ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อสถานีรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีสถานีที่เปิดให้บริการแล้วทั้งหมด 190 สถานี (ณ วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2567) ได้แก่

รถไฟฟ้าบีทีเอส

[แก้]

สายสุขุมวิท

[แก้]
ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ ที่ตั้ง
คูคต N24 16 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ปทุมธานี
แยก คปอ. N23 กรุงเทพมหานคร
พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ N22 รถเวียนภายในท่าอากาศยานดอนเมือง
โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช N21
สะพานใหม่ N20
สายหยุด N19
พหลโยธิน 59 N18
วัดพระศรีมหาธาตุ N17 สายสีชมพู (สถานีร่วม) 5 มิถุนายน พ.ศ. 2563
กรมทหารราบที่ 11 N16
บางบัว N15
กรมป่าไม้ N14
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ N13 สายสีน้ำตาล สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประตู 1 (โครงการ) 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562
เสนานิคม N12
รัชโยธิน N11
พหลโยธิน 24 N10
ห้าแยกลาดพร้าว N9 สายสีน้ำเงิน สถานีพหลโยธิน 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562
หมอชิต N8 สายสีน้ำเงิน สถานีสวนจตุจักร 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
สะพานควาย N7
เสนาร่วม N6 สถานีในอนาคต
อารีย์ N5 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
สนามเป้า N4
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ N3
พญาไท N2 สายซิตี้ สถานีพญาไท
สายสีแดงอ่อน สถานีพญาไท (โครงการ)
ราชเทวี N1 สายสีส้ม สถานีราชเทวี (กำลังก่อสร้าง)
 เรือโดยสารคลองแสนแสบ  ท่าสะพานหัวช้าง
สยาม CEN สายสีลม (สถานีร่วม)
สายสีส้ม สถานีประตูน้ำ (กำลังก่อสร้าง)
ชิดลม E1 สายสีส้ม สถานีประตูน้ำ (กำลังก่อสร้าง)
เพลินจิต E2 สายสีแดงอ่อน สถานีเพลินจิต (โครงการ)
นานา E3
อโศก E4 สายสีน้ำเงิน สถานีสุขุมวิท
พร้อมพงษ์ E5
ทองหล่อ E6 สายสีเทา สถานีทองหล่อ (โครงการ)
เอกมัย E7
พระโขนง E8 สายสีเทา สถานีพระโขนง (โครงการ)
อ่อนนุช E9
บางจาก E10 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ปุณณวิถี E11
อุดมสุข E12 สายสีเงิน สถานีบางนา (โครงการ)
บางนา E13
แบริ่ง E14
สำโรง E15 สายสีเหลือง สถานีสำโรง 3 เมษายน พ.ศ. 2560 สมุทรปราการ
ปู่เจ้า E16 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ช้างเอราวัณ E17
โรงเรียนนายเรือ E18
ปากน้ำ E19
ศรีนครินทร์ E20
แพรกษา E21
สายลวด E22
เคหะฯ E23

สายสีลม

[แก้]
ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ
สนามกีฬาแห่งชาติ W1 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
สยาม CEN สายสุขุมวิท (สถานีร่วม)
สายสีส้ม ประตูน้ำ (กำลังก่อสร้าง)
ราชดำริ S1
ศาลาแดง S2 สายสีน้ำเงิน สีลม
ช่องนนทรี S3  บีอาร์ที  สถานีสาทร
สายสีเทา สถานีช่องนนทรี (โครงการ)
เซนต์หลุยส์ S4 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
สุรศักดิ์ S5 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
สะพานตากสิน S6  เรือด่วนเจ้าพระยา  ท่าสาทร
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
กรุงธนบุรี S7 สายสีทอง สถานีกรุงธนบุรี 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
วงเวียนใหญ่ S8 สายสีม่วง วงเวียนใหญ่ (กำลังก่อสร้าง)
สายสีแดงเข้ม วงเวียนใหญ่ (โครงการ)
โพธิ์นิมิตร S9 12 มกราคม พ.ศ. 2556
ตลาดพลู S10  บีอาร์ที  สถานีราชพฤกษ์
สายสีเทา สถานีตลาดพลู (โครงการ)
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
วุฒากาศ S11 สายสีแดงเข้ม ตากสิน (โครงการ) 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556
บางหว้า S12 สายสีน้ำเงิน บางหว้า
 เรือโดยสารคลองภาษีเจริญ  ท่าบางหว้า

สายสีทอง

[แก้]
ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ
กรุงธนบุรี G1 สายสีลม สถานีกรุงธนบุรี 16 มกราคม พ.ศ. 2564
เจริญนคร (ไอคอนสยาม) G2  เรือด่วนเจ้าพระยา  ท่าไอคอนสยาม (ผ่านไอคอนสยาม)
คลองสาน G3 สายสีแดงเข้ม สถานีคลองสาน (โครงการ)

รถไฟฟ้ามหานคร

[แก้]

สายเฉลิมรัชมงคล

[แก้]
ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ
ท่าพระ (ถนนจรัญสนิทวงศ์) BL01 ช่วงหัวลำโพง - หลักสอง
สายสีเทา ท่าพระ (โครงการ)
23 ธันวาคม พ.ศ. 2562
จรัญฯ 13 BL02
ไฟฉาย BL03
บางขุนนนท์ BL04 สายสีส้ม บางขุนนนท์ (กำลังก่อสร้าง)
สายสีแดงอ่อน บางขุนนนท์ (โครงการ)
บางยี่ขัน BL05
สิรินธร BL06 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562
บางพลัด BL07
บางอ้อ BL08
สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
บางโพ BL09  เรือด่วนเจ้าพระยา  ท่าบางโพ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562
เตาปูน BL10 สายสีม่วง (สถานีร่วม) 11 สิงหาคม พ.ศ. 2560
บางซื่อ BL11 สายสีแดงเข้ม สายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ  : กรุงเทพอภิวัฒน์
สายสีแดงอ่อน สายใต้  : กรุงเทพอภิวัฒน์
สายซิตี้ : กรุงเทพอภิวัฒน์ (กำลังก่อสร้าง)
3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
กำแพงเพชร BL12
สวนจตุจักร BL13 สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต
พหลโยธิน BL14 สายสุขุมวิท สถานีห้าแยกลาดพร้าว
ลาดพร้าว BL15 สายสีเหลือง ลาดพร้าว
รัชดาภิเษก BL16
สุทธิสาร BL17
ห้วยขวาง BL18
ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย BL19 สายสีส้ม (สถานีร่วม) (กำลังก่อสร้าง)
พระราม 9 BL20
เพชรบุรี BL21 สายซิตี้ สถานีมักกะสัน
สายสีแดงอ่อน สถานีมักกะสัน (โครงการ)
 เรือโดยสารคลองแสนแสบ  ท่าอโศก
สายสีฟ้า สถานีมักกะสัน (โครงการ)
สุขุมวิท BL22 สายสุขุมวิท สถานีอโศก
ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ BL23 สายสีเทา สถานีพระราม 4 (โครงการ)
คลองเตย BL24 สายสีเทา สถานีคลองเตย (โครงการ)
สายสีแดงอ่อน สถานีคลองเตย (โครงการ)
ลุมพินี BL25 สายสีเทา สถานีลุมพินี (โครงการ)
สายสีฟ้า สถานีลุมพินี (โครงการ)
สีลม BL26 สายสีลม สถานีศาลาแดง
สามย่าน BL27
หัวลำโพง BL28 สายสีแดงเข้ม หัวลำโพง (โครงการ)
วัดมังกร BL29 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
สามยอด BL30 สายสีม่วง (สถานีร่วม) (กำลังก่อสร้าง)
สนามไชย BL31  เรือด่วนเจ้าพระยา  ท่าราชินี
อุโมงค์ลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา
อิสรภาพ BL32 สายสีทอง สถานีอิสรภาพ (โครงการ) 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
ท่าพระ (ถนนเพชรเกษม) BL01 ช่วงเตาปูน - ท่าพระ
สายสีเทา ท่าพระ(โครงการ)
บางไผ่ BL33 24 สิงหาคม พ.ศ. 2562
บางหว้า BL34 สายสีลม บางหว้า
เพชรเกษม 48 BL35 21 กันยายน พ.ศ. 2562
ภาษีเจริญ BL36
บางแค BL37
หลักสอง BL38

สายฉลองรัชธรรม

[แก้]


สถานี รหัสสถานี โครงสร้าง วันที่เปิดให้บริการ ที่ตั้ง
คลองบางไผ่ PP01 6 สิงหาคม พ.ศ. 2559; 8 ปีก่อน (2559-08-06) นนทบุรี
ตลาดบางใหญ่ PP02
สามแยกบางใหญ่ PP03
บางพลู PP04
บางรักใหญ่ PP05
บางรักน้อยท่าอิฐ PP06 สายสีลม สถานีบางรักน้อยท่าอิฐ (โครงการ)
ไทรม้า PP07
สะพานคู่ขนานพระนั่งเกล้า 3 ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
สะพานพระนั่งเกล้า PP08  เรือด่วนเจ้าพระยา  ธงเขียว, เรือโดยสารสาธารณะ ไทย สมายล์ โบ้ท  6 สิงหาคม พ.ศ. 2559; 8 ปีก่อน (2559-08-06) นนทบุรี
แยกนนทบุรี 1 PP09
บางกระสอ PP10
ศูนย์ราชการนนทบุรี PP11 สายสีชมพู ศูนย์ราชการนนทบุรี
สายสีน้ำตาล ศูนย์ราชการนนทบุรี (โครงการ)
กระทรวงสาธารณสุข PP12
แยกติวานนท์ PP13
วงศ์สว่าง PP14 กรุงเทพมหานคร
บางซ่อน PP15 สายสีแดงอ่อน สถานีบางซ่อน
เตาปูน PP16 สายสีน้ำเงิน (สถานีร่วม)

สายนัคราพิพัฒน์

[แก้]
ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ
ลาดพร้าว YL01 สายสีน้ำเงิน ลาดพร้าว 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2566
ภาวนา YL02
โชคชัย 4 YL03
ลาดพร้าว 71 YL04 สายสีเทา ลาดพร้าว 71 (โครงการ)
ลาดพร้าว 83 YL05
มหาดไทย YL06
ลาดพร้าว 101 YL07
บางกะปิ YL08
แยกลำสาลี YL09 สายสีส้ม แยกลำสาลี (กำลังก่อสร้าง)
สายสีน้ำตาล แยกลำสาลี (โครงการ)
 เรือโดยสารคลองแสนแสบ  ท่าเดอะมอลล์ บางกะปิ
ศรีกรีฑา YL10
หัวหมาก YL11 สายซิตี้ หัวหมาก
สายสีแดงอ่อน หัวหมาก (โครงการ)
กลันตัน YL12
ศรีนุช YL13
ศรีนครินทร์ 38 YL14
สวนหลวง ร.9 YL15
ศรีอุดม YL16
ศรีเอี่ยม YL17 สายสีเงิน สถานีวัดศรีเอี่ยม (โครงการ)
ศรีลาซาล YL18
ศรีแบริ่ง YL19
ศรีด่าน YL20
ศรีเทพา YL21
ทิพวัล YL22
สำโรง YL23 สายสุขุมวิท สถานีสำโรง

สายสีชมพู

[แก้]
ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ ที่ตั้ง
เส้นทางหลัก ศูนย์ราชการนนทบุรี-มีนบุรี
ศูนย์ราชการนนทบุรี PK01 สายสีม่วง สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี
สายสีน้ำตาล สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี (โครงการ)
7 มกราคม พ.ศ. 2567 นนทบุรี
แคราย PK02
สนามบินน้ำ PK03
สามัคคี PK04
กรมชลประทาน PK05
แยกปากเกร็ด PK06  เรือด่วนเจ้าพระยา  ท่าเรือปากเกร็ด
เลี่ยงเมืองปากเกร็ด PK07
แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด 28 PK08
ศรีรัช PK09
เมืองทองธานี PK10 สายแยกเมืองทองธานี-อิมแพ็ค
แจ้งวัฒนะ 14 PK11 กรุงเทพมหานคร
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ PK12
โทรคมนาคมแห่งชาติ PK13
หลักสี่ PK14 สายสีแดงเข้ม สถานีหลักสี่
ราชภัฏพระนคร PK15
วัดพระศรีมหาธาตุ PK16 สายสุขุมวิท (สถานีร่วม)
รามอินทรา 3 PK17
ลาดปลาเค้า PK18
รามอินทรา กม. 4 PK19
มัยลาภ PK20
วัชรพล PK21 สายสีเทา สถานีวัชรพล (โครงการ)
รามอินทรา กม. 6 PK22
คู้บอน PK23
รามอินทรา กม. 9 PK24
วงแหวนรามอินทรา PK25
นพรัตน์ PK26
บางชัน PK27
เศรษฐบุตรบำเพ็ญ PK28
ตลาดมีนบุรี PK29
มีนบุรี PK30 สายสีส้ม (สถานีร่วม) (กำลังก่อสร้าง)
เส้นทางแยก เมืองทองธานี-อิมแพ็ค
เมืองทองธานี PK10 สายหลักศูนย์ราชการนนทบุรี-มีนบุรี 3 มิถุนายน พ.ศ. 2568 นนทบุรี
อิมแพ็ค เมืองทองธานี MT01
ทะเลสาบเมืองทองธานี MT02

รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์

[แก้]

สายซิตี้

[แก้]
ชื่อและรหัสของสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ ที่ตั้ง
A1 สุวรรณภูมิ สายสีเงิน สถานีสุวรรณภูมิ (โครงการ) 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553 สมุทรปราการ
A2 ลาดกระบัง สายสีแดงอ่อน สถานีลาดกระบัง (โครงการ) กรุงเทพมหานคร
A3 บ้านทับช้าง สายสีแดงอ่อน สถานีบ้านทับช้าง (โครงการ)
A4 หัวหมาก สายสีเหลือง สถานีหัวหมาก
สายสีแดงอ่อน สถานีหัวหมาก (โครงการ)
A5 รามคำแหง สายสีแดงอ่อน สถานีรามคำแหง (โครงการ)
 เรือโดยสารคลองแสนแสบ  ท่ารามคำแหง 1
A6 มักกะสัน สายสีน้ำเงิน สถานีเพชรบุรี
สายสีแดงอ่อน สถานีมักกะสัน (โครงการ)
 เรือโดยสารคลองแสนแสบ  ท่าอโศก
A7 ราชปรารภ สายสีส้ม สถานีราชปรารภ (กำลังก่อสร้าง)
A8 พญาไท สายสุขุมวิท สถานีพญาไท
สายสีแดงอ่อน สถานีพญาไท (โครงการ)

รถไฟฟ้าชานเมือง

[แก้]

สายธานีรัถยา

[แก้]
ชื่อสถานี รหัสสถานี ขบวนที่จอด จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ ที่ตั้ง
รถไฟฟ้า รถทางไกล
รังสิต RN10 สายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ  : รังสิต 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ปทุมธานี
หลักหก (มหาวิทยาลัยรังสิต) RN09 -
ดอนเมือง RN08 สายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ  : ดอนเมือง
สายซิตี้ ท่าอากาศยานดอนเมือง (กำลังก่อสร้าง)
กรุงเทพมหานคร
การเคหะ RN07 -
หลักสี่ RN06 - สายสีชมพู หลักสี่
ทุ่งสองห้อง RN05 -
บางเขน RN04 - สายสีน้ำตาล บางเขน (โครงการ)
วัดเสมียนนารี RN03 -
จตุจักร RN02 -
กรุงเทพอภิวัฒน์
(สถานีกลาง)
RN01
RS01
สายสีแดงอ่อน (สถานีร่วม)
สายสีน้ำเงิน บางซื่อ
สายซิตี้ (กำลังก่อสร้าง)

สายนครวิถี

[แก้]
ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี ขบวนที่จอด จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ ที่ตั้ง
รถไฟฟ้า รถทางไกล
เส้นทางหลัก บางซื่อ-ตลิ่งชัน
ตลิ่งชัน RW06 - สายแยกตลิ่งชัน-ศิริราช
สายสีลม สถานีตลิ่งชัน (โครงการ)
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 กรุงเทพมหานคร
บางบำหรุ RW05 กรุงเทพมหานคร
นนทบุรี
สะพานคู่ขนานพระราม 6 ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
บางซ่อน RW02 - สายสีม่วง สถานีบางซ่อน 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพอภิวัฒน์
(สถานีกลาง)
RW01
RE01
สายสีแดงเข้ม (สถานีร่วม)
สายสีน้ำเงิน สถานีบางซื่อ
สายซิตี้ สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (กำลังก่อสร้าง)

อ้างอิง

[แก้]
  1. "3 มิ.ย.นี้ เปิดทดลองรถไฟฟ้า "สีเหลือง" แค่ 13 สถานี "สำโรง-หัวหมาก" ก่อน". เดลินิวส์.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]