จักรพรรดิโกะ-มิซูโน
จักรพรรดิโกะ-มิซูโน 後水尾天皇 | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
จักรพรรดิญี่ปุ่น | |||||||||
ครองราชย์ | 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1611 – 22 ธันวาคม ค.ศ. 1629 | ||||||||
ราชาภิเษก | 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1611 | ||||||||
ก่อนหน้า | โกะ-โยเซ | ||||||||
ถัดไป | เมโช | ||||||||
โชกุน | ดูรายชื่อ | ||||||||
ประสูติ | 29 มิถุนายน ค.ศ. 1596 เกียวโต จังหวัดเกียวโต ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ โคโตฮิโตะ (ญี่ปุ่น: 政仁; โรมาจิ: Kotohito) | ||||||||
สวรรคต | 11 กันยายน ค.ศ. 1680 รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ (ปัจจุบันคือประเทศญี่ปุ่น) | (84 ปี)||||||||
ฝังพระศพ | สึกิ โนะ วะ โนะ มิซะซะงิ เกียวโต | ||||||||
คู่อภิเษก | โทกูงาวะ มาซาโกะ (สมรส 1620; เสียชีวิต 1678) | ||||||||
พระราชบุตร และอื่น ๆ... | |||||||||
| |||||||||
ราชสกุล | ราชวงศ์ญี่ปุ่น | ||||||||
พระราชบิดา | จักรพรรดิโกะ-โยเซ | ||||||||
พระราชมารดา | โคโนเอะ ซากิโกะ | ||||||||
ลายพระอภิไธย |
โคโตฮิโตะ (ญี่ปุ่น: 政仁; โรมาจิ: Kotohito; 29 มิถุนายน ค.ศ. 1596 – 11 กันยายน ค.ศ. 1680) ได้รับการยกพระเกียรติหลังสวรรคตเป็น จักรพรรดิโกะ-มิซูโน (ญี่ปุ่น: 後水尾天皇; โรมาจิ: Gomizunō Tennō) เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 108[1] ตามกฎมณเทียรบาลดั้งเดิม[2]: 113–115 รัชสมัยของจักรพรรดิโกะ-มิซูโนะอยู่ใน ค.ศ. 1611 ถึง 1629[3] และเป็นจักรพรรดิองค์แรกที่ครองสิริราชสมบัติอย่างสมบูรณ์ในยุคเอโดะ
พระนามของจักรพรรดิโกะ-มิซูโนนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิเซวะ (ญี่ปุ่น: 清和天皇; โรมาจิ: Seiwa-tennō)[4] จักรพรรดิองค์ที่ 56 ที่ปกครองในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 9 ที่มีอีกพระนามหนึ่งว่า จักรพรรดิมิซูโน เมื่อใส่คำว่า โกะ (後) เข้าไปทำให้พระนามของจักรพรรดิโกะ-มิซูโนมีความหมายว่า จักรพรรดิมิซูโนที่สอง หรือ จักรพรรดิมิซูโนยุคหลัง
ลำดับวงศ์ตระกูล
[แก้]ก่อนที่จะเสด็จขึ้นสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์มีพระนามเดิม (อิมินะ) ว่า โคโตฮิโตะ (ญี่ปุ่น: 政仁; โรมาจิ: Kotohito)[2]: 9 หรือ มาซาฮิโตะ[3] พระองค์เป็นโอรสองค์ที่ 3 ของจักรพรรดิโกโยเซกับโคโนเอะ ซากิโกะ
พระองค์ประทับอยู่กับพระราชวงศ์ของพระองค์ใน ไดริ หรือ เขตพระราชฐานชั้นใน ของ พระราชวังหลวงเฮอัง โกะ-มิซูโนมีพระราชโอรสธิดา 33 พระองค์จากพระมเหสีกับพระสนมทั้งหมด 6 พระองค์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เหตุการณ์
[แก้]เจ้าชายมาซาฮิโตะขึ้นเป็นจักรพรรดิหลังจากการสละราชสมบัติของจักรพรรดิโกโยเซพระราชบิดา หลังจากไม่นาน จักรพรรดิโกโยเซได้เสด็จขึ้นครองราชย์[5] ปีแห่งการครองราชย์ของจักรพรรดิโกะ-มิซูโนะสอดคล้องกับช่วงเวลาที่ โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ และ โทกูงาวะ อิเอมิตสึ เป็นผู้นำของ รัฐบาลเอโดะ
- 29 มิถุนายน ค.ศ. 1596: การประสูติของเจ้าชายซึ่งจะเป็นที่รู้จักในพระนาม จักรพรรดิโกะ-มิซูโนะ[6]
พระราชพงศาวลี
[แก้]พงศาวลีของจักรพรรดิโกะ-มิซูโน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "後水尾天皇 (108)" (ภาษาญี่ปุ่น). Imperial Household Agency. n.d. สืบค้นเมื่อ 2022-08-03.
- ↑ 2.0 2.1 Ponsonby-Fane, Richard (1959). The Imperial House of Japan.
- ↑ 3.0 3.1 Titsingh, Isaac (1834). Nipon o daï itsi ran; ou, Annales des empereurs du Japon. pp. 409–411.
- ↑ Emperor Seiwa, after his death, was sometimes referred to as ญี่ปุ่น: Mizunoo; โรมาจิ: 水尾 because this is the location of his tomb.
- ↑ Titsingh, p. 410; Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki, p. 44; n.b., a distinct act of senso is unrecognized prior to Emperor Tenji; and all sovereigns except Jitō, Yōzei, Go-Toba, and Fushimi have senso and sokui in the same year until the reign of Emperor Go-Murakami.
- ↑ Meyer, Eva-Maria. (1999). Japans Kaiserhof in der Edo-Zeit, p. 186.