ข้ามไปเนื้อหา

สโมสรฟุตบอลสมุทรสาคร ซิตี้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมุทรสาคร ซิตี้
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลสมุทรสาคร ซิตี้
Samutsakhon City Football Club
ฉายาพยัคฆ์สาคร
ก่อตั้ง2022; 3 ปีที่แล้ว (2022)
สนามสนามกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตสมุทรสาคร
ความจุ1,000 ที่นั่ง
เจ้าของบริษัท สมุทรสาคร ซิตี้ จำกัด
ประธานวิชัย ถีระปราโมทย์
ผู้ฝึกสอนหาญณรงค์ ชุณหะคุณากร
ลีกไทยลีก 3
2566–67ไทยลีก 3 โซนกรุงเทพและปริมณฑล, อันดับที่ 3

สโมสรฟุตบอลสมุทรสาคร ซิตี้ เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย โดยเป็นสโมสรตัวแทนจากจังหวัดสมุทรสาคร ปัจจุบันเล่นในไทยลีก 3 โซนภาคตะวันตก

ผลงานของสโมสรในแต่ละฤดูกาล

[แก้]
ฤดูกาล ลีก เอฟเอคัพ ลีกคัพ ลีก 3 คัพ ผู้ยิงประตูสูงสุด
ระดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย คะแนน อันดับ ชื่อ จำนวนประตู
2565 ไทยแลนด์
อเมเจอร์ลีก
โซนกรุงเทพและปริมณฑล
6 4 2 0 32 3 14 ชนะเลิศ ไม่ได้เข้าร่วม ไม่สามารถเข้าร่วม ประเทศไทย เรวัต มีเรียน 14
ไทยแลนด์
อเมเจอร์ลีก
รอบชิงแชมป์ประเทศไทย
โซนตอนล่าง
2 0 0 2 1 3 0 อันดับที่ 3
2565–66 ไทยลีก 3
โซนกรุงเทพและปริมณฑล
26 17 2 7 48 35 53 อันดับที่ 3 รอบ 64 ทีมสุดท้าย รอบคัดเลือกรอบแรก ประเทศโกตดิวัวร์ บีรัม ดียุฟ 19
2566–67 ไทยลีก 3
โซนกรุงเทพและปริมณฑล
26 17 5 4 65 21 56 อันดับที่ 3 รอบรองชนะเลิศ รอบ 32 ทีมสุดท้าย รอบ 16 ทีมสุดท้าย ประเทศบราซิล แวลิงตง สมิธ 11
2567–68 ไทยลีก 3
โซนภาคตะวันตก
แชมป์ รองแชมป์ อันดับที่สาม เลื่อนชั้น ตกชั้น

ผู้เล่น

[แก้]

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

[แก้]
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2567[1]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK ประเทศไทย อนุศิษฏ์ เติมมี
2 DF ประเทศไทย โกวิท น้อยแย้ม
4 MF ประเทศไทย ธีรวัฒน์ วงศ์ษา
7 DF ประเทศไทย สุวัฒน์ ญาดี
8 FW ประเทศไทย ภพพล ศรีมาดี
11 DF ประเทศไทย ณัฐธนนท์ เจริญสิงคีวรรณ (ยืมตัวจาก ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด)
12 FW ประเทศไทย อานนท์ ประสงค์พร
15 DF ประเทศไทย ประดิษฐ์ อู๋สมบูรณ์
16 DF ประเทศไทย รพีพัฒน์ โพธิ์พรหม
17 FW ประเทศไทย ปฏิภาณ ปิ่นเสริมสูตรศรี
18 FW ประเทศไทย อลงกรณ์ นึกหมาย
19 MF ประเทศไทย ชนม์เสถียร พูลวรลักษณ์
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
27 FW ประเทศไทย ปกรพัฒน์ ผาสุข
28 MF ประเทศไทย อรรถวิท สุขช่วย
29 GK ประเทศไทย คณวัฒน์ กาญจรัส
32 MF ประเทศไทย รัชพล นาวันโน (กัปตันทีม)
33 DF ประเทศบราซิล ชียากู ดูชาร์ต
34 DF ประเทศไทย ปิติพล ปรัชญามงคล
37 DF ประเทศไทย เอกพล ฟางหนองดู่
39 GK ประเทศไทย นพรัตน์ สีนาเรียง
41 MF ประเทศไทย จีรพัฒน์ พุทธพันธ์
62 MF ประเทศไทย นิติรัฐ มหาเสนา
70 FW ประเทศบราซิล ฟีลีเป วาสกงเซลุส
77 MF ประเทศไทย ชัยยุทธ์ ศรีรัตน์
99 MF ประเทศไทย วีรศักดิ์ กายสิทธิ์

ผู้ฝึกสอน

[แก้]
ชื่อ ระยะเวลา ความสำเร็จ
ประเทศไทย สุพจน์ งดงาม เมษายน – มิถุนายน 2565 ชนะเลิศ ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2565 โซนกรุงเทพและปริมณฑล
ชนะเลิศ ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2565 โซนปริมณฑล
ประเทศไทย ศรายุทธ ชัยคำดี 26 มิถุนายน – 1 ธันวาคม 2565
ประเทศไทย ยศกร ศิลาเกษ 21 ธันวาคม 2565 – มีนาคม 2566
ประเทศไนจีเรีย อเดบาโย กาเดโบ 16 มิถุนายน – 12 สิงหาคม 2566
ประเทศไทย สมชาย ชวยบุญชุม (รักษาการ) 12 สิงหาคม – กันยายน 2566
ประเทศไทย รุ่งโรจน์ ทองถิ่นภู กันยายน – 30 ตุลาคม 2566
ประเทศไทย ศรายุทธ ชัยคำดี 30 ตุลาคม – 4 ธันวาคม 2566
ประเทศไทย ใหญ่ นิลวงษ์ 5 ธันวาคม 2566 – 25 พฤศจิกายน 2567 ช้าง เอฟเอคัพ 2566–67 รอบรองชนะเลิศ
ประเทศไทย หาญณรงค์ ชุณหะคุณากร 27 พฤศจิกายน 2567 –

เกียรติประวัติ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]