จักรพรรดิโคบุง
จักรพรรดิโคบุง 弘文天皇 | |||||
---|---|---|---|---|---|
กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งยามาโตะ | |||||
จักรพรรดิญี่ปุ่น | |||||
ครองราชย์ | 9 มกราคม ค.ศ. 672 – 21 สิงหาคม ค.ศ. 672 | ||||
ก่อนหน้า | เท็นจิ | ||||
ถัดไป | เท็มมุ | ||||
พระราชสมภพ | ค.ศ. 648 โอโตโมะ (大友) หรือ อิงะ (伊賀) | ||||
สวรรคต | 21 สิงหาคม ค.ศ. 672 ยามาซากิ (ชิงะ) | (23–24 ปี)||||
ฝังพระศพ | นางาระ โนะ ยามาซากิ โนะ มิซาซางิ (長等山前陵; ชิงะ) | ||||
ชายา |
| ||||
พระราชบุตร |
| ||||
| |||||
ราชสกุล | ราชวงศ์ญี่ปุ่น | ||||
พระราชบิดา | จักรพรรดิเท็นจิ | ||||
พระราชมารดา | ยากาโกะ-โนะ-อิรัตสึเมะ |
จักรพรรดิโคบุง (ญี่ปุ่น: 弘文天皇; โรมาจิ: Kōbun-tennō; ป. ค.ศ. 648 – 21 สิงหาคม ค.ศ. 672) เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 39[1] ตามลำดับการสืบราชบัลลังก์แบบดั้งเดิม[2]
รัชสมัยของจักรพรรดิโคบุงอยู่เพียงไม่กี่เดือนใน ค.ศ. 672[3]
เรื่องราวแบบดั้งเดิม
[แก้]จักรพรรดิโคบุงได้รับการสถาปนาให้เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 39 โดยรัฐบาลเมจิใน ค.ศ. 1870 และนับตังแต่ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระองค์เป็นทีู่้จักจากพระนามหลังสวรรคตที่นักวิชาการยุคเมจิตั้งให้[4]
ใน่ชวงพระชนม์ชีพ พระองค์รู้จักกันในพระนาม เจ้าชายโอโตโมะ (大友皇子, Ōtomo no ōji) โดยเป็นพระราชโอรสองค์โปรดของจักรพรรดิเท็นจิ และเป็นบุคคลแรกที่ได้รับบรรดาศักดิ์ ไดโจไดจิง[2]
พระมเหสีและพระราชโอรสธิดา
[แก้]พระมเหสี: เจ้าหญิงโทจิ (十市皇女) พระราชธิดาในจักรพรรดิเท็มมุ
- พระราชโอรสองค์แรก: เจ้าชายคาโดโนะ (葛野王, 669–706)
พระมเหสี: ฟูจิวาระ โนะ มิมิโมโตจิ (藤原耳面刀自) ธิดาในฟูจิวาระ โนะ คามาตาริ
- เจ้าหญิงอิจิชิ-ฮิเมะ (壱志姫王)
จักรพรรดิโคบุงยังมีพระราชโอรสนามว่าเจ้าชายโยตะ (興多王) กับพระมเหสีไม่ทราบพระนาม
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Imperial Household Agency (Kunaichō): 弘文天皇 (39)
- ↑ 2.0 2.1 Ponsonby-Fane, Richard. (1959). The Imperial House of Japan, p. 53.
- ↑ Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du japon, pp. 55–58., p. 55, ที่กูเกิล หนังสือ
- ↑ Brown, Delmer. (1979). Gukanshō, p. 268 n.39; Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki, p. 136.
ข้อมูล
[แก้]- Aston, William George. (1896). Nihongi: Chronicles of Japan from the Earliest Times to A.D. 697. London: Kegan Paul, Trench, Trubner. OCLC 448337491
- Brown, Delmer M. and Ichirō Ishida, eds. (1979). Gukanshō: The Future and the Past. Berkeley: University of California Press. ISBN 978-0-520-03460-0; OCLC 251325323
- Ponsonby-Fane, Richard Arthur Brabazon. (1959). The Imperial House of Japan. Kyoto: Ponsonby Memorial Society. OCLC 194887
- Titsingh, Isaac. (1834). Nihon Ōdai Ichiran; ou, Annales des empereurs du Japon. Paris: Royal Asiatic Society, Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland. OCLC 5850691
- Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki: A Chronicle of Gods and Sovereigns. New York: Columbia University Press. ISBN 978-0-231-04940-5; OCLC 59145842