ข้ามไปเนื้อหา

สโมสรฟุตบอลเมืองตรัง ยูไนเต็ด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เมืองตรัง ยูไนเต็ด
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลเมืองตรัง ยูไนเต็ด
Muang Trang United Football Club
ฉายาอาชาอันดามัน
ก่อตั้ง2022; 3 ปีที่แล้ว (2022)
สนามเมืองตรังสเตเดียม
ความจุ2,200 ที่นั่ง
เจ้าของบริษัท เมืองตรัง ยูไนเต็ด 2022 จำกัด
ประธานเสน่ห์ ทองศักดิ์
ผู้จัดการภัทรพงศ์ รักราวี
ผู้ฝึกสอนประจักษ์ เวียงสงค์
ลีกไทยลีก 3
2566–67ไทยลีก 3 โซนภาคใต้, อันดับที่ 5

สโมสรฟุตบอลเมืองตรัง ยูไนเต็ด เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย โดยเป็นสโมสรตัวแทนจากจังหวัดตรัง ปัจจุบันเล่นในไทยลีก 3 โซนภาคใต้ ปัจจุบันมีฉายาคือ อาชาอันดามัน ที่อยู่(อ.ห้วยยอด จ.ตรัง) สนามมีชื่อว่า เมืองตรังสเตเดี้ยม เป็นสโมสรของตรังที่คนตรังมีความนิยมดูมากที่สุด

ผลงานของสโมสรในแต่ละฤดูกาล

[แก้]
ฤดูกาล ลีก เอฟเอคัพ ลีกคัพ ลีก 3 คัพ ผู้ยิงประตูสูงสุด
ระดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย คะแนน อันดับ ชื่อ จำนวนประตู
2565 ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
โซนภาคใต้
4 3 1 0 7 3 10 ชนะเลิศ ไม่ได้เข้าร่วม ไม่ได้สามารถเข้าร่วม ประเทศไทย ภูเก็ต เฟื่องคร 3
ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
รอบชิงแชมป์ประเทศไทย โซนตอนล่าง
2 2 0 0 3 1 6 อันดับที่ 1
2565–66 ไทยลีก 3
โซนภาคใต้
22 7 7 8 23 28 28 อันดับที่ 7 ไม่ได้เข้าร่วม รอบคัดเลือกรอบแรก ประเทศไทย สมปราชญ์ เรืองนุ่น 5
2566–67 ไทยลีก 3
โซนภาคใต้
22 9 6 7 24 18 33 อันดับที่ 5 รอบแรก รอบคัดเลือกรอบสอง รอบคัดเลือกรอบสอง ประเทศไทย อิทธิพล คำปลิว 4
2567–68 ไทยลีก 3
โซนภาคใต้
รอบ 64 ทีมสุดท้าย รอบ 16 ทีมสุดท้าย รอบลีก
แชมป์ รองแชมป์ อันดับที่สาม เลื่อนชั้น ตกชั้น

ผู้เล่น

[แก้]

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

[แก้]
ณ วันที่ 28 มีนาคม 2568[1]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
2 DF ประเทศไทย สุทธิรักษ์ ทองแก้ว
4 DF ประเทศไทย ยุทธพงษ์ ศรีละคร
5 DF ประเทศไทย อนัชชา เทพศิริ (ยืมตัวจาก อุดร ยูไนเต็ด)
8 MF ประเทศไทย เอกราช ปั้นแก้ว
9 FW ประเทศไทย สมปราชญ์ เรืองนุ่น
11 MF ประเทศไทย อรรถพล ชัยโคตร
13 MF ประเทศไทย ศาสตรพร สุโสะ (ยืมตัวจาก ชลบุรี)
14 DF ประเทศไทย อานนท์ ปานมีทอง (กัปตันทีม)
16 DF ประเทศไทย ปัณณ์ วัชราภัย
17 MF ประเทศไทย ชนนนท์ วิเศษบำรุงเจริญ
18 GK ประเทศไทย สิทธิเดช ภัคดี
23 MF ประเทศไทย ชนายุทธ เจจือ
30 FW ประเทศบราซิล โรมารีอู อัลวิส
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
31 GK ประเทศไทย ณัฐวุฒิ แพงกระโทก
32 FW ประเทศไทย ภุชเคนทร์ จันแดง
33 DF ประเทศไทย กฤษฎา ลิ่มศรีพุทธ
37 MF ประเทศไทย ชานุกร ศรีรักษ์
46 GK ประเทศไทย เกรียงศักดิ์ นุ่มนวน
47 MF ประเทศไทย พรสวรรค์ แสนกล้า (ยืมตัวจาก ชลบุรี)
55 DF ประเทศไทย อรชุน ช่างม่วง
90 FW ประเทศบราซิล จีโอกู เปเรย์รา
91 MF ประเทศไทย ณัฐเดช ทวีสุข
92 FW ประเทศไทย อภิสิทธิ์ นุ่นทอง
95 GK ประเทศไทย ธีรพงศ์ พุทธสุขา
99 FW ประเทศบราซิล เฟลีเป มีคาเอล

ผู้ฝึกสอน

[แก้]
ชื่อ ระยะเวลา ความสำเร็จ
ประเทศบราซิล รอยเตอร์ มูไรรา 14 มีนาคม – 23 ตุลาคม 2565 ชนะเลิศ ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2565 โซนภาคใต้ตอนล่าง
ชนะเลิศ ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2565 โซนภาคใต้
รองชนะเลิศ ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2565
ประเทศไทย พิสิษฐ์ ตรียาพงษ์ (รักษาการ) 23 ตุลาคม – 28 พฤศจิกายน 2565
ประเทศไทย พิสิษฐ์ ตรียาพงษ์ 28 พฤศจิกายน 2565 – มีนาคม 2566
ประเทศไทย นิรุณตร์ อัศวภักดี 12 มิถุนายน 2566 – กุมภาพันธ์ 2567
ประเทศสกอตแลนด์ ริชาร์ด ฮอร์ลอก 8 พฤษภาคม – 9 ตุลาคม 2567
ประเทศไทย สัคคยศ สังขพันธ์
ประเทศไทย กิตติ รักราวี (รักษาการ)
9 – 16 ตุลาคม 2567
ประเทศไทย ประจักษ์ เวียงสงค์ 16 ตุลาคม 2567 –

เกียรติประวัติ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]