ข้ามไปเนื้อหา

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2561 – ตอนล่าง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2561 — ตอนล่าง
ฤดูกาล2561
ทีมชนะเลิศศุลกากร ยูไนเต็ด
เลื่อนชั้นศุลกากร ยูไนเต็ด
ตกชั้นเดฟโฟ เอฟซี
จำนวนนัด182
จำนวนประตู451 (2.48 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดไดกิ โคโนมูระ
(15 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
7 ประตู
นรา ยูไนเต็ด 7–0 สีหมอก เอฟซี
(5 สิงหาคม 2561)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
4 ประตู
สีหมอก เอฟซี 0–4 ภูเก็ต ซิตี้
(1 สิงหาคม 2561)
จำนวนประตูสูงสุด8 ประตู
สีหมอก เอฟซี 3–5 ศุลกากร ยูไนเต็ด
(26 สิงหาคม 2561)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
5 นัด
บีทียู ส.บุญมีฤทธิ์ ยูไนเต็ด
ศุลกากร ยูไนเต็ด
ภูเก็ต ซิตี้
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
13 นัด
นรา ยูไนเต็ด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
12 นัด
เดฟโฟ เอฟซี
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
5 นัด
บีทียู ส.บุญมีฤทธิ์ ยูไนเต็ด
ทหารบก เอฟซี
สีหมอก เอฟซี
สุราษฎร์ เอฟซี
จำนวนผู้ชมสูงสุด1,297 คน
ตรัง เอฟซี 1–1 นรา ยูไนเต็ด
(15 กรกฎาคม 2561)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด45 คน
ราชประชา 0–0 นรา ยูไนเต็ด
(11 สิงหาคม 2561)
จำนวนผู้ชมรวม57,909 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย318 คน
2560
2562
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 26 สิงหาคม 2561

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2561 โซนตอนล่าง (อังกฤษ: 2018 Thai League 3 Lower Region) (เป็นที่รู้จักในชื่อ ไทยลีก 3 ออมสินลีกโปร) ฤดูกาลที่สองของ ไทยลีก 3 นับแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560. มีทั้งหมด 14 ทีมจะเข้าร่วมแข่งขันในลีกฤดูกาลนี้, หลังจาก บ้านบึง เอฟซี ได้ถอนทีมก่อนฤดูกาลจะเริ่มต้น.

การเปลี่ยนแปลงทีมจากฤดูกาลที่แล้ว

[แก้]

การเปลี่ยนแปลงทีม

[แก้]

สโมสรที่เลื่อนชั้น

[แก้]

หนึ่งสโมสรที่เลื่อนชั้นจาก ไทยลีก 4 ฤดูกาล 2560

หนึ่งสโมสรที่เลื่อนชั้นจาก ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2561

สโมสรที่ตกชั้น

[แก้]

หนึ่งสโมสรที่ตกชั้นสู่ ไทยลีก 4 ฤดูกาล 2561 – โซนภาคตะวันตก

หนึ่งสโมสรที่ตกชั้นจาก ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2560

การเปลี่ยนชื่อสโมสร

[แก้]

สโมสรที่ขอถอนตัว

[แก้]

สโมสร

[แก้]

สนามเหย้าและที่ตั้ง

[แก้]
สโมสร จังหวัด สนาม ความจุ
บีทียู ส.บุญมีฤทธิ์ ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 1,500
จามจุรี ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 20,000
เดฟโฟ เอฟซี กรุงเทพมหานคร สนามทีโอที แจ้งวัฒนะ[2] 5,000
ม.เกษมบัณฑิต กรุงเทพมหานคร สนามกีฬามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ร่มเกล้า 2,000
ศุลกากร ยูไนเต็ด สมุทรปราการ สนามกีฬากรมศุลกากร ลาดกระบัง 54 2,000
นรา ยูไนเต็ด นราธิวาส สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส 5,000
ภูเก็ต ซิตี้ ภูเก็ต สนามกีฬาสุระกุล 15,000
ราชประชา กรุงเทพมหานคร ธนบุรีสเตเดียม 1,000
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ระนอง สนามกีฬากลางจังหวัดระนอง[3] 7,000
ทหารบก เอฟซี กรุงเทพมหานคร สนามกีฬากองทัพบก 20,000
สีหมอก เอฟซี อ่างทอง สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง 6,000
สุราษฎร์ เอฟซี สุราษฎร์ธานี สนามกีฬาจังหวัดสุราษฎร์ธานี 10,000
ตรัง เอฟซี ตรัง สนามกีฬาเทศบาลนครตรัง 5,000
ดับบลิวยู นครศรี ยูไนเต็ด นครศรีธรรมราช สนามกีฬามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 10,000

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]
สโมสร ผู้เล่น 1 ผู้เล่น 2 ผู้เล่น 3 ผู้เล่นเอเอฟซี ผู้เล่นอาเซียน
บีทียู ส.บุญมีฤทธิ์ ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล Felipe Silva Abreu โกตดิวัวร์ Bernard Kouassi มาดากัสการ์ Thierry Ratsimbazafy ประเทศเกาหลีใต้ Lee Heon-ju
จามจุรี ยูไนเต็ด ประเทศญี่ปุ่น Daiki Higuchi ประเทศญี่ปุ่น Hiroyuki Sugimoto ประเทศเกาหลีใต้ Han Ji-Seong ประเทศเกาหลีใต้ Kim Jun-ho
เดฟโฟ เอฟซี โกตดิวัวร์ Adama Diomandé นามิเบีย Tangeni Shipahu สหรัฐอเมริกา Diego Barrera ประเทศเกาหลีใต้ Song Jin-ouk
ม.เกษมบัณฑิต ประเทศบราซิล Víctor Moraes แอฟริกาใต้ Sanou Oumar ประเทศเกาหลีใต้ Kim Myung-Su ประเทศเกาหลีใต้ Song Yun-ho
ศุลกากร ยูไนเต็ด โกตดิวัวร์ Ibrahim Coulibaly ไนจีเรีย Efe Jerry Obode เซอร์เบีย Usos Stojanov ประเทศเกาหลีใต้ Hwang In-seong
นรา ยูไนเต็ด โกตดิวัวร์ Ibrahim Dicko อียิปต์ Osama Ibrahim ประเทศเกาหลีใต้ Jung Yu-jung ประเทศเกาหลีใต้ Kim Ban-suk
ภูเก็ต ซิตี้ ประเทศเกาหลีใต้ Lee Jun-Ki ประเทศพม่า Kyaw Phyo Wai
ราชประชา ไนจีเรีย Julius Ononiwu ไนจีเรีย Onuora Anayo Cosmas ไนจีเรีย Onyemelukwe Okechukwu
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ประเทศบราซิล Alaan Bruno De Sousa Santos ประเทศบราซิล Giuberty Silva Neves สาธารณรัฐคองโก Burnel Okana-Stazi ประเทศเกาหลีใต้ Kim Tae-woong ประเทศพม่า Win Hlaing Oo
ทหารบก เอฟซี
สีหมอก เอฟซี ไนจีเรีย Oparaobioma Kingsley
สุราษฎร์ เอฟซี ประเทศบราซิล Vinicius Silva Freitas โกตดิวัวร์ Soumahoro Mafa โกตดิวัวร์ Kourouma Mohamed ประเทศอิหร่าน Faramarz Vahdat Derakhshan ลาว Phathana Phommathep
ตรัง เอฟซี ประเทศบราซิล Douglas Lopes Carneiro ประเทศบราซิล Fernando de Abreu Ferreira แคเมอรูน Bouba Abbo ประเทศญี่ปุ่น Tetsuro Inoue
ดับบลิวยู นครศรี ยูไนเต็ด กานา Daniel Mensah กานา Samuel Abega Ampofo ประเทศญี่ปุ่น Daiki Konomura ประเทศญี่ปุ่น Endo Shiyu

ตารางคะแนน

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 ศุลกากร ยูไนเต็ด (C, Q, P) 26 15 9 2 43 23 +20 54 เลื่อนชั้นไปสู่ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2562
2 นรา ยูไนเต็ด (Q) 26 13 11 2 45 18 +27 50[a] แข่งขันในรอบเพลย์ออฟเพื่อเลื่อนชั้นไปสู่ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2562
3 ตรัง เอฟซี 26 14 8 4 34 16 +18 50[a]
4 จามจุรี ยูไนเต็ด 26 12 6 8 32 27 +5 42
5 ภูเก็ต ซิตี้ 26 11 7 8 28 24 +4 40
6 บีทียู ส.บุญมีฤทธิ์ ยูไนเต็ด 26 11 5 10 38 32 +6 38
7 ทหารบก เอฟซี 26 10 5 11 30 31 −1 35
8 ดับบลิวยู นครศรี ยูไนเต็ด 26 9 7 10 31 31 0 34
9 แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 26 9 4 13 30 33 −3 31
10 สุราษฎร์ เอฟซี 26 6 8 12 33 48 −15 26
11 ม.เกษมบัณฑิต 26 5 10 11 26 33 −7 25
12 สีหมอก เอฟซี 26 5 8 13 30 57 −27 23[b] ย้ายไปตอนบนในฤดูกาล 2562[4]
13 ราชประชา 26 5 8 13 25 42 −17 23[b]
14 เดฟโฟ เอฟซี (R) 26 4 11 11 25 36 −11 23[b] ตกชั้นสู่ไทยลีก 4 ฤดูกาล 2562
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2561. แหล่งข้อมูล: ไทยลีก 3
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) การพบกันของทั้งสองทีม; 3) ผลต่างประตู; 4) ประตูรวม;).
(C) ชนะเลิศ; (P) เลื่อนชั้น; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น
Notes:
  1. 1.0 1.1 นรา ยูไนเต็ด (4 คะแนน) มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่าตรัง (1 คะแนน)
  2. 2.0 2.1 2.2 สีหมอกมีผลมินิลีกระหว่าง 3 ทีมดีที่สุด (6 คะแนน ได้เสีย +3) รองลงมาคือราชประชา (6 คะแนน ได้เสีย +1) และเดฟโฟ (2 คะแนน) ตามลำดับ

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า \ เยือน1 BTUU CCU DEF KBU CTU NRA PHU RCA RNG RTA SMK SUT TRG WNU
บีทียู ส.บุญมีฤทธิ์ ยูไนเต็ด 2–0 3–0 2–1 1–1 1–2 0–0 1–2 1–2 2–1
จามจุรี ยูไนเต็ด 2–1 1–0 2–0 0–1 0–0 1–0 3–2 4–2 1–0
เดฟโฟ เอฟซี 0–0 0–0 0–0 1–2 1–1 2–1 1–2 2–2 0–0 1–2
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1–0 0–0 0–1 2–2 1–0 3–1 0–2 4–1 1–3 0–1
เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด 2–2 2–2 1–1 2–1 3–0 2–1 0–0 4–1 0–2 2–1
นรา ยูไนเต็ด 1–0 1–0 0–0 1–1 4–1 0–0 5–2 3–0 1–1
ภูเก็ต ซิตี้ 1–1 2–1 1–1 2–0 2–1 2–0 2–1 0–0 1–0
ราชประชา 2–1 0–2 0–1 0–0 1–2 2–2 1–2 0–1 3–2
ระนอง ยูไนเต็ด 2–3 1–0 0–2 1–0 2–0 1–0 3–0 1–1 1–3 0–1
ทหารบก 1–2 0–1 2–2 0–2 2–1 2–1 2–0 0–2 0–1 0–0
สีหมอก 0–1 1–1 3–0 2–2 0–2 1–2 2–2 1–1 1–0
สุราษฎร์ธานี 2–2 3–2 2–3 0–2 0–1 1–2 1–0 0–2 0–0
ตรัง 3–1 1–1 0–1 2–1 2–0 1–1 0–0 0–0 3–0 1–0
ดับบลิวยู นครศรี ยูไนเต็ด 2–1 2–0 0–0 1–0 3–0 0–3 1–1 2–1 2–2 1–3

อัปเดตล่าสุดวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก 3
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ
สำหรับแมตช์ที่กำลังมาถึง อักษร a หมายถึง มีบทความเกี่ยวกับแมตช์นั้น

สถิติประจำฤดูกาล

[แก้]