ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2018
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | อินโดนีเซีย |
วันที่ | 18 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561[1] |
ทีม | 16 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 3 (ใน 3 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ซาอุดีอาระเบีย (3 สมัย) |
รองชนะเลิศ | เกาหลีใต้ |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 30 |
จำนวนประตู | 114 (3.8 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 171,915 (5,731 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | Abdulrasheed Umaru (7 ประตู) |
การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2018 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 40 ของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี, เป็นการแข่งขันทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลยุวชนที่จัดขึ้นสองปีต่อครั้ง จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติประเภทชายรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี จากแต่ละชาติสมาชิก ทัวร์นาเมนต์จัดขึ้นที่ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีทั้งหมด 16 ทีมที่ได้ลงเล่นในทัวร์นาเมนต์
รอบคัดเลือก
[แก้]รอบคัดเลือกจะลงเล่นระหว่างวันที่ 31 ตุลาคม – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.[2]
ทีมที่เข้ารอบ
[แก้]The following 16 teams qualified for the final tournament.[3]
ทีม | เข้ารอบในฐานะ | จำนวนครั้งที่ได่เข้าร่วม | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา |
---|---|---|---|
อินโดนีเซีย | เจ้าภาพ | 17 | ชนะเลิศ (1961) |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | กลุ่ม เอ ชนะเลิศ | 14 | ชนะเลิศ (2008) |
ทาจิกิสถาน | กลุ่ม บี ชนะเลิศ | 4 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2016) |
กาตาร์ | กลุ่ม ซี ชนะเลิศ | 14 | ชนะเลิศ (2014) |
ซาอุดีอาระเบีย | กลุ่ม ดี ชนะเลิศ | 14 | ชนะเลิศ (1986, 1992) |
จอร์แดน | กลุ่ม อี ชนะเลิศ | 7 | อันดับ 4 (2006) |
เกาหลีใต้ | กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ | 38 | ชนะเลิศ (1959, 1960, 1963, 1978, 1980, 1982, 1990, 1996, 1998, 2002, 2004, 2012) |
จีน | กลุ่ม จี ชนะเลิศ | 18 | ชนะเลิศ (1985) |
เวียดนาม | กลุ่ม เอช ชนะเลิศ | 19[note 1] | รอบรองชนะเลิศ (2016) |
ญี่ปุ่น | กลุ่ม ไอ ชนะเลิศ | 37 | ชนะเลิศ (2016) |
ออสเตรเลีย | กลุ่ม เจ ชนะเลิศ | 7 | รองชนะเลิศ (2010) |
อิรัก | กลุ่ม ซี รองชนะเลิศ[note 2] | 17 | ชนะเลิศ (1975, 1977, 1978, 1988, 2000) |
ไทย | กลุ่ม ไอ รองชนะเลิศ[note 2] | 33 | ชนะเลิศ (1962, 1969) |
เกาหลีเหนือ | กลุ่ม เจ รองชนะเลิศ[note 2] | 13 | ชนะเลิศ (1976, 2006, 2010) |
จีนไทเป | กลุ่ม เอช รองชนะเลิศ[note 2] | 10 | อันดับ 3 (1966) |
มาเลเซีย | กลุ่ม เอฟ รองชนะเลิศ[note 2] | 23 | รองชนะเลิศ (1959, 1960, 1968) |
หมายเหตุ:
- ↑ Vietnam between 1959 and 1974 were to play at AFC tournaments as South Vietnam. A separate North Vietnam state did not enter all international football tournaments those times. The 19 appearances included 11 appearances as South Vietnam.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 The five best runners-up qualified for the final tournament.
สนามแข่งขัน
[แก้]จาการ์ตา | เบอกาซี | โบโกร์ |
---|---|---|
สนามกีฬาหลักเกอโลราบุงการ์โน | สนามกีฬาปาตรียตจันดราบากา | สนามกีฬาปากันซารี |
ความจุ: 77,193 | ความจุ: 30,000 | ความจุ: 30,000 |
การจับสลาก
[แก้]16 ทีมจะถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม.
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
อินโดนีเซีย (เจ้าภาพ; ตำแหน่ง เอ1) |
ผู้เล่น
[แก้]รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 8 ทีมสุดท้าย.
เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, WIB (UTC+7).
กลุ่ม เอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กาตาร์ | 3 | 2 | 0 | 1 | 11 | 7 | +4 | 6[a] | รอบแพ้คัดออก |
2 | อินโดนีเซีย (H) | 3 | 2 | 0 | 1 | 9 | 7 | +2 | 6[a] | |
3 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 3 | 2 | 0 | 1 | 10 | 3 | +7 | 6[a] | |
4 | จีนไทเป | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 15 | −13 | 0 |
อินโดนีเซีย | 3–1 | จีนไทเป |
---|---|---|
Egy 50' Witan 70', 89' |
รายงาน | Wang Chung-yu 53' |
จีนไทเป | 1–8 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
---|---|---|
Wu Yen-shu 74' | รายงาน | Fawzi 10' Al. Saleh 20', 67' Rashed 35', 75' Mubarak 51', 59' Al-Naqbi 70' |
กาตาร์ | 6–5 | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
Ali 11', 51' Umaru 14', 41', 56' Waad 24' |
รายงาน | Luthfi 28' Rivaldo 65', 73', 81' Saddil 69' |
อินโดนีเซีย | 1–0 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
---|---|---|
Witan 23' | รายงาน |
กลุ่ม บี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ญี่ปุ่น | 3 | 3 | 0 | 0 | 13 | 3 | +10 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ไทย | 3 | 1 | 1 | 1 | 6 | 7 | −1 | 4 | |
3 | เกาหลีเหนือ | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 7 | −3 | 3 | |
4 | อิรัก | 3 | 0 | 1 | 2 | 3 | 9 | −6 | 1 |
อิรัก | 3–3 | ไทย |
---|---|---|
Abdulridha 37' Ramadhan 42' Abdulkareem 66' |
รายงาน | ก. กฤษดา 26' กรวิชญ์ 87' ศุภณัฏฐ์ 90+4' |
ญี่ปุ่น | 5–2 | เกาหลีเหนือ |
---|---|---|
K. Saito 8' Ito 19' Kubo 65' Miyashiro 89' Abe 90+3' |
รายงาน | Kye Tam 36' Kang Kuk-chol 41' (ลูกโทษ) |
เกาหลีเหนือ | 1–0 | อิรัก |
---|---|---|
Pak Kwang-chon 55' | รายงาน |
ไทย | 2–1 | เกาหลีเหนือ |
---|---|---|
สัมพันธ์ 38' กรวิชญ์ 78' |
รายงาน | Kang Kuk-chol 45' |
กลุ่ม ซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เกาหลีใต้ | 3 | 2 | 1 | 0 | 7 | 3 | +4 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ออสเตรเลีย | 3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 3 | +1 | 5 | |
3 | จอร์แดน | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 5 | −1 | 4 | |
4 | เวียดนาม | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 7 | −4 | 0 |
เกาหลีใต้ | 1–1 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
Jeon Se-jin 52' | รายงาน | Najjarine 89' |
จอร์แดน | 1–3 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
Al-Zebdieh 77' | รายงาน | Cho Young-wook 3' Jeon Se-jin 79' Choi Jun 90+2' |
เวียดนาม | 1–3 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
Tú 13' | รายงาน | Cho Young-wook 45' (ลูกโทษ), 90+4' (ลูกโทษ) Kim Hyun-woo 77' |
ออสเตรเลีย | 1–1 | จอร์แดน |
---|---|---|
Puflett 10' | รายงาน | Al-Zebdieh 76' |
กลุ่ม ดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ซาอุดีอาระเบีย | 3 | 3 | 0 | 0 | 6 | 2 | +4 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ทาจิกิสถาน | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 5 | −1 | 4 | |
3 | จีน | 3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 2 | 0 | 3 | |
4 | มาเลเซีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 3 | 6 | −3 | 1 |
ทาจิกิสถาน | 1–0 | จีน |
---|---|---|
Solehov 77' | รายงาน |
จีน | 0–1 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
รายงาน | Al-Qahtani 81' |
มาเลเซีย | 2–2 | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
Hadi 11' Hanonov 55' (เข้าประตูตัวเอง) |
รายงาน | Panjshanbe 34' (ลูกโทษ) Yodgorov 45+1' |
ซาอุดีอาระเบีย | 3–1 | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
Al-Zaqarta 65', 70' Qirghizboev 73' (เข้าประตูตัวเอง) |
รายงาน | Boboev 29' |
จีน | 2–0 | มาเลเซีย |
---|---|---|
Tao Qianglong 44' Xu Yue 58' |
รายงาน |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายการแข่งขัน
[แก้]รอบ 8 ทีม | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
28 ตุลาคม – Jakarta | ||||||||||
กาตาร์ (ต่อเวลา) | 7 | |||||||||
1 พฤศจิกายน – Jakarta | ||||||||||
ไทย | 3 | |||||||||
กาตาร์ | 1 | |||||||||
29 ตุลาคม – Bekasi | ||||||||||
เกาหลีใต้ | 3 | |||||||||
เกาหลีใต้ | 1 | |||||||||
4 พฤศจิกายน – Jakarta | ||||||||||
ทาจิกิสถาน | 0 | |||||||||
เกาหลีใต้ | ||||||||||
28 ตุลาคม – Jakarta | ||||||||||
ซาอุดีอาระเบีย | ||||||||||
ญี่ปุ่น | 2 | |||||||||
1 พฤศจิกายน – Jakarta | ||||||||||
อินโดนีเซีย | 0 | |||||||||
ญี่ปุ่น | 0 | |||||||||
29 ตุลาคม – Bekasi | ||||||||||
ซาอุดีอาระเบีย | 2 | |||||||||
ซาอุดีอาระเบีย | 3 | |||||||||
ออสเตรเลีย | 1 | |||||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]ทีมที่ชนะเลิศจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2019.
กาตาร์ | 7–3 (ต่อเวลาพิเศษ) | ไทย |
---|---|---|
Ali 13' Al Yazidi 21' Suhail 87' Umaru 99', 117' Mansour 106' Aymen 120' |
รายงาน | กรวิชญ์ 48' สกุลชัย 61' ธีรภักดิ์ 80' |
ญี่ปุ่น | 2–0 | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
Higashi 40' Miyashiro 70' |
รายงาน |
เกาหลีใต้ | 1–0 | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
Jeon Se-jin 44' | รายงาน |
ซาอุดีอาระเบีย | 3–1 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
Al-Ammar 7' Al-Buraikan 50' Abdulhamid 82' |
รายงาน | Atkinson 42' |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]กาตาร์ | 1–3 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
Lee Jae-ik 52' (เข้าประตูตัวเอง) | รายงาน | Jeon Se-jin 23', 33' Um Won-sang 45+2' |
ญี่ปุ่น | 0–2 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
รายงาน | Al-Ammar 29' Al-Ghannam 45+1' |
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]เกาหลีใต้ | 1–2 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อันดับผู้ทำประตู
[แก้]การแข่งขันทั้งหมดมี 114 ประตูที่ทำได้ใน 30 นัด สำหรับค่าเฉลี่ย 3.8 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน
- 7 ประตู
- 5 ประตู
- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- Nathaniel Atkinson
- Ben Folami
- Ramy Najjarine
- Oliver Puflett
- Angus Thurgate
- Tao Qianglong
- Xu Yue
- Wang Chung-yu
- Wu Yen-shu
- Egy Maulana
- Luthfi Kamal
- Saddil Ramdani
- Hasan Abdulkareem
- Moamel Abdulridha
- Wakaa Ramadhan
- Hiroki Abe
- Shunki Higashi
- Hiroki Ito
- Takefusa Kubo
- Kyosuke Tagawa
- Yuta Taki
- Mohammad Al-Zu'bi
- Mohammad Atieh
- Pak Kwang-chon
- Kye Tam
- Nasser Al Yazidi
- Yousef Aymen
- Ahmed Suhail
- Mohammed Waad
- Saud Abdulhamid
- Firas Al-Buraikan
- Khalid Al-Ghannam
- Faraj Al-Ghashayan
- Abdulmohsen Al-Qahtani
- Salem Al-Saleem
- Kim Hyun-woo
- Choi Jun
- Um Won-sang
- Sheriddin Boboev
- Ehson Panjshanbe
- Sharafjon Solehov
- Daler Yodgorov
- กฤษดา กาแมน
- สัมพันธ์ เกษี
- ธีรภักดิ์ เปรื่องนา
- สกุลชัย แสงโทโพธิ์
- Abdullah Al-Naqbi
- Nhâm Mạnh Dũng
- Lê Văn Nam
- Lê Xuân Tú
- 1 การทำเข้าประตูตัวเอง
- Lee Jae-ik (ในนัดที่พบกับ กาตาร์)
- Vahdat Hanonov (ในนัดที่พบกับ มาเลเซีย)
ผู้สนับสนุน
[แก้]TOYOTA
NIKON
SAISON CARD
CONTINENTAL TIRES
FLY EMIRATES
FAMILY MART
KDDI AU
MAKITA
JAPAN READING NATIONAL NEWSPAPER
ONE ASIA ONE GOAL
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "AFC Competitions Calendar 2018" (PDF). AFC. 12 April 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-05-10. สืบค้นเมื่อ 2017-03-27.
- ↑ "AFC Competitions Calendar 2017" (PDF). AFC. 12 April 2016.
- ↑ "Cast finalised for AFC U-19 Championship 2018". AFC. 9 November 2017.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC U-19 Championship, the-AFC.com