ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่16 มกราคม – 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ทีม46 (จาก 20 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศอิหร่าน เพร์สโพลีส
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน140
จำนวนประตู418 (2.99 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,990,813 (14,220 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดแอลจีเรีย Baghdad Bounedjah (13 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมญี่ปุ่น ยุมะ ซูซุกิ
รางวัลแฟร์เพลย์อิหร่าน เพร์สโพลีส
2017
2019

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรถ้วยสูงสุดของทวีปเอเชีย จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย โดยการแข่งขันครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขั้นครั้งที่ 16 ภายใต้ชื่อเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และเป็นการแข่งขันครั้งที่ 37 ของบอลถ้วยสูงสุดของเอเชีย

สโมสรที่เป็นผู้ชนะเลิศของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 จะได้สิทธิ์ผ่านเข้าไปเป็นตัวแทนเอเอฟซีในการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2018 ในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์.[1] ถ้าทีมที่มาจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ชนะเอเอฟซี แชมเปียนส์ ลีก รองชนะเลิศจะได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบ (ในอันดับของผู้ชนะของ ยูเออี โปร-ลีก ฤดูกาล 2017–18).

การจัดสรรทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]

คณะกรรมการการแข่งขันเอเอฟซีที่นำเสนอการปรับปรุงของการแข่งขันสโมสรในเอเอฟซีเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2557[2] ซึ่งได้รับการยอมรับจากคณะกรรมการบริหารเอเอฟซีเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2557.[3] 46 ชาติสมาชิก เอเอฟซี (ไม่รวมสมาชิกสมทบ หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา) มีการจัดอันดับขึ้นอยู่กับทีมชาติและประสิทธิภาพในการทำงานของแต่ละสโมสรที่เหนือกว่าตลอดสี่ปีที่ผ่านมาในการแข่งขันของเอเอฟซี กับการจัดสรรในแต่ละช่องสำหรับฤดูกาล 2017 และ 2018 ของการแข่งขันโมสรเอเอฟซีที่ได้กำหนดโดยการจัดอันดับในปี ค.ศ. 2016

  • สมาคมจะถูกแบ่งออกเป็นโซนตะวันตกและโซนตะวันออก กับ 23 สมาคมในแต่ละโซน
  • ในแต่ละโซน มีทั้งหมด 12 ช่องโดยตรงในรอบแบ่งกลุ่ม กับ 4 ช่องที่เหลือที่ถูกเติมเต็มผ่านจากรอบเพลย์ออฟ
การประเมินสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018
ผ่านเกณฑ์การมีส่วนร่วม
ไม่ผ่านเกณฑ์การมีส่วนร่วม
หมายเหตุ
  1. ^ ออสเตรเลีย (AUS): เอลีกซึ่งเป็นลีกสูงสุดของออสเตรเลียมีเพียงเก้าทีมเท่านั้นที่อยู่ในออสเตรเลียในฤดูกาล 2016–17 ฉะนั้นออสเตรเลียก็จะได้สิทธิมากที่สุดเพียงสามทีม
  2. ^ อิรัก (IRQ): อิรักไม่ปฏิบัติตามกฏคลับไลเซนซิงของเอเอฟซี
  3. ^ คูเวต (KUW): คูเวตไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขันเนื่องจากสมาคมฟุตบอลคูเวตติดโทษแบนจากฟีฟ่า[5]
  4. ^ เลบานอน (LIB): เลบานอนไม่ปฏิบัติตามกฏคลับไลเซนซิงของเอเอฟซี
  5. ^ ซาอุดีอาระเบีย (KSA): ซาอุดีอาระเบียมีเพียงสองทีมเนื่องจากอัล-นาสเซอร์และอัล-อิตติฮัด อันดับที่ 3 และ 4 ของซาอุดีโปรเฟสชันนัลลีกฤดูกาล 2016-17 ซึ่งควรได้สิทธิผ่านเข้ารอบแบ่งกลุ่มและรอบเพลย์ออฟตามลำดับนั้นไม่ผ่านเอเอฟซีไลเซนส์ และไม่มีทีมอื่นใดที่ผ่านไลเซนส์ได้สิทธิแทน
  6. ^ ซีเรีย (SYR): ซีเรียไม่ปฏิบัติตามกฏคลับไลเซนซิงของเอเอฟซี.

ทีม

[แก้]

ด้านล่างนี้คือ 46 ทีมที่มาจาก 20 สมาคมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

หมายเหตุ
  1. ^ อินโดนีเซีย (IDN): บายังการา ทีมชนะเลิศของลีกาวันฤดูกาล 2017 ไม่ผ่านเอเอฟซีไลเซนส์ ฉะนั้นบาหลี ยูไนเต็ด ทีมรองชนะเลิศได้ผ่านเข้ารอบเพลย์ออฟแทน[6]
  2. ^ อิหร่าน (IRN): นาฟต์ เตหะราน ทีมชนะเลิศถ้วยฮาซฟี ประจำปี 2016-17 ไม่ผ่านเอเอฟซีไลเซนส์ ฉะนั้นแทร็กตอร์ ซาซี ทีมอันดับ 3 ของเปอร์เซียนกัลฟ์โปรลีกฤดูกาล 2016-17 ได้สิทธิผ่านเข้ารอบแบ่งกลุ่มแทนโดยไม่ต้องเพลย์ออฟ ในขณะที่ซอบ อาฮาน ทีมอันดับ 4 ได้สิทธิเข้ารอบเพลย์ออฟแทน
  3. ^ กาตาร์ (QAT): เอลจาอิช ทีมอันดับ 4 ของกาตาร์สตาร์สลีกฤดูกาล 2016-17 รวมเข้ากับเลกห์วิยะเป็นอัล-ดูฮาอิลหลังจบฤดูกาล 2016-17 ฉะนั้นอัล-การาฟา อันดับ 5 ของลีกจะได้ผ่านเข้ารอบเพลย์ออฟแทน[7]
  4. ^ สิงคโปร์ (SIN): อัลบิเร็กซ์ นีงาตะ สิงคโปร์ ทีมชนะเลิศเอส.ลีกฤดูกาล 2017 เป็นทีมสาขาของอัลบิเร็กซ์ นีงาตะจากญี่ปุ่นจึงไม่สามารถเป็นตัวแทนของสิงคโปร์ในการแข่งขันของเอเอฟซีได้ ฉะนั้นทัมปิเนสโรเวอร์ ทีมรองชนะเลิศจะได้สิทธิเข้ารอบเพลย์ออฟแทน
  5. ^ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE): อัล-อาห์ลี ทีมอันดับ 3 ของยูเออีอาราเบียนกัลฟ์ลีกฤดูกาล 2016-17 รวมกับอัล-ชาบับ และดูไบ ซีเอสซีเข้าเป็นชาบับ อัล-อาห์ลี ดูไบหลังจบฤดูกาล 2016-17 และถูกขับออกจากเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกเนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์การดำรงอยู่ครบสามปี ฉะนั้น อัล-อาอิน ทีมอันดับ 4 จะได้สิทธิผ่านเข้ารอบเพลย์ออฟแทน แต่เดิมอัล-อาอินยังไม่ผ่านเอเอฟซีไลเซนส์แต่ว่ายื่นอุทธรณ์ผ่านภายหลัง[8][9]
  6. ^ เวียดนาม (VIE): คิวเอ็นเค กว๋างนาม ทีมชนะเลิศวี-ลีกฤดูกาล 2017 ไม่ผ่านเอเอฟซีไลเซนส์ ฉะนั้น เอฟแอลซี ทัญฮว้า รองชนะเลิศจะได้สิทธิเข้ารอบเพลย์ออฟแทน[10]

ตารางการแข่งขัน

[แก้]

ด้านล่างนี้คือตารางของการแข่งขัน.[11]

รอบ การแข่งขัน วันจับสลาก นัดแรก นัดที่สอง
รอบคัดเลือก รอบคัดเลือก รอบ 1 ไม่มีการจับสลาก 16 มกราคม 2561
รอบคัดเลือก รอบ 2 23 มกราคม 2561
รอบเพลย์ออฟ รอบเพลย์ออฟ 30 มกราคม 2561
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 6 ธันวาคม 2560 12–14 กุมภาพันธ์ 2561
นัดที่ 2 19–21 กุมภาพันธ์ 2561
นัดที่ 3 5–7 มีนาคม 2561
นัดที่ 4 12–14 มีนาคม 2561
นัดที่ 5 2–4 เมษายน 2561
นัดที่ 6 16–18 เมษายน 2561
รอบแพ้คัดออก รอบ 16 ทีมสุดท้าย 7–9 พฤษภาคม 2561 14–16 พฤษภาคม 2561
รอบก่อนรองชนะเลิศ รอกำหนด พฤษภาคม/มิถุนายน 2561 27–29 สิงหาคม 2561 17–19 กันยายน 2561
รอบรองชนะเลิศ 1–3 ตุลาคม 2561 22–24 ตุลาคม 2561
รอบชิงชนะเลิศ 3 พฤศจิกายน 2561 10 พฤศจิกายน 2561

รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ

[แก้]

ในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ แต่ละคู่จะลงเล่นแบบนัดเดียว ในกรณีจำเป็น (มีการเสมอกัน) จะต่อเวลาพิเศษและดวลลูกโทษเพื่อตัดสินหาทีมผู้ชนะ ผู้ชนะของแต่ละคู่ในรอบเพลย์ออฟจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ ผู้แพ้ทั้งหมดในแต่ละรอบที่มาจากสมาคมกับช่องทางการเพลย์ออฟเท่านั้นจะได้ผ่านเข้าสู่เอเอฟซีคัพ 2018 รอบแบ่งกลุ่ม[1]

สายการแข่งขันของรอบคัดเลือกเพลย์ออฟสำหรับแต่ละโซนเป็นการกำหนดขึ้นโดยเอเอฟซีซึ่งขึ้นอยู่กับอันดับสมาคมของแต่ละทีม โดยทีมที่มาจากสมาคมที่มีอันดับสูงกว่าจะได้เป็นเจ้าภาพสำหรับนัดนั้น แต่ละทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่สามารถจัดวางอยู่ในรอบเพลย์ออฟคู่เดียวกันได้[12]

รอบคัดเลือกรอบแรก

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
บาหลี ยูไนเต็ด อินโดนีเซีย 3–1 สิงคโปร์ แทมปิเนส โรเวอร์ส
ฉาน ยูไนเต็ด ประเทศพม่า 1–1
(ต่อเวลา)
(3–4 ลูกโทษ)
ฟิลิปปินส์ เซเรส–เนกรอส

รอบคัดเลือกรอบสอง

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
อีสเทิร์น ฮ่องกง 2–4 เวียดนาม เอฟแอลซี ทัญ ฮว้า
เมืองทอง ยูไนเต็ด ไทย 5–2 มาเลเซีย ยะโอร์ ดะรุล ต๊ะซิม
เชียงราย ยูไนเต็ด ไทย 2–1
(ต่อเวลา)
อินโดนีเซีย บาหลี ยูไนเต็ด
บริสเบน โรอาร์ ออสเตรเลีย 2–3 ฟิลิปปินส์ เซเรส–เนกรอส

รอบเพลย์ออฟ

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัล-อิน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2–0 บาห์เรน มัลคียา
ซอบ อาฮาน อิหร่าน 3–1 อินเดีย ไอซอว์ล
อัล-การาฟา ประเทศกาตาร์ 2–1 อุซเบกิสถาน ปัคห์ตากอร์
นาซาฟ ควาร์ชี อุซเบกิสถาน 5–1 จอร์แดน อัล-ไฟซาลี
โซนตะวันออก
ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ เกาหลีใต้ 5–1 เวียดนาม เอฟแอลซี ทัญ ฮว้า
คาชิว่า เรย์โซล ญี่ปุ่น 3–0 ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี จีน 1–0 ไทย เชียงราย ยูไนเต็ด
เทียนจิน ฉวนเจียน จีน 2–0 ฟิลิปปินส์ เซเรส–เนกรอส

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ AHL JAZ GHA TRA
1 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 6 4 2 0 9 4 +5 14 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–1 1–1 2–0
2 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา 6 2 2 2 9 9 0 8[a] 1–2 3–2 0–0
3 ประเทศกาตาร์ อัล-การาฟา 6 2 2 2 12 9 +3 8[a] 1–1 2–3 3–0
4 อิหร่าน แทรคเตอร์ ซาซี 6 0 2 4 2 10 −8 2 0–1 1–1 1–3
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
Notes:
  1. 1.0 1.1 ผลการแข่งขัน เฮด-ทู-เฮด: อัล-จาซีรา 3–2 อัล-การาฟา, อัล-การาฟา 2–3 อัล-จาซีรา.

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ DUH ZOB LOK WAH
1 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 6 6 0 0 13 6 +7 18 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 3–1 3–2 1–0
2 อิหร่าน ซอบ อาฮาน 6 2 1 3 6 8 −2 7[a] 0–1 2–0 2–0
3 อุซเบกิสถาน โลโคโมทีฟ ทาชเคนต์ 6 2 1 3 13 9 +4 7[a] 1–2 1–1 5–0
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาห์ดา 6 1 0 5 6 15 −9 3 2–3 3–0 1–4
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
Notes:
  1. 1.0 1.1 ผลการแข่งขัน เฮด-ทู-เฮด: ซอบ อาฮาน 2–0 โลโคโมทีฟ ทาชเคนต์, โลโคโมทีฟ ทาชเคนต์ 1–1 ซอบ อาฮาน.

กลุ่ม ซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ PER SAD NSF WAS
1 อิหร่าน เพร์สโพลีส 6 4 1 1 8 3 +5 13 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–0 3–0 2–0
2 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 6 4 0 2 11 5 +6 12 3–1 4–0 2–1
3 อุซเบกิสถาน นาซาฟ ควาร์ชี 6 3 1 2 4 8 −4 10 0–0 1–0 1–0
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาซล์ 6 0 0 6 3 10 −7 0 0–1 1–2 1—2
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี

กลุ่ม ดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ EST AIN RAY HIL
1 อิหร่าน เอสเตกลาล 6 3 3 0 9 5 +4 12 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–1 2–0 1–0
2 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน 6 2 4 0 10 6 +4 10 2–2 1–1 2–1
3 ประเทศกาตาร์ อัล-รายยาน 6 1 3 2 7 11 −4 6 2–2 1–4 2–1
4 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 6 0 2 4 3 7 −4 2 0–1 0–0 1–1
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี

กลุ่ม อี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ JEO TJQ KSW KIT
1 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 6 5 0 1 22 9 +13 15 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 6–3 3–2 3–0
2 จีน เทียนจิน ฉวนเจียน 6 4 1 1 15 11 +4 13 4–2 3–2 3–0
3 ญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล 6 1 1 4 6 10 −4 4 0–2 1–1 1–0
4 ฮ่องกง คิตฉี 6 1 0 5 1 14 −13 3 0–6 0–1 1–0
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ SSI ULS MEL KAW
1 จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 6 3 2 1 10 6 +4 11 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–2 4–1 1–1
2 เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได 6 2 3 1 15 11 +4 9 0–1 6–2 2–1
3 ออสเตรเลีย เมลเบิร์น วิกตอรี 6 2 2 2 11 16 −5 8 2–1 3–3 1–0
4 ญี่ปุ่น คะวะซะกิ ฟรอนตาเล 6 0 3 3 6 9 −3 3 0–1 2–2 2–2
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี

กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ GZE BUR CER JEJ
1 จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 6 3 3 0 12 6 +6 12 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–1 3–1 5–3
2 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6 2 3 1 7 6 +1 9 1–1 2–0 0–2
3 ญี่ปุ่น เซเรซโซ โอซะกะ 6 2 2 2 6 8 −2 8 0–0 2–2 2–1
4 เกาหลีใต้ เชจู ยูไนเต็ด 6 1 0 5 6 11 −5 3 0–2 0–1 0–1
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี

กลุ่ม เอช

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ SSB KAS SYD SSH
1 เกาหลีใต้ ซูซอน ซัมซุง บลูวิงส์ 6 3 1 2 8 7 +1 10 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–2 1–4 1–1
2 ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส 6 2 3 1 8 6 +2 9 0–1 1–1 1–1
3 ออสเตรเลีย ซิดนีย์ เอฟซี 6 1 3 2 7 8 −1 6 0–2 0–2 0–0
4 จีน เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว 6 0 5 1 6 8 −2 5 0–2 2–2 2–2
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี

รอบแพ้คัดออก

[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, 16 ทีมลงเล่นในระบบแพ้คัดออก, กับทีมที่ถูกแบ่งระหว่างสองโซนจนกระทั่งมาถึงรอบชิงชนะเลิศ. โดยแต่ละสายจะลงเล่นในรูปแบบสองนัดเหย้าและเยือน. กฎยิงประตูทีมเยือน, การต่อเวลาพิเศษ (ประตูทีมเยือนไม่สามารถนำมาใช้ในการต่อเวลาพิเศษ) และ การดวลลูกโทษ เป็นการใช้ในการตัดสินหาทีมชนะเลิศในกรณีที่จำเป็น (บทความที่ 11.3).[1].[1]

สายการแข่งขัน

[แก้]

สายการแข่งขันได้ตัดสินหลังเสร็จสิ้นการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ, ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561, 16:00 MYT (UTC+8), ที่เอเอฟซี เฮาส์ ในกรุง กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย.[13][14][15]

  รอบ 16 ทีมสุดท้าย รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                                             
 ญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส 3 1 4  
 จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 1 2 3  
   ญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส 2 3 5  
   จีน เทียนจิน ฉวนเจียน 0 0 0  
 จีน เทียนจิน ฉวนเจียน () 0 2 2
 จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 0 2 2  
   ญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส 3 3 6  
   เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 2 3 5  
 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3 0 3  
 เกาหลีใต้ ชุนบุก ฮุนได มอเตอร์ส 2 2 4  
   เกาหลีใต้ ชุนบุก ฮุนได มอเตอร์ส 0 3 (2)
   เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ (ลูกโทษ) 3 0 (4)  
 เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได 1 0 1
 เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 0 3 3  
   ญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส 2 0 2
   อิหร่าน เปอร์เซโปลิส 0 0 0
 อิหร่าน ซอบ อาฮาน 1 1 2  
 อิหร่าน เอสเตกลาล 0 3 3  
   อิหร่าน เอสเตกลาล 1 2 3
   ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 3 2 5  
 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 2 2 4
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 1 2 3  
   ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 0 1 1
   อิหร่าน เพร์สโพลีส 1 1 2  
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน 2 1 3  
 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 4 4 8  
   ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 1 1 2
   อิหร่าน เพร์สโพลีส 0 3 3  
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา 3 1 4
 อิหร่าน เพร์สโพลีส () 2 2 4  

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]

ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย, ทีมที่ชนะเลิศของหนึ่งกลุ่มจะลงเล่นพบกับทีมรองชนะเลิศของอีกกลุ่มที่มาจากโซนเดียวกัน, กับแชมป์กลุ่มที่จะได้เป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง, และแมตช์การแข่งขันขึ้นอยู่กับผลการจับสลากรอบแบ่งกลุ่ม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันตก
อัล-จาซีรา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4–4 () อิหร่าน เพร์สโพลีส 3–2 1–2
อัล-ซาดด์ ประเทศกาตาร์ 4–3 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 2–1 2–2
ซอบ อาฮาน อิหร่าน 2–3 อิหร่าน เอสเตกลาล 1–0 1–3
อัล-อิน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3–8 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 2–4 1–4
โซนตะวันออก
เทียนจิน ฉวนเจียน จีน 2–2 () จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 0–0 2–2
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไทย 3–4 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 3–2 0–2
อุลซัน ฮุนได เกาหลีใต้ 1–3 เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 1–0 0–3
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 4–3 จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 3–1 1–1

รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561.[15] ในรอบก่อนรองชนะเลิศ, สี่ทีมที่มาจากโซนตะวันตกจะลงเล่นในสองคู่, และสี่ทีมที่มาจากโซนตะวันออกจะลงเล่นในสองคู่, กับการขยับโปรแกรมการแข่งขันและคำสั่งของเลกขึ้นอยู่กับการจับสลาก, นอกเหนือจากการเป็นทีมวางใดๆ หรือการป้องกันประเทศ.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันตก
เอสเตกลาล อิหร่าน 3–5 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1–3 2–2
อัล-ดูฮาอิล ประเทศกาตาร์ 2–3 อิหร่าน เพร์สโพลีส 1–0 1–3
โซนตะวันออก
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 5–0 จีน เทียนจิน ฉวนเจียน 2–0 3–0
ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ เกาหลีใต้ 3–3 (2–4 ) เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 0–3 3–0
(ต่อเวลา)

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

ในรอบรองชนะเลิศ, สองทีมที่มาจากโซนตะวันตกจะลงเล่นในหนึ่งคู่, และสองทีมที่มาจากโซนตะวันออกจะลงเล่นในหนึ่งคู่, กับคำสั่งของเลกขึ้นอยู่กับการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันตก
อัล-ซาดด์ ประเทศกาตาร์ 1–2 อิหร่าน เพร์สโพลีส 0–1 1–1
โซนตะวันออก
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 6–5 เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 3–2 3–3

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

รวมผลสองนัด คาชิมะ แอนต์เลอส์ ชนะ 2–0.

ทีมชนะเลิศ

[แก้]
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018
ชนะเลิศ
ญี่ปุ่น
คาชิมะ แอนต์เลอส์
สมัยแรก

รางวัล

[แก้]
รางวัล ผู้เล่น ทีม
ผู้เล่นทรงคุณค่า[16] ญี่ปุ่น ยูมะ ซูซุกิ ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์
ดาวซัลโวสูงสุด[17] แอลจีเรีย แบกห์แดด บูเนดจาห์ ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์
รางวัลทีมแฟร์เพลย์ อิหร่าน เพร์สโพลีส

อันดับดาวซัลโว

[แก้]
  ผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในทีม ณ เวลานั้นแต่ทีมยังมีสถานะอยู่สำหรับรอบนี้.
  ทีมนั้นตกรอบ / ไม่ได้อยู่ในรอบนี้.
อันดับ ผู้เล่น ทีม MD1 MD2 MD3 MD4 MD5 MD6 2R1 2R2 QF1 QF2 SF1 SF2   F1     F2   รวม
1 แอลจีเรีย Baghdad Bounedjah ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 2 2 1 2 2 2 1 1 13
2 มอนเตเนโกร Dejan Damjanović เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 2 1 1 1 2 1 1 9
โมร็อกโก Youssef El-Arabi ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 2 2 2 1 2
4 เซเนกัล Mame Baba Thiam อิหร่าน เอสเตกลาล 1 2 1 3 7
บราซิล Ricardo Goulart จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 1 4 2
6 สวีเดน Marcus Berg สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน 1 1 2 2 6
เกาหลีใต้ Kim Shin-wook เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 3 1 1 1
บราซิล Romarinho สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา 1 1 1 1 1 1
9 บราซิล Adriano เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 3 1 1 5
อิหร่าน Ali Alipour อิหร่าน เพร์สโพลีส 2 1 1 1
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Ali Mabkhout สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา 1 1 2 1
อิหร่าน Mehdi Taremi ประเทศกาตาร์ อัล-การาฟา 1 2 1 1
อิหร่าน Morteza Tabrizi อิหร่าน ซอบ อาฮาน (GS & R16)
อิหร่าน เอสเตกลาล (QF)
1 2 1 1
ซาอุดีอาระเบีย Muhannad Assiri ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 1 1 1 1 1
บราซิล Serginho ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ 1 1 1 1 1

หมายเหตุ: ประตูที่ทำได้ในการคัดเลือกเพลย์ออฟไม่นับรวมก็ต่อเมื่อมีการกำหนดอันดับดาวซัลโว (ดูที่กฏระเบียบ, บทความที่ 64.4).[1]

แหล่งที่มา: AFC[18]

รางวัลผู้เล่นประจำสัปดาห์

[แก้]
นัดที่ ผู้เล่นประจำสัปดาห์โตโยต้า
ผู้เล่น ทีม
รอบแบ่งกลุ่ม
นัดที่ 1[19] เนเธอร์แลนด์ เลรอย จอร์จ ออสเตรเลีย เมลเบิร์น วิกตอรี
นัดที่ 2[20] บราซิล โอสการ์ จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี
นัดที่ 3[21] บราซิล ริคาร์โด กูลาร์ต จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
นัดที่ 4[22] สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Ali Khasif สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา
นัดที่ 5[23] โครเอเชีย Mislav Oršić เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได
นัดที่ 6[24] บราซิล Alan จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
รอบแพ้คัดออก
รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดแรก[25] บราซิล Edgar ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2[26] เซเนกัล Mame Baba Thiam อิหร่าน เอสเตกลาล
รอบก่อนรองชนะเลิศ นัดแรก[27] มอนเตเนโกร Dejan Damjanović เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์
รอบก่อนรองชนะเลิศ นัดที่ 2[28] ประเทศกาตาร์ อัครัม อาฟิฟ ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์
รอบรองชนะเลิศ นัดแรก[29] อิหร่าน Alireza Beiranvand อิหร่าน เพร์สโพลีส
รอบรองชนะเลิศ นัดที่ 2[30] มอนเตเนโกร Dejan Damjanović เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์
รอบชิงชนะเลิศ นัดแรก[31] บราซิล Serginho ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์
รอบชิงชนะเลิศ นัดที่ 2[32] เกาหลีใต้ Kwoun Sun-tae ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์

ผู้สนับสนุน

[แก้]
  • TOYOTA
  • NIKON
  • TSINGTAO
  • FLY EMIRATES
  • KARCHER
  • CESTBON
  • ONE ASIA ONE GOAL
  • QNB
  • ALLIANZ INSUARANCE
  • SEIKO
  • KONAMI

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "2018 AFC Champions League Competition Regulations" (PDF). AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-01-07. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09.
  2. "Revamp of AFC competitions". AFC. 25 January 2014.
  3. "ExCo approves expanded AFC Asian Cup finals". AFC. 16 เมษายน พ.ศ. 2557. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. 4.0 4.1 "AFC MA Ranking (as of 30 November 2016)" (PDF). AFC.
  5. "FIFA Congress drives football forward, first female secretary general appointed". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-21. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "PSSI Tolak Banding Klub Terkait Lisensi AFC" [PSSI reject club appeals related to AFC license] (ภาษาอินโดนีเซีย). Goal.com. 31 October 2017. สืบค้นเมื่อ 1 November 2017.
  7. "Lekhwiya, Al Jaish Clubs to Merge into One Club under the Name of Al Duhail Sports Club". www.qna.org.qa. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-12. สืบค้นเมื่อ 11 April 2017.
  8. "Al Ain ruled out of next year's ACL". Gulf News. 17 October 2017. สืบค้นเมื่อ 20 October 2017.
  9. "Al Ain cleared to play in AFC Champions League". Gulf News. 31 October 2017. สืบค้นเมื่อ 1 November 2017.
  10. "AFC: FLC THANH HÓA THAY QUẢNG NAM ĐÁ AFC CHAMPIONS LEAGUE". Goal.com. 30 November 2017.
  11. "AFC Competitions Calendar 2018" (PDF). AFC. 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-15. สืบค้นเมื่อ 2017-12-09. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  12. "AFC Champions League 2018 draw concluded". AFC. 6 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  13. "Impressive quarter-finalists promise thrills". AFC. 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  14. "AFC Champions League 2018 Knockout Stage Official Draw". YouTube. 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  15. 15.0 15.1 "Quarter-final ties confirmed". AFC. 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  16. "Yuma Suzuki of Kashima named 2018 MVP". AFC. 10 November 2018.
  17. "Al Sadd's Bounedjah bags Top Scorer Award". AFC. 10 November 2018.
  18. "Top Goal Scorers (by Stage) – 2018 AFC Champions League (Group Stage, Round of 16, Knock-out Stage)". the-afc.com. AFC.
  19. "ACL2018 MD1 Toyota Player of the Week: Leroy George". AFC. 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  20. "ACL2018 MD2 Toyota Player of the Week: Oscar". AFC. 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  21. "ACL2018 MD3 Toyota Player of the Week: Ricardo Goulart". AFC. 8 มีนาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  22. "ACL2018 MD4 Toyota Player of the Week: Ali Khaseif". AFC. 16 มีนาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  23. "ACL2018 MD5 Toyota Player of the Week: Mislav Orsic". AFC. 6 เมษายน พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  24. "ACL2018 MD6 Toyota Player of the Week: Alan". AFC. 20 เมษายน พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  25. "ACL2018 Round of 16 First Leg Toyota Player of the Week: Edgar". AFC. 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  26. "Round of 16, Second Leg Toyota Player of the Week: Mame Thiam". AFC. 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  27. "Quarter-final, First Leg Toyota Player of the Week: Dejan Damjanovic". AFC. 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  28. "Quarter-final, Second Leg Toyota Player of the Week: Akram Afif". AFC. 20 กันยายน พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  29. "Semi-Final, First Leg Toyota Player of the Week: Alireza Beiranvand". AFC. 5 ตุลาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  30. "Semi-finals, Second Leg Toyota Player of the Week: Dejan Damjanovic". AFC. 26 ตุลาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  31. "Final, First Leg Toyota Player of the Week: Serginho". AFC. พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  32. "Final, 2nd Leg Toyota Player of the Week: Kwoun Sun-tae". AFC. 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]