ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทยเรียงตามลำดับเวลา ปัจจุบันประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีแล้วทั้งสิ้น 31 คน

รูปภาพของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา
รูปภาพของแปลก พิบูลสงคราม
รูปภาพของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
รูปภาพของแพทองธาร ชินวัตร

รายชื่อนายกรัฐมนตรีไทย

      ประธานคณะกรรมการราษฎร
      นายกรัฐมนตรีจากผลของรัฐประหาร
      ผู้รักษาการแทนนายกรัฐมนตรี
      คณะรัฐประหาร
ลำดับ
(สมัย)
รูป ชื่อ
เขตเลือกตั้ง
คณะรัฐมนตรีไทย
คณะที่
การดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง รัชสมัย
เริ่มวาระ
(เริ่มต้นโดย)
สิ้นสุดวาระ
(สิ้นสุดโดย)
ระยะเวลา
1
(1-3)
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา

(ก้อน หุตะสิงห์)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว

1 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475
(มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว)
10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม)
0 ปี 358 วัน อิสระ

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
2 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว)
1 เมษายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา)
3 1 เมษายน พ.ศ. 2476
(พระราชกฤษฎีกา)
21 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหารและลาออก)
2
(1-5)
พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 1
ประเภทที่ 2

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 2
ประเภทที่ 2
4 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(มติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว)
16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(ลาออกและเลือกตั้งทั่วไป)
5 ปี 178 วัน คณะราษฎร
5 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1)
22 กันยายน พ.ศ. 2477
(ลาออกเนื่องจากสภาไม่อนุมัติสนธิสัญญาจำกัดยางของรัฐบาล)
6 22 กันยายน พ.ศ. 2477
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1)
9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(ลาออกเนื่องจากกรณีกระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่)

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
7 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1)
21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(สภาครบวาระและจัดเลือกตั้งทั่วไป)
8 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2)
16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและเลือกตั้งทั่วไป)[a]
3
(1-2)
พลตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ)
(ถึงกรกฎาคม 2484)
จอมพล ป. พิบูลสงคราม
(ตั้งแต่กรกฎาคม 2484)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 3
ประเภทที่ 2
9 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
7 มีนาคม พ.ศ. 2485
(ลาออกเนื่องจากต้องเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสม)
5 ปี 229 วัน
10 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(ลาออกเนื่องจาก ส.ส. ไม่อนุมัติร่าง พ.ร.บ. และ พ.ร.ก.)
4
(1)
พันตรี ควง อภัยวงศ์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 3
ประเภทที่ 2
11 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(ลาออกเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง)
1 ปี 30 วัน
5
ทวี บุณยเกตุ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 3
ประเภทที่ 2
12 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
17 กันยายน พ.ศ. 2488
(ลาออกเนื่องจากให้ผู้ที่เหมาะสมมาแทน)
0 ปี 17 วัน
6
(1)
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 13 17 กันยายน พ.ศ. 2488
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3)
31 มกราคม พ.ศ. 2489
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและเลือกตั้งทั่วไป)
0 ปี 136 วัน ขบวนการเสรีไทย
4
(2)
พันตรี ควง อภัยวงศ์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4
ประเภทที่ 2

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4
จ.พระนคร เขต 2
14 31 มกราคม พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
24 มีนาคม พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากแพ้มติสภาที่เสนอ พ.ร.บ. ที่รัฐบาลรับไม่ได้)
0 ปี 52 วัน คณะราษฎร
7
(1-3)
ปรีดี พนมยงค์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4
ประเภทที่ 2

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4
จ.พระนครศรีอยุธยา เขต 2
15 24 มีนาคม พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
7 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489)
0 ปี 152 วัน
- 7 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(ลาออกเนื่องจากการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล)

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
16 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(ลาออก)
8
(1-2)
พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4
ประเภทที่ 2

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 4
จ.พระนครศรีอยุธยา เขต 1
17 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(ลาออกเนื่องจากมีกระแสกดดันที่รุนแรง)
1 ปี 79 วัน พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
18 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4)
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(รัฐประหาร)
คณะทหารแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ: จอมพล ผิน ชุณหะวัณ)
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 0 ปี 1 วัน
(ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี)
4
(3-4)
พันตรี ควง อภัยวงศ์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 5
พระนคร เขต 1

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 5
ประเภทที่ 2
19 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(มติคณะทหารแห่งชาติ)
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(ลาออกเพื่อจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
0 ปี 150 วัน พรรคประชาธิปัตย์
20 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(เสนอชื่อโดยประธานคณะอภิรัฐมนตรี)
8 เมษายน พ.ศ. 2491
(ลาออกเนื่องจากคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกภายใน 24 ชั่วโมง)
3
(3-8)
จอมพล ป. พิบูลสงคราม
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 6,7
ประเภทที่ 2

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 8
จ.พระนคร
21 8 เมษายน พ.ศ. 2491
(เสนอชื่อโดยประธานคณะอภิรัฐมนตรี)
25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 และมีการเลือกตั้งทั่วไป)
9 ปี 161 วัน พรรคธรรมาธิปัตย์
22 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(เสนอชื่อโดยประธานรัฐสภา)
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(นำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้ง)
23 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(มติคณะบริหารประเทศชั่วคราว)
6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มีการแต่งตั้งสมาชิกประเภทที่ 2 ขึ้นใหม่)
คณะบริหารประเทศชั่วคราว
24 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6)
23 มีนาคม พ.ศ. 2495
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2495 และมีการเลือกตั้งทั่วไป)
พรรคธรรมาธิปัตย์
25 24 มีนาคม พ.ศ. 2495
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7)
21 มีนาคม พ.ศ. 2500
(สภาครบวาระและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
26 21 มีนาคม พ.ศ. 2500
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8)
16 กันยายน พ.ศ. 2500
(รัฐประหาร)
พรรคเสรีมนังคศิลา
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์)
16 กันยายน พ.ศ. 2500 21 กันยายน พ.ศ. 2500 0 ปี 5 วัน
(ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี)
9 พจน์ สารสิน 27 21 กันยายน พ.ศ. 2500
(ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร)
1 มกราคม พ.ศ. 2501
(ลาออกและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
0 ปี 102 วัน อิสระ
10
(1)
จอมพล ถนอม กิตติขจร 28 1 มกราคม พ.ศ. 2501
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
(ลาออกและรัฐประหาร)
0 ปี 292 วัน พรรคชาติสังคม
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 0 ปี 112 วัน
(ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี)
11
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 29 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
(มติสภาร่างรัฐธรรมนูญ)
8 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(ถึงแก่อสัญกรรม)
4 ปี 302 วัน คณะปฏิวัติ
10
(2-3)
จอมพล ถนอม กิตติขจร 30 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(มติสภาร่างรัฐธรรมนูญ)
7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
7 ปี 343 วัน
31 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
(รัฐประหาร)
พรรคสหประชาไทย
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: จอมพล ถนอม กิตติขจร)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 1 ปี 31 วัน
(ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี)
10
(4)
จอมพล ถนอม กิตติขจร 32 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515
(มติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(ลาออกเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา)
0 ปี 300 วัน คณะปฏิวัติ
12

(1-2)

สัญญา ธรรมศักดิ์ 33 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(ทูลเกล้าฯเสนอชื่อโดยรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(ลาออก)
1 ปี 124 วัน อิสระ
34 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(มติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
6
(2)
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 11
กรุงเทพฯ เขต 6
35 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11)
14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(ลาออกเนื่องจากไม่ได้รับความไว้วางใจในการแถลงนโยบาย)
0 ปี 27 วัน พรรคประชาธิปัตย์
13 พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 11
กรุงเทพฯ เขต 1
36 14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11)
20 เมษายน พ.ศ. 2519
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[b]
1 ปี 37 วัน พรรคกิจสังคม
6
(3-4)
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 12
กรุงเทพฯ เขต 5
37 20 เมษายน พ.ศ. 2519
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12)
25 กันยายน พ.ศ. 2519
(ลาออกเนื่องจากปัญหาความไม่สงบ)
0 ปี 169 วัน พรรคประชาธิปัตย์
38 25 กันยายน พ.ศ. 2519
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12)
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(รัฐประหาร เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลา)
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
(หัวหน้าคณะ: พลเรือเอก สงัด ชลออยู่)
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 0 ปี 2 วัน
(ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี)
14 ธานินทร์ กรัยวิเชียร 39 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(มติคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
(รัฐประหาร)
1 ปี 12 วัน อิสระ
คณะปฏิวัติ
(หัวหน้าคณะ: พลเรือเอก สงัด ชลออยู่)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 0 ปี 22 วัน
(ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี)
15
(1-2)
พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 13
จ.ร้อยเอ็ด เขต 1
40 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
(มติคณะปฏิวัติ)
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
2 ปี 113 วัน กองทัพ
41 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13)
3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(ลาออกเนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์น้ำมันและผู้ลี้ภัย)
อิสระ
16
(1-3)
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ 42 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13)
30 เมษายน พ.ศ. 2526
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[c]
8 ปี 154 วัน กองทัพ
43 30 เมษายน พ.ศ. 2526
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14)
5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[d]
อิสระ
44 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15)
4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[e]
17
(1-2)
พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 16
จ.นครราชสีมา เขต 1
45 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16)
9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(ลาออก)
2 ปี 203 วัน พรรคชาติไทย
46 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16)
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
(รัฐประหาร)
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ:พลเอก สุนทร คงสมพงษ์)
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 2 มีนาคม พ.ศ. 2534 0 ปี 7 วัน
(ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี)
18
(1)
อานันท์ ปันยารชุน 47 2 มีนาคม พ.ศ. 2534
(มติคณะ รสช.)
7 เมษายน พ.ศ. 2535
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
1 ปี 36 วัน อิสระ
19 พลเอก สุจินดา คราประยูร 48 7 เมษายน พ.ศ. 2535
(ทูลเกล้าฯ เสนอชื่อโดยสุนทร คงสมพงษ์ ประธานสภา รสช.[1][2] และมติพรรคร่วมรัฐบาล[3])
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(ลาออกเนื่องจากเกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ)
0 ปี 47 วัน
- มีชัย ฤชุพันธุ์ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง)
10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
0 ปี 17 วัน
(ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี)
18
(2)
อานันท์ ปันยารชุน 49 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(ทูลเกล้าฯ เสนอชื่อโดยอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎร)
23 กันยายน พ.ศ. 2535
(ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[f]
0 ปี 105 วัน
20
(1)
ชวน หลีกภัย
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 18
จ.ตรัง เขต 1
50 23 กันยายน พ.ศ. 2535
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18)
13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[g]
2 ปี 293 วัน พรรคประชาธิปัตย์
21
บรรหาร ศิลปอาชา
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 19
จ.สุพรรณบุรี เขต 1
51 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19)
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[h]
1 ปี 135 วัน พรรคชาติไทย
22
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 20
จ.นครพนม เขต 1
52 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ)
0 ปี 349 วัน พรรคความหวังใหม่
20
(2)
ชวน หลีกภัย
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 20
จ.ตรัง เขต 1
53 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20)
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[i]
3 ปี 92 วัน พรรคประชาธิปัตย์
23
(1-2)
พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 21
แบบบัญชีรายชื่อ

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 22
แบบบัญชีรายชื่อ
54 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21)
11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(สภาครบวาระ และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
5 ปี 222 วัน พรรคไทยรักไทย
55 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22)
19 กันยายน พ.ศ. 2549
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร จัดการเลือกตั้งทั่วไป และเกิดรัฐประหาร)[j]
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(หัวหน้าคณะ: พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน)
19 กันยายน พ.ศ. 2549 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 0 ปี 12 วัน
(ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี)
24
พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ 56 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
(มติคณะ คปค.)
29 มกราคม พ.ศ. 2551
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
1 ปี 120 วัน อิสระ
25
สมัคร สุนทรเวช
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 23
แบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6
57 29 มกราคม พ.ศ. 2551
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23)
9 กันยายน พ.ศ. 2551
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง)[k]
0 ปี 224 วัน พรรคพลังประชาชน
26
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 23
แบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 1
9 กันยายน พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
18 กันยายน พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
0 ปี 9 วัน
(ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี)
58 18 กันยายน พ.ศ. 2551
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23)
2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)[l]
0 ปี 75 วัน
-
ชวรัตน์ ชาญวีรกูล 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
0 ปี 14 วัน
(ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี)
อิสระ
27
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 23
แบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6
59 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23)
5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[m]
2 ปี 231 วัน พรรคประชาธิปัตย์
28
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24
แบบบัญชีรายชื่อ
60 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24)
7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งขณะรักษาการ[n] หลังจากยุบสภาผู้แทนราษฎร[o] และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)
2 ปี 275 วัน พรรคเพื่อไทย
-
นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24
แบบบัญชีรายชื่อ
7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
(รัฐประหาร)
0 ปี 15 วัน
(ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี)
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
(หัวหน้าคณะ: พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557 0 ปี 94 วัน
(ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี)
29
(1-2)
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา 61 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557
(มติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ)
9 มิถุนายน พ.ศ. 2562
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[p]
8 ปี 0 วัน คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
62 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562
(มติของรัฐสภาไทย ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25 และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12)
24 สิงหาคม พ.ศ. 2565
(ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้หยุดปฏิบัติหน้าที่ระหว่างรอคำวินิจฉัย)[q]
อิสระ[r]
-
พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2565
(ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้นายกรัฐมนตรีหยุดปฏิบัติหน้าที่ระหว่างรอคำวินิจฉัย)
30 กันยายน พ.ศ. 2565
(นายกรัฐมนตรีกลับมาปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ)
0 ปี 37 วัน
(ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี)[4]
พรรคพลังประชารัฐ
29
(2)
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา 30 กันยายน พ.ศ. 2565
(ศาลรัฐธรรมนูญมีมติให้กลับมาปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ)
22 สิงหาคม พ.ศ. 2566
(ยุบสภาผู้แทนราษฎร และจัดการเลือกตั้งทั่วไป)[s]
0 ปี 326 วัน
(รวมทั้งหมด 8 ปี 326 วัน)
อิสระ[t]
30
เศรษฐา ทวีสิน 63 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566
(มติของรัฐสภาไทย ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26 และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12)
14 สิงหาคม พ.ศ. 2567
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง)[u]
0 ปี 358 วัน พรรคเพื่อไทย
-
ภูมิธรรม เวชยชัย 14 สิงหาคม พ.ศ. 2567
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
16 สิงหาคม พ.ศ. 2567
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่)
0 ปี 3 วัน
(ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี)
31
แพทองธาร ชินวัตร 64 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567
(มติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 26)
ปัจจุบัน 0 ปี 140 วัน

เชิงอรรถ

  1. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2481
  2. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519
  3. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2526
  4. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
  5. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2531
  6. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535
  7. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538
  8. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539
  9. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
  10. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549
  11. ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 182 (7) ประกอบมาตรา 267 จากกรณีเป็นผู้ดำเนินรายการ "ชิมไปบ่นไป" และ "ยกโขยง 6 โมงเช้า"
  12. ศาลรัฐธรรมนูญมีมติให้ยุบพรรคพลังประชาชน, พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย รวมทั้งตัดสิทธิ์ทางการเมืองของคณะกรรมการบริหารพรรคที่ถูกยุบคนละ 5 ปี
  13. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
  14. ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 182 (7) ประกอบมาตรา 268 และมาตรา 266 (2) และ (3) จากกรณีโยกย้ายถวิล เปลี่ยนศรี จากตำแหน่งเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
  15. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556
  16. พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประกาศใช้เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2562
  17. พักการปฏิบัติหน้าที่ระหว่างวันที่ 24 สิงหาคม – 30 กันยายน พ.ศ. 2565 ระหว่างศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยประเด็นวาระการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
  18. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ไม่ได้เป็นสมาชิกของพรรคพลังประชารัฐ แต่ได้รับการเสนอชื่อจากพรรคให้เป็นผู้ชิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562
  19. ยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2566
  20. ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2566 เขาได้สมัครเป็นสมาชิกพรรครวมไทยสร้างชาติ และเป็นสมาชิกของพรรคจนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566
  21. ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 170 (4) ประกอบมาตรา 160 (4) จากกรณีแต่งตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น