสาย 8
2563-2565 บริษัท บัส 33 จำกัด 2 *1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท กิตติสุนทร จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 33

2553-2563 บริษัท กิตติสุนทร จำกัด XX
*1เคยให้บริการในสาย 33 90

*2ในปี 2563 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสังกัดบริษัท บัส 33 จำกัด

- 2555-2562 บริษัท สหขนส่งธนบุรี จำกัด (ธ.สหกรุง) *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 29

*3ในปี 2562 มีรถบางส่วนกลับมาทำสีขาว-น้ำเงิน

BX340 2553-2564 บริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัด
เคยให้บริการในสาย 74
บริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด 19
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 39

BT51 2553-2565 บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด 2 *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 132

BX321 2551-2552 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด 1 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 150

*3รถคันนี้ได้ทำสีชมพูในช่วงปี 2551 แต่ใช้สีนี้เพียงไม่นานก็กลับมาใช้สีขาว-น้ำเงินตามเดิม

2552-2555 XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน และเป็นคนละคันกับคันที่ถูกทำสีชมพูได้ไม่นาน

*2เคยให้บริการในสาย 150

2553-2564 บริษัท กรุงเทพไฟว์สตาร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 89

บริษัท กรุงเทพบัสแอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 17

2553-2562 บริษัท ไทยเทรลเลอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 85

2553-2566 บริษัท สิทธิชาญชัย จำกัด 1
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 3-10 (46)

NISSAN CV45V บริษัท สาย 25 ร่วมใจ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 25

2553-2565 บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด 2 *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 132

Leyland Albion Viking Vk55 3
ISUZU CXG19X
BD61 1
BF40 10
บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด 2
*1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 8

2553-2567 4 *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 8

*2ในช่วงปี 2567 รถบางส่วนได้โอนย้ายไปสาย 182 สังกัดบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์ จำกัด

2553-2566 บริษัท ทรัพย์ 888 จำกัด 4 *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 8

บริษัท ไพศาลสามัคคีขนส่ง จำกัด 1
*1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 92

*3ในปี 2567 รถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 27 สังกัดบริษัท สามัคคีบัส จำกัด

บริษัท สาย 25 ร่วมใจ จำกัด 2
*1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 25

2553-2563 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 113

2553-2562 บริษัท สหายยนต์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 52

*3ในเวลาต่อมา รถบางส่วนได้ทยอยกลับมาใช้สีขาว-น้ำเงิน

JCR600YNZZ *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 51 52

*3ในเวลาต่อมา รถบางส่วนได้ทยอยกลับมาใช้สีขาว-น้ำเงิน

2552-255X บริษัท วิริยะวงศ์ รถร่วมบริการ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 147

บริษัท ไทยเทรลเลอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 85

2553-2564 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 116 146

2553-2563 บริษัท นรภัทร์ 2002 จำกัด 26 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 48

*3ปัจจุบันพบเห็นรถบางส่วนได้ในรูปแบบปรับปรุงสภาพเป็นสีชมพู และให้บริการในสาย 27

2567 บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด 1
*1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท ฉมาพันธ์การเดินรถ จำกัด โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีส้ม

*2เคยให้บริการในสาย 8

*3ในช่วงปี 2567 รถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 27 สังกัดบริษัท สามัคคีบัส จำกัด

2553-2565 บริษัท รวีโชค จำกัดช
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 122

บริษัท ไทยบัสขนส่ง จำกัด 17
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 8

2555-255X บริษัท สหขนส่งธนบุรี จำกัด (ธ.สหกรุง) XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 149

MT111L 2552-2560 บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2สันนิษฐานว่ามีการต่อความยาวของคัชชีรถจาก 10 เมตรเป็น 12 เมตร

*3เคยให้บริการในสาย 133

2553-≈2560 บริษัท กำมัชพล จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 43

2553-2562 บริษัท ไทยเทรลเลอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 85

บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 104

บริษัท สหายยนต์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 51 52

*3ในเวลาต่อมา รถบางส่วนได้ทยอยกลับมาใช้สีขาว-น้ำเงิน

2553-≈2559 บริษัท ที.อาร์.บี.มอเตอร์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 14 99

2553-2564 บริษัท กรุงเทพบัสแอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 17

FVR13 2554-2556 บริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัด *1เคยให้บริการในสาย 5

*2ในปี 2555 รถบางส่วนได้โอนย้ายไปยังห้างหุ้นส่วนจำกัด จงรุ่งทัวร์ และให้บริการในสาย 201

*3ในปี 2557 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปยังบริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด และให้บริการในสาย 39

2555-2556 ห้างหุ้นส่วนจำกัด จงรุ่งทัวร์ *1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 201

*3ในปี 2557 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปยังบริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด และให้บริการในสาย 39

2557-2564 บริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด
*1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัด และห้างหุ้นส่วนจำกัด จงรุ่งทัวร์

*2เคยให้บริการในสาย 39

- *1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 39

2554-2556 บริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัด *1เคยให้บริการในสาย 5

*2ในปี 2557 รถได้โอนย้ายไปยังบริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัดทั้งหมด และให้บริการในสาย 39

DAEWOO BF120 2553-≈2559 บริษัท อำไพรุ่งโรจน์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 120

2553-2564 บริษัท กำมัชพล จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 28 43 108

2552-2562 บริษัท วิริยะวงศ์ รถร่วมบริการ จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 147

บริษัท ไทยเทรลเลอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 85

2553-2562 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 104

2554-2565 บริษัท อ่องบางน้อยยานยนต์​ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 81

2553-2565 บริษัท รวีโชค จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 122

2553-2563 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 113

BF120S *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 113 115 127

บริษัท ออนซอร์ ทรานสปอร์ต เซอร์วิสเซส จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 40

บริษัท มอเตอร์บัส จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 126

2552-2562 บริษัท วิริยะวงศ์ รถร่วมบริการ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 147

บริษัท ไทยเทรลเลอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 85

2553-2564 บริษัท กรุงเทพไฟว์สตาร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 89 162

2553-2565 บริษัท รวีโชค จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง และสีขาว-น้ำเงิน

*2มีรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท กรุงเทพไฟว์สตาร์ทรานสปอร์ต จำกัดมาบางส่วน

*3เคยให้บริการในสาย 44 122

*4ในปี 2565 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสาย 27 สังกัดบริษัท สามัคคีบัส จำกัด

2553-≈2559 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 69 104

2567 บริษัท สามัคคีบัส จำกัด 1 *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท ฉมาพันธ์การเดินรถ จำกัด โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีส้ม

*2เคยให้บริการในสาย 27

*3ต่อมารถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 8 สังกัดบริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด

บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด
*1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท สามัคคีบัส​ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 8

*3ต่อมาได้โอนย้ายกลับไปสาย 87 สังกัดบริษัท สามัคคีบัส​ จำกัด

2553-2562 บริษัท สหขนส่งธนบุรี จำกัด (ธ.สหกรุง) XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 29 39 163

*3ในปี 2562 มีรถบางส่วนกลับมาทำสีขาว-น้ำเงิน ให้บริการในสาย 29

Mitsubishi FK457P 2554-2558 1 *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 149 157

Mercedes-Benz OF1113 2553-2563 ห้างหุ้นส่วนจำกัด พีแอนด์เจบัส XX *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 123

*3ในปี 2563 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีส้ม และย้ายไปให้บริการในสาย 3-21 (207) ในปี 2564

2554-2556 บริษัท ธิติวัชขนส่ง จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 6

2556-2564 บริษัท รถเมล์ไทย จำกัด 3
*1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท ธิติวัชขนส่ง จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 105 105ก

OF1617 2556-2562 2 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยนำรถธรรมดาครีมขาว Mercedes-Benz OF1617 ที่หมดสัญญาเช่าจาก ขสมก. มาปรับปรุงสภาพใหม่

*2เคยให้บริการในสาย 105 105ก

2553-2566 บริษัท ทรัพย์ 888 จำกัด 1
เคยให้บริการในสาย 8
- 2553-2567 บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 182

*3ในปี 2567 รถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 8 สังกัดบริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด

2567 บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด
*1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 8

*3ต่อมาได้โอนย้ายกลับไปสาย 182 สังกัดบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด

OF1413 2553-2566 บริษัท ทรัพย์ 888 จำกัด
เคยให้บริการในสาย 8
LP321
LP911 บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 182

บริษัท สาย 25 ร่วมใจ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 25

2553-2567 บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 8

*3ในช่วงปี 2567 รถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 182 สังกัดบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์ จำกัด

2553-2565 บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด 2 *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 132

1217 1
1617
1617K
1619
Leyland Albion Viking Vk55 2553-2567 บริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 8

*3ในช่วงปี 2567 รถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 182 สังกัดบริษัท กระแสร์เงินยานยนต์ จำกัด

- 2553-2565 บริษัท สันติมิตรขนส่ง จำกัด 8
*1เป็นรถที่เอกชนนำมาปรับปรุงสภาพจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 132

บริษัท ทรัพย์ 888 จำกัด 1
เคยให้บริการในสาย 8
2553-2566 4
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีเขียว
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
NEOPLAN JNP6797GC 2551 - 1 *1เป็นรถตัวอย่างให้ผู้เดินรถมินิบัสที่สนใจนำไปยืมทดลองวิ่งเผื่อกรณีที่สนใจซื้อรถเพิ่ม โดยเริ่มทดลองตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2551

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 11 27 42 75 80 203 207 เป็นต้น[66]

รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีส้ม
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO FG1JPKV 2563-2564 บริษัท ซัคเซสบัสเซอร์​วิส​ จำกัด 1
เคยให้บริการในสาย 92
Mercedes-Benz OF1113 2564-2565 บริษัท ฉมาพันธ์การเดินรถ จำกัด
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากห้างหุ้นส่วนจำกัด พีแอนด์เจบัส โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 3-21 (207)

*3ในปี 2565 รถคันดังกล่าวได้กลับมาทำสีชมพู และได้โอนย้ายไปสาย 27 สังกัดบริษัท สามัคคีบัส จำกัด

DAEWOO BF120S 2563-2566
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 3-21 (207)

*3ในปี 2567 รถคันดังกล่าวได้เปลี่ยนมาทำสีชมพู และได้โอนย้ายไปสาย 27 สังกัดบริษัท สามัคคีบัส จำกัด และต่อมารถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 8 สังกัดบริษัท กลุ่ม 39 เดินรถ จำกัด

ISUZU MT111QB
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 3-21 (207)

*3ในปี 2566 รถคันดังกล่าวได้เปลี่ยนมาทำสีชมพู และได้โอนย้ายไปสาย 27 สังกัดบริษัท สามัคคีบัส จำกัด

JCR600YNZZ 7
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีขาว-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 3-21 (207)

*3ในปี 2566 รถบางส่วนได้กลับมาทำสีชมพู และได้โอนย้ายไปสาย 27 สังกัดบริษัท สามัคคีบัส จำกัด

รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีส้ม
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
NISSAN CBF87FHSB 2553-2563 บริษัท แกรนด์ซิตี้บัส จำกัด 15 เคยให้บริการในสาย 82
2563-2564 เคยให้บริการในสาย 75
2552-2566 บริษัท บ้านทองบัส จำกัด 3 เคยให้บริการในสาย 2
2552-2568 บริษัท เนื้อทองทรานสปอร์ต จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 12
บริษัท ยูทีบีทรานสปอร์ต จำกัด
บริษัท เทพประทานพรทรานสปอร์ต จำกัด
2552-2566
เคยให้บริการในสาย 4
บริษัท ทเวนตี้บัส จำกัด เคยให้บริการในสาย 77
บริษัท น้อทโอเวอร์ จำกัด
บริษัท รูธ 45 จำกัด
บริษัท อิทธิกรและเพื่อนทรานสปอร์ต จำกัด
เคยให้บริการในสาย 12
บริษัท เจริญบัส จำกัด
2552-2567
เคยให้บริการในสาย 14
บริษัท มหาชนยานยนต์ จำกัด
เคยให้บริการในสาย 4-10(42) 77
บริษัท สยามบัส จำกัด
เคยให้บริการในสาย 14
2552-256X บริษัท กรุงเทพ เมโทรบัส จำกัด เคยให้บริการในสาย 11
บริษัท ทีบัส ทรานสปอร์ต จำกัด เคยให้บริการในสาย 92
2552-2563 บริษัท กิจประพล จำกัด เคยให้บริการในสาย 40
บริษัท ธัญนันท์ กรุ๊ป จำกัด
บริษัท บางกอกบัส จำกัด
2553-2566 บริษัท ขุมทองทัวร์ จำกัด เคยให้บริการในสาย 4 12
2553-2565 บริษัท บ้านโป่งบัสบอดี้ จำกัด
*1เคยให้บริการในสาย 34 39

*2ในปี 2565 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสังกัดบริษัท สหายตั้งใจพัฒนาบัส จำกัด

2552-2565 บริษัท สหายตั้งใจพัฒนาบัส จำกัด
*1เคยให้บริการในสาย 34 39

*2ในปี 2564 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสังกัดบริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด

2565-2567 - 1
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท สหายตั้งใจพัฒนาบัส จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 34

2564 บริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด 7
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท สหายตั้งใจพัฒนาบัส จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 1-5 (39)

Mercedes-Benz O1114L 3
2552-2564 บริษัท สหายตั้งใจพัฒนาบัส จำกัด XX *1เคยให้บริการในสาย 39

*2ในปี 2564 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสังกัดบริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด

2552-2565 *1เคยให้บริการในสาย 34 77

*2ในปี 2565 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสังกัดบริษัท ทเวนตี้บัส จำกัด

2565-2566 บริษัท ทเวนตี้บัส จำกัด
*1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท สหายตั้งใจพัฒนาบัส จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 77

- 1 *1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท สหายตั้งใจพัฒนาบัส จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 34

ISUZU FVR13 2563-2564 บริษัท หลีกภัยขนส่ง จำกัด 2
*1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท บี.ที.ดี. (2001) จำกัด และห้างหุ้นส่วนจำกัด จงรุ่งทัวร์ โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีชมพู

*2เคยให้บริการในสาย 1-5 (39)

NPR82K 2552-2563 บริษัท เกลียวเวิลด์ จำกัด XX *1เคยให้บริการในสาย 6 17 46 68 75

*2ในปี 2563 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสาย 1

2552-2565
*1เคยให้บริการในสาย 39 42 80

*2ในปี 2564-2565 รถที่เหลือบางส่วนได้โอนย้ายไปสาย 82

HENGTONG CKZ6797HN 2552-2564 บริษัท มิตรขนส่งมวลชน จำกัด เคยให้บริการในสาย 1 17 40
บริษัท เฮงธงบัส จำกัด เคยให้บริการในสาย 14 39 71
2554-2562 บริษัท มินิบัสไทยสายสิบเอ็ด จำกัด
เคยให้บริการในสาย 71
YOUNGMAN JNP6797GC 2552-≈2558 บริษัท ไทยคูชัย จำกัด เคยให้บริการในสาย 1
2552-≈2562 บริษัท มินิบัสไทยสายสิบเอ็ด จำกัด เคยให้บริการในสาย 71
WINWIN LCK6785RAN 2554-2566 บริษัท ฉมาพันธ์การเดินรถ จำกัด 26
เคยให้บริการในสาย 20 27 71
2564-2566 บริษัท สามัคคีบัส จำกัด 2
เคยให้บริการในสาย 71
255X-2564 บริษัท วินวินเอ็นจีวี จำกัด 1
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
NISSAN CNG 270Hp 253X-2557 บริษัท หาญทรานสปอร์ต จำกัด 1 *1เคยให้บริการในสาย 44

*2ในปี 2557 รถได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

HINO BX340 254X-2556 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 150
HO7C 254X-2560 บริษัท 207 เดินรถ จำกัด เคยให้บริการในสาย 207
254X-2563 บริษัท ไพศาลสามัคคีขนส่ง จำกัด 16
*1เคยให้บริการในสาย 139

*2ปัจจุบันรถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

RF720 2528-≈2532 บริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัด 180 เป็นรถที่ ขสมก. ให้บริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัด วิ่งในวันที่ 22 กรกฎาคม 2528 ในสาย ปอ.4 ปอ.6 ปอ.7 ปอ.8 และ ปอ.29
Mercedes- Benz OF1617/61 ≈2532-255X XX *1เดิมรถรุ่นนี้จะเป็นรถทรงสูง ลักษณะโดยรวมคล้ายรถปาดาเน่ บขส. ก่อนที่จะดัดแปลงเป็นทรงปาดาเน่แบบเดียวกับรถรุ่นที่ ขสมก. นำมาประจำการในปี 2534

*2เคยให้บริการในสาย ปอ.4 (504) ปอ.6 (506) ปอ.7 (507) ปอ.8 (508) ปอ.29 ปอ.44 (538) ปอ.84

*3ต่อมารถบางส่วนได้โอนย้ายไปสังกัดบริษัท สหายยนต์ จำกัด และให้บริการในสาย 538

≈2545-255X *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 504 507 538 ปอ.29 ปอ.84

254X-2551 บริษัท ซิตี้บัส จำกัด เคยให้บริการในสาย ปอ.สาย 92
254X-2553 บริษัท สหายยนต์ จำกัด *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 538

≈2545-2547 บริษัท สุพรรณยานยนต์ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 64

≈2545-2563 บริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต​ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 542

*3ในปี 2555 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

บริษัท บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524 จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 524

*3ในปี 2557 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

บริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด (วังศกาญจน์) *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 157 170 172 173 174 177 183 528 529 544

*3ตั้งแต่ปี 2554 รถได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลืองทั้งหมด ก่อนที่ในปี 2562 จะมีรถบางส่วนกลับมาทำสีครีม-น้ำเงิน ให้บริการในสาย 157 170

2562-2563 4 *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยกลับมาทำสีเดิมเหมือนเช่นที่เคยใช้ในช่วงก่อนที่รถไปปรับปรุงสภาพในปี 2555

*2เคยให้บริการในสาย 157 170

2547-2563 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจากบริษัท สุพรรณยานยนต์ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 113

2538-2555 บริษัท ยูเนี่ยนบัสเซอร์วิส จำกัด *1มีการสันนิษฐานว่ารถรุ่นนี้ ได้ถูกดัดแปลงจากรถปรับอากาศ Mercedes Benz OF1617/61 ที่ ขสมก. นำมาให้บริการระหว่างปี 2531 - 2534 ให้กลายเป็นทรงปาดาเน่ เนื่องจากเลขทะเบียนตรงกัน

*2เคยให้บริการในสาย ปอ.สาย 7, 15, 68, 84, 205 และ 547

*3ต่อมารถในสาย ปอ.สาย 7, 68 ได้โอนย้ายไปสังกัดบริษัท ต.มานิตย์การเดินรถ จำกัด

≈2551-2564 บริษัท ต.มานิตย์การเดินรถ จำกัด *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท ยูเนี่ยนบัสเซอร์วิส จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย ปอ.สาย 7, 68

*3ตั้งแต่ปี 2553 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

≈2545-255X บริษัท พรวิวัฒน์เดินรถ จำกัด 3 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 28[67]

≈2545-2554 บริษัท หาญทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 44

*3ในปี 2554 รถได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลืองทั้งหมด

254X-2557 บริษัท สายสนั่น ณ อยุธยา จำกัด 2 *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 44

*3ในปี 2557 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

≈2545-2551 ห้างหุ้นส่วนจำกัด 539 รุ่งเรือง (บุญมงคลกาญจน์) XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 539

*3ในปี 2551 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

≈2545-2559 บริษัท บริบูรณ์อินฟินิตี้ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 140

≈2545-2560 บริษัท 207 เดินรถ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 207

2556-2558 บริษัท กรุงเทพบัสแอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจากบริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 17

≈2545-2562 บริษัท กำมัชพล จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 28

บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 104

*3ในปี 2554 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

OH1628 253X-254X บริษัท หาญทรานสปอร์ต จำกัด เคยให้บริการในสาย 44
O405N 254X-255X บริษัท บริบูรณ์​อินฟินิตี้ จำกัด 2 เคยให้บริการในสาย 140[68]
DAEWOO BF120S 2557-2562 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนนำรถธรรมดาสีขาว-น้ำเงินรุ่นเดียวกันบางส่วนของบริษัทมาดัดแปลงเป็นรถปรับอากาศ

*2เคยให้บริการในสาย 104 150

ISUZU MT111L 2558-2562 3 *1เป็นรถที่เอกชนนำรถธรรมดาสีขาว-น้ำเงินรุ่นเดียวกันบางส่วนของบริษัทมาดัดแปลงเป็นรถปรับอากาศ

*2เคยให้บริการในสาย 104

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีเหลือง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
SUNLONG / GOLDEN DRAGON SLK6111UE6NA CNG 2551-2564 บริษัท ซิตี้บัส จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 8 92 115
2552-2562 บริษัท พรีเมี่ยม แมเนจเมนท์ จำกัด *1เคยให้บริการในสาย 29 40 504 549 550 551 552 552A 553 554 558

*2ในปี 2554 รถบางส่วนจำนวน 40 คันได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีขาว และให้ ขสมก. เช่าเดินรถในสาย 522 และทยอยให้เช่าเพิ่ม 3 คันเพื่อทดแทนคันที่ปลดระวางเนื่องจากการซ่อมบำรุง

*3ตั้งแต่ปี 2562 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

2551-2555 บริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต​ จำกัด 4 *1เดิมทำตัวถังสีขาวคาดฟ้าและเหลือง ต่อมาไม่นานได้เปลี่ยนมาใช้ตัวถังสีเหลืองคาดน้ำตาล[69]

*2เคยให้บริการในสาย 542

2555-2564 บริษัท ไบร์ทสตาร์ซัพพลาย (1999)​ จำกัด
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต​ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 30

2552-2563 บริษัท นรภัทร์ 2002 จำกัด 22
เคยให้บริการในสาย 48
2552-2564 บริษัท เคพีพี ทรานสปอร์ต จำกัด 5
เคยให้บริการในสาย 27
2552 บริษัท สหายยนต์ จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 538 ในช่วงเวลาสั้นๆ ก่อนที่จะย้ายไปวิ่งรถหมวด 3 ในสาย 356
2553-2563 บริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด (วังศกาญจน์)
เคยให้บริการในสาย 171 172 173 529
2554-2562 บริษัท ธรรมนัสทรานสปอร์ต จำกัด
*1รถชุดนี้มีความพิเศษมากกว่ารถชุดอื่น โดยรถชุดนี้จะยกพื้นสูงพร้อมทั้งวางถังก๊าซไว้ใต้ท้องรถ ในขณะที่รถชุดอื่นๆ จะวางพื้นต่ำและวางถังก๊าซไว้ด้านบนหลังคา

*2เคยให้บริการในสาย 187 523

2557-2563 บริษัท พรพิน ทรานสปอร์ต จำกัด
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท พรีเมี่ยม แมเนจเมนท์ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 40

2559-2564 บริษัท บริบูรณ์​อินฟินิตี้ จำกัด
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 140

2566 1
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 529

2564-2566
SUNLONG SLK6985CNG 2553-2556 บริษัท พรีเมี่ยมบัส จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 537
- เคยให้บริการในสาย 20
2553-2563 บริษัท ต.สยามวิศวยนต์ 1999 จำกัด (เจริญกัลปพฤกษ์เดินรถ) *1เคยให้บริการในสาย 9

*2ในปี 2563 รถบางส่วนจำนวน 9 คันได้โอนย้ายไปยังบริษัท สมาร์ทบัส จำกัด และนำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

บริษัท ศรีสวัสดิ์ยนต์กิจ จำกัด เคยให้บริการในสาย 6 17
บริษัท เศวกฉัตร จำกัด *1เคยให้บริการในสาย 6

*2ตั้งแต่ปี 2563 รถได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้าทั้งหมด

2552-2563 บริษัท กิตติสุนทร จำกัด
*1เคยให้บริการในสาย 33

*2ในปี 2563 รถบางส่วนได้โอนย้ายไปยังบริษัท บัส 33 จำกัด

2563-2566 บริษัท บัส 33 จำกัด 17
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท กิตติสุนทร จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 33

2553-2564 บริษัท ทีบัสทรานสปอร์ต จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 30 81 92 203 207
บริษัท บริการเดินรถสยาม จำกัด
เคยให้บริการในสาย 29 44
2553-2565 บริษัท พชรบัส จำกัด
เคยให้บริการในสาย 5 18 28 30 56 60 71 80 203
2553 บริษัท ธรรมพล จำกัด (ธรรมนัสทรานสปอร์ต) *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท พรีเมี่ยมบัส จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 523 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ

2553-2566 บริษัท บีเอ็นจีวี​โลจิสติกส์​ จำกัด
เคยให้บริการในสาย 97
2554-2566 บริษัท เคพีพีทรานสปอร์ต​ จำกัด 17
เคยให้บริการในสาย 27
ZHONGTONG​ (WINWIN) LCK6910GC 2560-2564 บริษัท ชัยกรการเดินรถ จำกัด 8 *1เคยให้บริการในสาย 56 64

*2ตั้งแต่ปี 2563 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

2564 - 2 *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท บริบูรณ์​อินฟินิตี้ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 38 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ

2555-2556, 2561-2562 1 เคยให้บริการในสาย 52
2564-2565 บริษัท สามัคคีบัส​ จำกัด
เคยให้บริการในสาย 14
บริษัท บริบูรณ์​อินฟินิตี้ จำกัด *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วินวิน เอ็นจีวี จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 529

*3ในปี 2565 รถได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

2564 2 *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วินวิน เอ็นจีวี จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 529

*3ในปี 2564 รถทั้งหมดได้โอนย้ายไปยังสาย 38

2553-2564 บริษัท ฉมาพันธ์การเดินรถ จำกัด 8
*1เคยให้บริการในสาย 3-21 (207)

*2ตั้งแต่ปี 2563 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

*3ในปี 2564 รถเริ่มทยอยหยุดให้บริการ และถูกตัดจอดในเวลาต่อมา

2566 1 เคยให้บริการในสาย 3-21 (207) โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
2553-2566 XX
เคยให้บริการในสาย 14
2563-2564 บริษัท เจริญ​บัส จำกัด 2 *1เคยให้บริการในสาย 80

*2ต่อมาไม่นานรถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

FOTON BJ6920C6MCB 2551-2553 บริษัท เคพีพีทรานสปอร์ต จำกัด เคยให้บริการในสาย 27
2551-≈2558 บริษัท แกรนต์ซิตี้บัส จำกัด 4 เคยให้บริการในสาย 75 82
2556-≈2558 บริษัท เศรษฐวัฒน์การเดินรถ จำกัด (ชัยกรการเดินรถ) XX เคยให้บริการในสาย 56
2560-2564 บริษัท ชัยกรการเดินรถ จำกัด 1
YANGTSE WG6120NHM 2554-2563 บริษัท บางกอก​ยูเนี่ยนเซอร์วิส​ 524 จำกัด เคยให้บริการในสาย 524
บริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต จำกัด เคยให้บริการในสาย 542
2554-2564 บริษัท บี.บี.ริช ประเทศไทย จำกัด 14 เคยให้บริการในสาย 35
2556-2564 บริษัท ไบร์ทสตาร์ซัพพลาย (1999) จำกัด
*1เคยให้บริการในสาย 30

*2ในปี 2564 รถบางส่วนจำนวน 6 คันได้โอนย้ายไปยังบริษัท วิษณุ​ 2021 จำกัด

2564-2565 บริษัท วิษณุ​ 2021 จำกัด 6
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท ไบร์ทสตาร์ซัพพลาย (1999) จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 17

HIGER KLQ6120G 2551 บริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัด 7 เคยให้บริการในสาย 507 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ[70]
2554 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด 1 เคยให้บริการในสาย 127 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
2559 บริษัท บริบูรณ์อินฟินิตี้ จำกัด เคยให้บริการในสาย 140 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
2551-2558 บริษัท มายบัส จำกัด 18 *1เคยให้บริการในสาย 64

*2ในปี 2555 รถบางส่วนได้นำไปวิ่งรถ Shuttle Bus ระหว่างห้างสรรพสินค้าเมกาบางนาและอิเกียบางนาไปยังสถานีอุดมสุข[71] ก่อนที่จะย้ายกลับเข้าสู่เส้นทางเดิม

2551-2565 บริษัท หาญทรานสปอร์ต จำกัด XX
เคยให้บริการในสาย 44
ห้างหุ้นส่วนจำกัด บุญมงคลกาญจน์
เคยให้บริการในสาย 539

ปัจจุบันปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

2551-2563 ห้างหุ้นส่วนจำกัด เทพนครบริการ
เคยให้บริการในสาย 545
KLQ6920GC 2551-2553
บริษัท ไทยเทรลเลอร์ทรานสปอร์ต จำกัด เคยให้บริการในสาย 85
DAEWOO BS106 2554-2563 บริษัท เศรษฐวัฒน์การเดินรถ จำกัด (ชัยกรการเดินรถ) เคยให้บริการในสาย 56
2558-2562 บริษัท ส.พัชรพลรถร่วม จำกัด 3
เคยให้บริการในสาย 81
BF120S 2556-2562 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต​ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนนำรถธรรมดาสีขาว-น้ำเงินรุ่นเดียวกันบางส่วนของบริษัทมาดัดแปลงเป็นรถปรับอากาศ

*2เคยให้บริการในสาย 69

Midea - 2552-2563 บริษัท บริการเดินรถสยาม จำกัด 1 *1เป็นรถขนาด 12 เมตร

*2เคยให้บริการในสาย 29 44

2552-2554 *1เป็นรถขนาด 7 เมตร

*2เคยให้บริการในสาย 29

*3ปลดระวางเนื่องจากมหาอุทกภัย พ.ศ. 2554

DONGFENG DHZ6111CF (CNG) 2551-2555 บริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต​ จำกัด *1เดิมเป็นรถทดลองวิ่งที่ทดลองในเส้นทางของ ขสมก.สาย 522 ในช่วงปี 2549 ใช้ตัวถังสีครีมคาดน้ำเงิน ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้สีเหลืองและเพิ่มคาดแถบสีน้ำตาลในภายหลัง[72]

*2เคยให้บริการในสาย 542

2555-2564 บริษัท ไบร์ทสตาร์ซัพพลาย (1999)​ จำกัด *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต​ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 30

DHZ6840RC1 2552-2557 บริษัท บางกอกบัส​ จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 40
DHZ6100LN 2559-2562 บริษัท กระแสร์เงินยานยนต์​ จำกัด 6 เคยให้บริการในสาย 182
YOUNGMAN JNP6120GC 2553-2564 บริษัท กรุงเทพไฟว์สตาร์ทรานสปอร์ต​ จำกัด 3 *1รถรุ่นนี้จะมีลักษณะที่แตกต่างจากสาย 3-16E (139) คือไม่มีทางลาดสำหรับรถเข็นคนพิการ

*2เคยให้บริการสาย 89

YUTONG ZK6118HGK 2552 ห้างหุ้นส่วนจำกัด 539 รุ่งเรือง (บุญมงคลกาญจน์) 1 เคยให้บริการในสาย 539 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
ห้างหุ้นส่วนจำกัด เทพนครบริการ เคยให้บริการในสาย 545 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
- 2554 บริษัท ซิตี้บัส จำกัด เคยให้บริการในสาย ปอ.8 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
HENGTONG
SHACMAN SX6850GFFN 2552 บริษัท พรีเมี่ยม แมเนจเมนท์​ จำกัด เคยให้บริการในสาย 558 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
2554 ห้างหุ้นส่วนจำกัด เทพนครบริการ เคยให้บริการในสาย 545 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
-
2552 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด เคยให้บริการในสาย 150 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ
ZONDA 2552-2557 บริษัท จิระศักดิ์การเดินรถ จำกัด เคยให้บริการในสาย 545
HYUNDAI AERO CITY 540 255X-255X บริษัท บริบูรณ์อินฟินิตี้ จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 140
2555-2563 บริษัท กรุงเทพมหานครขนส่ง จำกัด 10 เคยให้บริการในสาย 127
บริษัท ซันซายน์บัสเซอร์วิส จำกัด 15 เคยให้บริการในสาย 547
บริษัท ไพศิริเดินรถ จำกัด 2 เคยให้บริการในสาย 38
บริษัท ยูเนี่ยนบัสเซอร์วิส จำกัด XX *1เคยให้บริการในสาย 84

*2ในปี 2556 ได้รับรถที่โอนย้ายเพิ่มเติมจากบริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัด

2555-2556 บริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัด *1เคยให้บริการในสาย 504

*2ในปี 2557 รถทั้งหมดได้โอนย้ายไปยังบริษัท ยูเนี่ยนบัสเซอร์วิส จำกัด

2554-2562 บริษัท วิริยะวงศ์ รถร่วมบริการ จำกัด เคยให้บริการในสาย 147
Mercedes-Benz OF1617/61 2554-≈2558 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 147

2554-2562 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต​ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 104

2555-2563 บริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต​ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 542

2555-2565 บริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด (วังศกาญจน์)
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 157 170 171 172 174 177 183 528 529 544

*3ในปี 2563 มีรถบางส่วนกลับมาทำสีครีมน้ำเงิน ให้บริการในสาย 157 170

2555-2564 บริษัท ต.มานิตย์การเดินรถ​ จำกัด
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท ยูเนี่ยนบัสเซอร์วิส จำกัดมาบางส่วน โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย ปอ.สาย 7, 68

2561-2564 3
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย ปอ.สาย 7, 68

*3ตั้งแต่ปี 2563 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

2554-2560 บริษัท หาญทรานสปอร์ต​ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 44

2557-2563 บริษัท บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524 จำกัด 2
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 524

2564 บริษัท ชัยกรการเดินรถ จำกัด
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 170

2562-2566 5
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 64

2554-2565 บริษัท สายสนั่น ณ อยุธยา จำกัด 1 *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัดมาบางส่วน โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 44

2558 บริษัท บริการเดินรถสยาม จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 44

2559 บริษัท บริบูรณ์อินฟินิตี้ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจากบริษัท บริการเดินรถสยาม จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 140

2552-2565 ห้างหุ้นส่วนจำกัด บุญมงคลกาญจน์ 7
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 539

2556-2558 บริษัท กรุงเทพบัสแอร์ทรานสปอร์ต จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจากบริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 17

2556-2557 บริษัท ไทยเทรลเลอร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 85

2559-2565 บริษัท กำมัชพล จำกัด
*1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 28 108

O405 Duple Metsec 2553-2563 ห้างหุ้นส่วนจำกัด เทพนครบริการ
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากรถของบริษัท SBS Transit ประเทศสิงคโปร์

*2เคยให้บริการในสาย 545 และช่วยวิ่งในสาย 140

บริษัท ซันซายน์บัสเซอร์วิส จำกัด 35 *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากรถของบริษัท SBS Transit ประเทศสิงคโปร์

*2เคยให้บริการในสาย 84 538 547

บริษัท ไพศิริเดินรถ จำกัด 31
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากรถของบริษัท SBS Transit ประเทศสิงคโปร์

*2เคยให้บริการในสาย 38

บริษัท ภูมินวชัย จำกัด 1
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากรถของบริษัท SBS Transit ประเทศสิงคโปร์

*2เคยให้บริการในสาย 167 507

2554 บริษัท นรภัทร์ 2002 จำกัด *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากรถของบริษัท SBS Transit ประเทศสิงคโปร์

*2เคยให้บริการในสาย 48 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ

2553-2564 บริษัท สายสนั่น ณ อยุธยา จำกัด 3
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากรถของบริษัท SBS Transit ประเทศสิงคโปร์

*2เคยให้บริการในสาย 44

2560 (รถช่วยวิ่งชั่วคราว) บริษัท บริบูรณ์อินฟินิตี้ จำกัด *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากรถของบริษัท SBS Transit ประเทศสิงคโปร์ โดยเป็นรถช่วยวิ่งจากสาย 545

*2เคยให้บริการในสาย 140 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ เพื่อทดแทนรถปรับอากาศ SUNLONG SLK6111UE6NA ที่ในเวลานั้นประสบปัญหาการซ่อมบำรุง[73]

2553 บริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัด 2 *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากรถของบริษัท SBS Transit ประเทศสิงคโปร์

*2เคยให้บริการในสาย 507 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ

2553-2565 ห้างหุ้นส่วนจำกัด บุญมงคลกาญจน์ XX
เคยให้บริการในสาย 539

ปัจจุบันปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

OH1628 2551-2560 บริษัท กฤษภิญโญ จำกัด 20 *1เป็นรถที่ดัดแปลงตัวถังจากรถทัวร์ บขส. ที่ปลดระวางไป

*2เคยให้บริการในสาย 132

O1114L 2552-2557 บริษัท มหาชนยานยนต์ จำกัด 3 เคยให้บริการในสาย 68
2553-2562 บริษัท กรุงเทพ เมโทรบัส จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 11
2554-2563 บริษัท ธัญนันท์ กรุ๊ป จำกัด
เคยให้บริการในสาย 40
2553-2564 บริษัท เทพประทานพรทรานสปอร์ต จำกัด 7
เคยให้บริการในสาย 12 74
บริษัท เจริญบัส จำกัด *1เคยให้บริการในสาย 80

*2ตั้งแต่ปี 2563 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีฟ้า

≈2552-2554 - XX เคยให้บริการในสาย 207
Mitsubishi - 2551-255X บริษัท บางกอกบัส จำกัด เคยให้บริการในสาย 40
2554-≈2556 บริษัท บริการเดินรถสยาม จำกัด เคยให้บริการในสาย 56
HINO 2551-2555 บริษัท พี.เอ็น.เค. ซิตี้บัส ขนส่งมวลชน จำกัด เคยให้บริการในสาย 6 17
2553-2565 บริษัท รูธ 45 จำกัด 1
เคยให้บริการในสาย 77
BX340 2554-2562 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต​ จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนนำรถปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน และสีฟ้ารุ่นเดียวกันบางส่วนของบริษัทมาปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

*2 เคยให้บริการในสาย 69 150

RK1JSL 2563-2566 บริษัท บริบูรณ์​อินฟินิตี้ จำกัด 1
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 529

บริษัท ชัยกรการเดินรถ จำกัด
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 64

2555-2563 บริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด (วังศกาญจน์) XX *1เป็นรถที่เอกชนนำรถปรับอากาศสีฟ้ารุ่นเดียวกันบางส่วนของบริษัทมาปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 171 529

*3ในปี 2563 มีรถบางส่วนกลับมาทำสีฟ้าคาดเหลือง ให้บริการในสาย 157 529

NISSAN UD JP252SSN 2555-2559 *1เป็นรถที่เอกชนนำรถปรับอากาศสีฟ้ารุ่นเดียวกันบางส่วนของบริษัทมาปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 171 172 529

2559-2565 บริษัท กำมัชพล จำกัด
*1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 28 108

2564 บริษัท ชัยกรการเดินรถ จำกัด 1 *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 170

2558-2559 บริษัท กรุงเทพไฟว์สตาร์ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 89

- 2556 บริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด (วังศกาญจน์) *1เป็นรถที่เอกชนนำรถปรับอากาศสีฟ้ารุ่นเดียวกันบางส่วนของบริษัทมาปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 172

2561-2562 บริษัท บริบูรณ์อินฟินิตี้ จำกัด *1เป็นรถที่ได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 140

NISSAN CNG 270Hp 2557-≈2561 บริษัท หาญทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนนำรถปรับอากาศสีครีม-น้ำเงินรุ่นเดียวกันของบริษัทมาปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 44

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีฟ้า
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
ISUZU - ≈2546-2552 บริษัท คณะศยามยานยนต์ จำกัด XX *1เคยให้บริการในสาย 537

*2ในปี 2551 รถบางส่วนถูกดัดแปลงเป็นรถธรรมดา

NISSAN UD ​JP252SSN 2563-2564 บริษัท บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524 จำกัด 2
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยได้รับโอนมาจากบริษัท กำมัชพล จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 524

2545-2553 บริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด (วังศกาญจน์) XX *1นิยมเรียกกันว่า "นิสสันกัมปนาท" เนื่องจากเสียงเครื่องยนต์ดังมาก

*2เคยให้บริการในสาย 171 172 529

*3ตั้งแต่ปี 2555 รถได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลืองทั้งหมด

FE6T 2541-2553 *1นิยมเรียกกันว่า "ตั๊กแตน"

*2เคยให้บริการในสาย ปอ.32 (157) ปอ.33 (183) 171 172 173

- 2543-255X เคยให้บริการในสาย 529
HINO เคยให้บริการในสาย 159 529
RK1JSL 2547-2556
*1เคยให้บริการในสาย 529

*2ตั้งแต่ปี 2556 รถได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลืองทั้งหมด

2563-2564 3 *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยกลับมาทำสีเดิมเหมือนเช่นที่เคยใช้ในช่วงก่อนที่รถไปปรับปรุงสภาพในปี 2556

*2เคยให้บริการในสาย 157 529

BX340 254X-2562 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด XX *1เคยให้บริการในสาย 69

*2ตั้งแต่ปี 2555 รถบางส่วนได้นำไปปรับปรุงสภาพเป็นสีเหลือง

Mitsubishi Fuso
FK457P 2543-2553 บริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัด (วังศกาญจน์) *1เคยให้บริการในสาย ปอ.30 (177) ปอ.34 (529) ปอ.35 (173) 159 161 170 172

*2ต่อมารถรุ่นดังกล่าวประสบปัญหาระบบปรับอากาศและระบบเกียร์ จึงนำรถบางส่วนไปดัดแปลงสภาพเป็นรถธรรมดา[74]

Mercedes-Benz O1114L ≈2543-254X เคยให้บริการในสาย 160 161 172
2563-2564 บริษัท เจริญบัส จำกัด 4 *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 80

2542-2548 บริษัท เอส.เค.ทัวร์แอนด์เซอร์วิส จำกัด XX เคยให้บริการในสาย ปอ.4 (504) ปอ.6 (506) ปอ.25 (523) ปอ.29 ปอ.44 (538) 534
OF1617/61 254X-≈2551 *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีครีม-น้ำเงิน

*2เคยให้บริการในสาย 29 538

2563-2565 ห้างหุ้นส่วนจำกัด บุญมงคลกาญจน์ 1 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 539

2550 บริษัท นิธิทัศน์ ทัวร์ แอนด์ ทรานสปอร์ต จำกัด เคยให้บริการในสาย 69 โดยนำมาวิ่งเพียงช่วงเวลาสั้นๆ ก่อนที่กลับมาทำสีครีม-น้ำเงินและย้ายไปสาย 104[75]
2563-2564 บริษัท ต.มานิตย์การเดินรถ​ จำกัด *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยได้รับโอนมาจากบริษัท วังศกาญจน์กิจ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย ปอ.สาย 7

บริษัท บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524 จำกัด 3 *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยได้รับโอนมาจากบริษัท กำมัชพล จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 524

SUNLONG / GOLDEN DRAGON SLK6111UE6NA CNG 2562-2563 บริษัท นรภัทร์ 2002 จำกัด XX *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยได้รับโอนมาจากบริษัท พรีเมี่ยม แมเนจเมนท์ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 48

บริษัท พรพิน ทรานสปอร์ต จำกัด *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยได้รับโอนมาจากบริษัท พรีเมี่ยม แมเนจเมนท์ จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 40

บริษัท พรีเมี่ยม แมเนจเมนท์ จำกัด
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 29 504 554

*3ในปี 2563 รถบางส่วนได้โอนย้ายไปบริษัท สมาร์ทบัส จำกัด

SUNLONG SLK6985CNG 2564 บริษัท บริบูรณ์อินฟินิตี้ จำกัด 2 *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยได้รับโอนมาจากบริษัท เศวกฉัตร จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 529 โดยให้บริการในเวลาสั้นๆ

2563-2564 บริษัท ฉมาพันธ์การเดินรถ จำกัด 1
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 3-21 (207)

บริษัท พชรบัส จำกัด *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 203

บริษัท เศวกฉัตร จำกัด 10
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 6

*3ในปี 2565 รถบางส่วนได้โอนย้ายไปบริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด

ZONGTONG​ (WINWIN) LCK6910GC 6
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 6

บริษัท ฉมาพันธ์การเดินรถ จำกัด
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 3-21 (207)

*3ในปี 2564 รถเริ่มทยอยหยุดให้บริการ และถูกตัดจอดในเวลาต่อมา

บริษัท ชัยกรการเดินรถ จำกัด 4
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 56

บริษัท บริบูรณ์​อินฟินิตี้ จำกัด 1
*1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 529

บริษัท เจริญบัส จำกัด *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 80

HIGER KLQ6120G 2561-2564 บริษัท บริบูรณ์อินฟินิตี้ จำกัด *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง

*2เคยให้บริการในสาย 140

YUTONG ZK6953CNG 2566-2567 บริษัท บัส 90 จำกัด *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีขาว โดยได้รับโอนมาจากบริษัท พรีเมียร์ เมโทรบัส จำกัด

*2เคยให้บริการในสาย 90

*3ในปี 2567 รถคันดังกล่าวได้โอนย้ายไปสาย 337 สังกัดบริษัท ลาดหลุมแก้วขนส่ง จำกัด

BONLUCK JXK6120L-NGV-01 2561-2565 บริษัท มารัตน์ทรานสปอร์ต จำกัด 16
เคยให้บริการในสาย R26E
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
SKYWELL (THAI EV) NJL6859BEV 2563 บริษัท แกรนด์ซิตี้บัส จำกัด 1 *1เป็นรถคันที่ บริษัท ไทย อีวี จำกัด ร่วมกับแกรนด์ซิตี้บัสทดลองวิ่งเพื่อทดสอบสมรรถนะของรถ โดยก่อนหน้านี้รถคันดังกล่าวได้ทดลองวิ่งเส้นทางของ ขสมก. ในสาย 129 A1 522

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 75

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีขาว-เทา-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
Mercedes-Benz O1114L 2540-≈2549 บริษัท ธนบุรีประกอบรถยนต์ จำกัด (ธนบุรีบัสเซอร์วิส) XX *1ใช้เลขข้างรถ AB-95XX แต่เลขจะไม่ซ้ำกับล็อตที่ ขสมก. นำมาประจำการเองในปี 2540

*2เป็นรถที่ตอบสนองนโยบายของ ขสมก. ที่ให้สัมปทานรถ Airport Bus (เดิม) แก่บริษัท ธนบุรีประกอบรถยนต์ จำกัด เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการเดินรถจากรถปรับอากาศ 46 ที่นั่ง (ISUZU CQA650A/T) เป็นรถปรับอากาศ 30 ที่นั่ง เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการให้บริการและเหมาะสมกับจำนวนผู้โดยสาร

*3เคยให้บริการในสาย A1 A2 A3 (เดิม)[76]

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีเขียว
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HIGER KLQ6120G 2550 บริษัท ซิตี้บัส จำกัด 1 เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย ปอ.92[77]
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีทอง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HIGER KLQ6120G 2550 บริษัท ซิตี้บัส จำกัด 1 เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย ปอ.92[78]
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ (ประกันที่นั่ง)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HIGER KLQ6759B2 2561-2566 บริษัท ชัยวิเศษแทรนสปอร์ต​ จำกัด 12 เคยให้บริการในสาย Y70E
YANGZHOU ASIASTAR YBL6805H8 6
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศพิเศษ (ปอ.พ.)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
Mercedes-Benz O814 2536-254X บริษัท บางกอกไมโครบัส จำกัด XX
NISSAN CBF87FHSB 2536-2551 ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถโดยสารขนาดเล็กร่วมบริการสีส้ม ในสาย 12 14 20 27 34 71 74 77 82 4-10 (42)
HENGTONG CKZ6953HN 2551-2557 บริษัท พรีเมียร์ เมโทรบัส จำกัด *1เคยให้บริการในสาย ปอ.พ.4 (4-1, 4-2) ปอ.พ.10 (10-1, 10-2) ปอ.พ.15 (15-3) ปอ.พ.17 (17-1) ปอ.พ.25 (25-1) ปอ.พ.34 ปอ.พ.35 (35-1)

*2ในปี 2556 รถบางส่วนได้นำไปวิ่งรถ Shuttle Bus ของห้างสรรพสินค้าเมกาบางนาและอิเกียบางนา โดยให้บริการจนถึงปี 2558 เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้ประกอบการเดินรถ

*3ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถรับจ้างไม่ประจำทาง และรถประจำทางชานเมืองของบริษัท กิตติสุนทร จำกัด ในสาย 337 391 680 1138 รวมถึงรถช่วยวิ่งในสาย 1117

YUTONG ZK6953CNG 2553-2556 *1เคยให้บริการในสาย ปอ.พ.4 (4-2) ปอ.พ.10 (10-1) ปอ.พ.15 (15-2, 15-3) ปอ.พ.17 (17-1) ปอ.พ.35 (35-1)

*2ในปี 2555 รถบางส่วนได้นำไปวิ่งรถ Shuttle Bus ของห้างสรรพสินค้าเมกาบางนาและอิเกียบางนา โดยให้บริการจนถึงปี 2558 เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้ประกอบการเดินรถ

*3ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถรับจ้างไม่ประจำทาง และรถประจำทางของบริษัท ลาดหลุมแก้วขนส่ง จำกัด ในสาย 337

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศพิเศษ (ปอ.พ.) (ประกันที่นั่ง)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
DENWAY - 2551-2556 บริษัท พรีเมียร์ เมโทรบัส จำกัด XX *1ให้บริการในนาม Metro Express

*2เคยให้บริการในสาย ปอ.พ.4 ปอ.พ.10 (10-1) ปอ.พ.17 (17-1) ปอ.พ.24 ปอ.พ.25 (25-1) ปอ.พ.32

*3ภายหลังจากที่เมโทรบัสขายกิจการไป รถบางส่วนได้โอนย้ายไปบริษัท ลาดกระบัง จำกัด และให้บริการในสาย 1013(เสริม)

รถโดยสารที่ให้บริการในอดีตของบริษัทเอกชน (รถหมวด 4)

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีฟ้า
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
ISUZU MT111L 254X-2568 บริษัท พรดำรงขนส่ง จำกัด XX เคยให้บริการในสาย 1017
Mercedes-Benz OF1617/61 2520-2568 1
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีขาว-น้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO FG8J 2557 บริษัท สยามเมล์ จำกัด 1 *1เป็นรถที่ดัดแปลงจากรถบรรทุก โดยดัดแปลงส่วนท้ายคล้ายรถโดยสารธรรมดาทั่วไป [79]

*2เคยให้บริการในสาย 1009

*3ปี 2566 ได้กลับมาให้บริการอีกครั้ง

รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีขาว-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO AK176 254X-255X บริษัท ลาดกระบัง จำกัด 4 *1เคยให้บริการในสาย 1013

*2ในเวลาต่อมารถทั้งหมดได้ดัดแปลงเป็นรถปรับอากาศ

BX321 XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก. โดยปรับปรุงสภาพมาจากสีครีม-แดง

*2เคยให้บริการในสาย 1013 1013(เสริม)

DAEWOO BF120
ISUZU BF40 เคยให้บริการในสาย 1013 1013(เสริม)
Mitsubishi FK457P เคยให้บริการในสาย 1013
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก สีฟ้า-ชมพู
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
Mercedes-Benz O1114L 254X-255X บริษัท สยามเมล์ จำกัด XX *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 1009

Nisaan Civilian 255X-256X 1 เคยให้บริการในสาย 1009(เสริม)[80]
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีขาว-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
Mercedes-Benz OF1617/61 254X-2564 บริษัท ลาดกระบัง จำกัด 5 *1เป็นรถที่เอกชนซื้อต่อมาจาก​ ขสมก.

*2เคยให้บริการในสาย 1013

HIGER KLQ6920GC 2557-2562 XX *1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากมหาวิทยาลัยมหิดล (Salaya link) มาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 1013(เสริม)

DONGFENG DHZ6840RC1 2557-2560 *1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากสาย 6028 มาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 1013(เสริม)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก สีขาว-แดง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
DENWAY - 2558-2560 บริษัท ลาดกระบัง จำกัด XX *1เป็นรถที่โอนย้ายมาจากบริษัท พรีเมียร์ เมโทรบัส จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย 1013(เสริม)

*3ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถรับ-ส่งพนักงานโรงงานบริษัท เอฟบีที จำกัด (ยังคงใช้ตัวถังสีขาว-แดงเช่นเดิม)

TOYOTA Commuter 2557-2558 เคยให้บริการในสาย 1013(เสริม)
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
EVT NJL6710BEV 2562-2564 บริษัท รถไฟฟ้า (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) 4
*1เคยให้บริการในสาย 1551

*2ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถ Shuttle Bus ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

BYD B70 2567 รถเอกชนร่วมบริการ ขสมก. 1 *1เป็นรถคันที่กลุ่มธุรกิจเรเว่ทดลองวิ่งให้บริการฟรีเพื่อทดสอบสมรรถนะของรถ[81]

*2เคยเป็นรถทดลองวิ่งในสาย 1019

รถโดยสารที่ให้บริการในอดีตของกองทัพอากาศ

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดา สีน้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
- - 254X-255X กรมขนส่งทหารอากาศ (ขส.ทอ.) XX *1เคยให้บริการในสายวงกลมสะพานใหม่ - ดอนเมือง

*2ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถรับจ้างไม่ประจำทาง

ISUZU 255X-256X 2 *1เคยให้บริการในสายวงกลมสะพานใหม่ - ดอนเมือง

*2ปัจจุบันพบเห็นได้ในรูปแบบรถรับจ้างไม่ประจำทาง

HINO BX321[82] XX *1เป็นรถที่ ขส.ทอ. ซื้อต่อมาจากเอกชน

*2เคยให้บริการในสายวงกลมสะพานใหม่ - ดอนเมือง

DAEWOO BF120S[83]
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีน้ำเงิน
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
HINO - 2556-256X กรมขนส่งทหารอากาศ (ขส.ทอ.) 4 *1ตัวถังมีความคล้ายกับ Mercedes-Benz OF1617/61 ทรงวังศกาญจน์[84]

*2เคยให้บริการในสายวงกลมสะพานใหม่ - ดอนเมือง[85]

HIGER KLQ6920GC 255X-255X XX เคยให้บริการในสายวงกลมสะพานใหม่ - ดอนเมือง[86]
Hyundai AERO CITY 540 255X-2564 11
เคยให้บริการในสายวงกลมสะพานใหม่ - ดอนเมือง

รถโดยสารที่ให้บริการในอดีตของ กทม.

[แก้]
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีฟ้า
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
SUNLONG / GOLDEN DRAGON SLK6111UE6NA CNG 2563 กรุงเทพมหานคร (กทม.) XX *1เป็นรถที่ปรับปรุงสภาพจากสีเหลือง โดยได้รับโอนมาจากบริษัท สมาร์ทบัส จำกัดมาบางส่วน

*2เคยให้บริการในสาย B1 B2 B3

รถโดยสารที่ให้บริการในอดีตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

[แก้]
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีขาว-ม่วง (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
- - 2550-255X บริษัท พลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม จำกัด (มหาชน) 2 เคยให้บริการในสาย 2
รถโดยสารประจำทางธรรมดาขนาดเล็ก สีชมพู (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
- - 2550-255X บริษัท พลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม จำกัด (มหาชน) XX เคยให้บริการในสาย 2 3
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก สีชมพู (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
- - 2550-2560 บริษัท พลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม จำกัด (มหาชน) XX
เคยให้บริการในสาย 1 2 4
EVT NJL6710BEV 2561-2565 บริษัท รถไฟฟ้า (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
เคยให้บริการในสาย 1 2 3 4 5
NEX-Minebus STREAM X 2566 บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 20
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก สีขาว (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
EVT NJL6710BEV 2561-2565 บริษัท รถไฟฟ้า (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) XX เคยให้บริการในสาย 2 3
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็ก สีขาว (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น ปีที่เข้าประจำการ บริษัทที่ให้บริการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
KINGLONG XMQ6106CNG 2565 บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด 5
*1เป็นรถที่ ขสมก. เคยเช่า โดยนำมาให้บริการชั่วคราวในช่วงระหว่างรอรถรุ่นใหม่เข้ามาให้บริการ

*2เคยให้บริการในสาย 1 2 3 5

รถโดยสารที่ให้บริการในอดีตของ BRT

[แก้]
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ สีเขียว-เหลือง
[แก้]
ยี่ห้อ รุ่น บริษัทที่ให้บริการ ปีที่เข้าประจำการ จำนวนรถที่ให้บริการ ภาพประกอบ หมายเหตุ
SUNLONG SLK6125CNG บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 2553-2567 XX
เคยให้บริการในสาย 402

เชิงอรรถ

[แก้]
  1. พรบ.ขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 41 "ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน หรือมีความจำเป็นที่จะแก้ไขสถานการณ์เพื่อให้การขนส่งได้รับความสะดวกหรือให้มีรถเพียงพอแก่การขนส่งนายทะเบียนมีอำนาจที่จะสั่งเปลี่ยนแปลงเส้นทางการเดินรถ เวลา และจำนวนเที่ยวของการเดินรถ หรือให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ผู้ใดส่งรถที่ตนได้รับอนุญาตไปช่วยเหลือเป็นการชั่วคราวตามควรแก่กรณี แล้วให้รายงานคณะกรรมการโดยเร็ว"

อ้างอิง

[แก้]
  1. สั่งขสมก.ทำแผนเดินรถ155เส้นทาง เก็บถาวร 2012-12-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ASTVผู้จัดการรายวัน 12 กรกฎาคม 2554
  2. รถเมล์สายใดวิ่งตลอดคืน dailynews.co.th
  3. 3.0 3.1 ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ ๒๑๔๙ (พ.ศ. ๒๕๖๔) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๑ ในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัด ที่มีเส้นทางต่อเนื่องจำนวน ๒ เส้นทาง (PDF).ราชกิจจานุเบกษา . 138 (79 ง): 8. 28 ตุลาคม 2564.
  4. 4.0 4.1 ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ ๒๑๓๐ (พ.ศ. ๒๕๖๔) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๑ ในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัด ที่มีเส้นทางต่อเนื่องจำนวน ๒๕๘ เส้นทาง (PDF).ราชกิจจานุเบกษา . 138 (79 ง): 18. 28 ตุลาคม 2564.
  5. 5.0 5.1 ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบกกลาง ฉบับที่ ๒๑๔๙ (พ.ศ. ๒๕๖๔) เรื่อง กำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งประจำทางด้วยรถโดยสาร หมวด ๑ ในเขตกรุงเทพมหานครและและจังหวัด ที่มีเส้นทางต่อเนื่องจำนวน ๓ เส้นทาง (PDF).ราชกิจจานุเบกษา . 138 (95 ง): 23. 23 ธันวาคม 2564.
  6. 39 ไทยสมายล์บัสเสริม มธ.รังสิต - BTS แยก คปอ. , BKK BUS PHOTOGRAPHER
  7. เส้นทางเดินรถเมล์ ขสมก. ปี 2548-2549
  8. ขสมก.ได้รับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9002 ในเส้นทางเดินรถสาย ปอ.24 (522 ในปัจจุบัน)
  9. สาย 191 ย้ายท่ารถปลายทางไปยัง "MRT-ท่าเรือพระนั่งเกล้า" ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2564/ , bangkokbusclub
  10. "สาย 80ก. ในยุคนึงที่ เส้นทางเริ่มต้นจาก รร.ศึกษานารี2 - เดอะมอลล์ท่าพระ". รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  11. มินิบัสเขียวสาย 83 ทางด่วน , Bangkokbusclub.com
  12. ขสมก.ปรับปรุงและเพิ่มเติมเส้นทางให้บริการ 4 สาย เชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีแดง , BKK Bus Photographer
  13. "#ส่องอดีตย้อนวันวาน รถโรงเรียน ขสมก. 2536 รับ #นักเรียน ตลอดสาย 2.50 บาท". Ch7HD News.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  14. "เขตการเดินรถและกองปฏิบัติการเดินรถ". BMTA. สืบค้นเมื่อ 6 March 2022.
  15. จ่อเปลี่ยนหมายเลขใหม่ "รถเมล์" ทั่วกรุง , ข่าวไทยพีบีเอส
  16. รีวิวเส้นทางปฏิรูป 269+ เส้นทาง, bangkokbusclub
  17. ขสมก. เปลี่ยนป้ายบอกเลขสายใหม่ ตามใบอนุญาตที่ได้รับ เพื่อสร้างการรับรู้ให้กับประชาชน และผู้ใช้บริการ ภายในวันที่ 15 มกราคม 2567 นี้!!, ขสมก. พร้อมบวก
  18. วันแรกของสาย 3-26E ขสมก., bangkokbusclub
  19. จำนวนรถ ณ กันยายน 2554[ลิงก์เสีย] bmta.co.th
  20. ปอ.77 ซิ่งข้ามเกาะกลางถนน ชนยับกระบะ-เก๋ง หน้าหมอชิต2 เจ็บอื้อ http://www.thairath.co.th/content/509441
  21. Then & Now 4-4067 , Bangkokbusclub.com
  22. รถใหม่...ก็ไหม้ได้... - Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์, สืบค้นเมื่อ 2022-05-23
  23. ไหม้ปริศนากลางอู่รถ เผาวอดเมล์ ปอ.145 เสียหายยกคัน , เดลินิวส์
  24. สิบล้อชนท้ายยูโรฮีโน่สแปร์ 44202 บาดเจ็บ 7 ราย , Bangkokbusclub.com
  25. ผู้โดยสารวิ่งหนีตายวุ่น ! ไฟไหม้รถเมล์ ปอ.510 กลางถนนวิภาวดีฯ[ลิงก์เสีย] , Workpoint News
  26. TSB แจงเหตุไฟไหม้รถเมล์อู่ไร่ขิง เป็นรถตัดจอดช่างซ่อมพลาดจนไฟลุก, pp. Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์, สืบค้นเมื่อ 2024-03-08
  27. 40 ปี รถเช่า 1,640 คัน : HINO BX320 รถเช่า 40 คัน , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  28. Mercedes-Benz OF1113 , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  29. ขสมก.ได้นำรถเมล์สองชั้น ยี่ห้อ VOLVO ให้บริการแก่ประชาชนเป็นครั้งแรก , bangkokbusclub
  30. 30.0 30.1 โครงการรถเมล์ 2 ชั้นในอดีต[ลิงก์เสีย] , bangkokbusclub.com
  31. 40 ปี รถเช่า 1,640 คัน : HINO BX340 , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  32. 40 ปี รถเช่า 1,640 คัน : ISUZU JCR600YZNN , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  33. "[ F l a s h b a c K 9 0 ' s ] รถร้อนครีมน้ำเงิน ISUZU JCR600YNZZ หรืออีซูซุจัมโบ้ สาย 20 หมายเลขรถ 5-904". Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  34. 40 ปี รถเช่า 1,640 คัน : Mercedes Benz OF1617/61 (ชื่อรุ่นจริงๆ ของรถเบนซ์จัมโบ้) , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  35. ขสมก.ได้นำรถเมล์สองชั้นยี่ห้อ Leyland มาทดลองให้บริการ , bangkokbusclub
  36. ขสมก.ได้จัดเดินรถบรรเทาอีกครั้ง ในสาย 84 (อ้อมใหญ่-ท่าพระ) และสาย 140 (เคหะฯธนบุรี - ท่าน้ำพระประแดง) , bangkokbusclub
  37. ชีวิตใหม่ DAEWOO กับภารกิจ "ปะการังเทียม"[ลิงก์เสีย] , bangkokbusclub.com
  38. รถสำรองวิ่ง 1-40544 , bangkokbusclub
  39. รถฮีโน่ขาว 10 เมตร สาย 7ก , bangkokbusclub
  40. รถแดวูขาว สาย 7ก , bangkokbusclub
  41. 40 ปี รถเช่า 1,640 คัน : VOLVO B57-60 , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  42. 40 ปี รถเช่า 1,640 คัน : HINO RF720 , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  43. 40 ปี รถเช่า 1,640 คัน : ISUZU BU35KL , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  44. รายงานประจำปี 2528, องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ, 2529, หน้า 3
  45. รถสำรองวิ่ง (SPARE) 83-5181 เก็บถาวร 2021-12-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน , bangkokbusclub.com
  46. [1]เก็บถาวร 2020-10-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน [เมล์ป้ายแดง : 2531] รถครีมแดงประตูหน้า-หลัง และรถ ปอ. รวม 1,000 คัน , bangkokbusclub.com
  47. 24 ก.พ.59 ครบรอบ 28 ปีที่รถปรับอากาศ MERCEDES BENZ (รุ่นแรก ขสมก.) เข้าประจำการ , bangkokbusclub
  48. ขสมก.นำรถปรับอากาศ MERCEDES BENZ รุ่น O1114L พร้อมเครื่องหยอดค่าโดยสาร (Fare Box) มาประจำการ , bangkokbusclub
  49. ขสมก.ร่วมกับบริษัท สวีเดนขนส่ง จำกัด ได้นำรถพ่วงปรับอากาศ ยี่ห้อ VOLVO ให้บริการแก่ประชาชน , bangkokbusclub
  50. 50.0 50.1 25 มกราคม 2538 ขสมก.ได้เริ่มทยอยนำรถพ่วงปรับอากาศที่ซื้อมา ออกให้บริการแก่ประชาชนเป็นครั้งแรก , bangkokbusclub
  51. รถปรับอากาศ MAN ทรงดั้งเดิม หมายเลขรถ 1-2025 รถทรงเก่าคันเดียวที่ได้ใช้เลข 503 , bangkokbusclub
  52. Hino Spare Bus : 1-45126[ลิงก์เสีย] , bangkokbusclub
  53. เปรียบเทียบรถติดตั้งเชื้อเพลิง NGVDRIVEN Test Drive Directory เก็บถาวร 2009-05-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากไฟล์ PDFENERGY REFORM
  54. อ้างอิงข้อมูลจากDRIVEN Test Drive Directory เก็บถาวร 2009-05-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากไฟล์ PDFENERGY REFORM
  55. รถปรับอากาศ​ SUNLONG​ สีขาว​ มาช่วยวิ่งในสาย​ 36​ ในคราวมหาอุทกภัย​ ​พ.ศ.​ 2554 เก็บถาวร 2021-05-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน , bangkokbusclub
  56. ประกาศ ทดลองเดินรถโดยสารปรับอาการ NGV รุ่นใหม่ , bangkokbusclub
  57. ยูโรเบนซ์รองรับคนพิการในเส้นทางรถเวียนสนามบินสุวรรณภูมิ , bangkokbusclub
  58. 52 อดีตรถครีมน้ำเงินอีซูซุ 10 เมตร , bangkokbusclub
  59. "DAEWOO BF120 สาย 103 ท่าน้ำภาษีเจริญ - ตั้งฮั่วเส็ง". รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  60. รถเมล์เกิดเพลิงลุกไหม้ ที่แยกบางคูวัด, pp. JS100 Radio
  61. "[ 1 0 - Y e a r s - a g o ] รถเอกชนร่วมบริการ สีขาว-น้ำเงิน สาย 39 หมายเลขรถ 23-135 เดินรถโดย บ.หลีกภัยขนส่ง จก. ในขณะนั้นสาย 39 รถร้อนยังวิ่งคู่กับรถสหขนส่งธนบุรี ต่อมารถคันนี้ได้เปลี่ยนสีตัวถังเป็นสีชมพูเมื่อปี 2553". Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  62. [ ป ริ ศ น า 1 5 0 - 3 4 ค ลี่ ค ล า ย แ ล้ ว !! ] , bangkokbusclub
  63. 120 อีซุซุ MT111L 12 เมตร , bangkokbusclub
  64. 89 อดีต 1-50009 , bangkokbusclub
  65. 88 รถร่วมเบนซ์ลูกฟูก , bangkokbusclub
  66. มินิบัสเขียวทดลองวิ่ง NEOPLAN , bangkokbusclub
  67. 28 พรวิวัฒน์เดินรถ , bangkokbusclub
  68. "Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์ - [ 10 - Y e a r s - a g o ] . รถเอกชนร่วมบริการ สีครีมน้ำเงิน สาย ปอ.140 เดินรถโดยบริษัท บริบูรณ์อินฟินิตี้ จำกัด". Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  69. 542 ปอ.เหลือง GOLDEN DRAGON , bangkokbusclub
  70. 507 ปอ.เหลือง HIGER , bangkokbusclub
  71. ปอ.64 ในเส้นทาง Shuttle Bus เมกาบางนา เก็บถาวร 2022-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน , bangkokbusclub
  72. 542 DONGFENG , bangkokbusclub
  73. 140 เบนซ์สิงคโปร์ , bangkokbusclub
  74. ปอ.ฟ้า วังศกาญจน์กิจ เก็บถาวร 2022-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน , bangkokbusclub
  75. 69 เบนซ์ปาดาเน่ฟ้า , bangkokbusclub
  76. Airport Bus เบนซ์ 10 ม. , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  77. ปอ.92 ไฮเกอร์ทดลองวิ่ง (คันสีเขียว) , รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai
  78. ปอ.92 ไฮเกอร์ทดลองวิ่ง (คันสีทอง) , bangkokbusclub
  79. 1009 รถบรรทุกแปลง , bangkokbusclub
  80. "Kong Busvader Posted - สาย 1009 สะพานใหม่ - มีนบุรี". รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  81. บีวายดี ลุยอีวี บัส ส่งทดสอบย่านทองหล่อ ก่อนขึ้นโรงงานประกอบ กรุงเทพธุรกิจ
  82. "รถโดยสารสวัสดิการกองทัพอากาศ รุ่น HINO BX321". Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์.
  83. "รถโดยสารสวัสดิการ ขส.ทอ. ดอนเมือง หรือที่คนในพื้นที่รู้จักกันในชื่อ "รถดอน" เส้นทาง สะพานใหม่ - ดอนเมือง". Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  84. "รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai - รถเมล์ปรับอากาศ ทอ. (สรุปแล้ว เป็นรถฮีโน่ พื้นสูง เครื่องหน้า แอร์ท้าย) | Facebook". รถเมล์ไทยแฟนคลับ Rotmaethai.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  85. "ปอ.ทอ. สายวนซ้ายระหว่างสะพานใหม่ดอนเมือง เป็นสายที่แปลกแทบทุกเรื่อง เนื่องจากเป็นรถไม่มีเลขสาย ไม่มีสัมปทาน มีอู่อยู่ที่กองยานพาหนะกรมทหารอากาศหลังตลาดยิ่งเจริญ". Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  86. "ปอ.ทอ. สำหรับรถดอน "สะพานใหม่ - ดอนเมือง" นอกจากจะมีรถร้อนแล้ว ทาง ขส.ทอ. ยังจัดรถปรับอากาศให้บริการอีกด้วย ซึ่งมีทั้งรถ MERCEDES BENZ และรถจีน HIGER คันในภาพนี้ครับ". Bangkokbusclub.com ชุมชนคนรักรถเมล์.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)