ข้ามไปเนื้อหา

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 – โซนภาคกลาง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก 3 โซนภาคกลาง
ฤดูกาล2567–68
วันที่14 กันยายน 2567 – 30 มีนาคม 2568
จำนวนนัด15
จำนวนประตู41 (2.73 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดกิตติ กินโนนกอก
(5 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
6 ประตู
ลพบุรี ซิตี้ 6–0 โดม
(21 กันยายน 2567)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
2 ประตู
ม.เกษมบัณฑิต 0–2 ม.นอร์ทกรุงเทพ
(14 กันยายน 2567)
โดม 0–2 จามจุรี ยูไนเต็ด
(29 กันยายน 2567)
จำนวนประตูสูงสุด6 ประตู
ลพบุรี ซิตี้ 6–0 โดม
(21 กันยายน 2567)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
3 นัด
ลพบุรี ซิตี้
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
3 นัด
ลพบุรี ซิตี้
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
3 นัด
ทหารอากาศ
ม.เกษมบัณฑิต
อ่างทอง
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
2 นัด
โดม
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
จำนวนผู้ชมสูงสุด420 คน
ลพบุรี ซิตี้ 5–0 สระบุรี ยูไนเต็ด
(28 กันยายน 2567)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม3,538 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย253 คน
2566–67 (โซนกรุงเทพและปริมณฑล)
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 29 กันยายน 2567

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 โซนภาคกลาง เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 8 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560

ซึ่งเป็นฤดูกาลแรกที่ได้มีการปรับโครงสร้าง โดยได้มีการยุบโซนกรุงเทพและปริมณฑล และเปลี่ยนเป็นโซนภาคกลาง เพื่อให้สอดคล้องกับการกระจายตัวทางภูมิศาสตร์ของสโมสรมากขึ้น[1]

สโมสร

[แก้]

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2567–68 โซนภาคกลาง มีจำนวน 11 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากโซนกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 6 สโมสร สโมสรจากโซนภาคตะวันตก จำนวน 4 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก โซนกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 1 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

[แก้]
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2566–67
จามจุรี ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร
(ปทุมวัน)
สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 20,000 8 (กทม.)
โดม ปทุมธานี
(ธัญบุรี)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต 800 1 (ทีเอส)
ทหารอากาศ ปทุมธานี
(ลำลูกกา)
สนามกีฬาธูปะเตมีย์ 25,000 7 (กทม.)
พราม แบงค็อก กรุงเทพมหานคร
(หลักสี่)
สนามบุณยะจินดา 4,402 6 (กทม.)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต กรุงเทพมหานคร
(มีนบุรี)
เอสตาดิโอ เกษม 1,000 5 (กทม.)
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ปทุมธานี
(ธัญบุรี)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต 1,550 2 (กทม.)
มหาวิทยาลัยปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สนามกีฬาราชคราม สปอร์ตคลับ บางไทร 1,000 1 (ตะวันตก)
ลพบุรี ซิตี้ ลพบุรี สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดลพบุรี 1,000 5 (ตะวันตก)
สระบุรี ยูไนเต็ด สระบุรี สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี 7,000 4 (ตะวันตก)
อ่างทอง อ่างทอง สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง 5,000 2 (ตะวันตก)
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก กรุงเทพมหานคร
(มีนบุรี)
สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 10,000 11 (กทม.)

ข้อมูลสโมสร

[แก้]
สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
จามจุรี ยูไนเต็ด ไทย อดุลย์ ลือกิจนา เอฟบีที
โดม ไทย ประทีป เสนาลา ไอมาเน
ทหารอากาศ ไทย มนตรี แพรพันธ์ กีลา
พราม แบงค็อก ไทย ธัญญาภรณ์ คล้ายขำ เน็กซ์ดีไซน์
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ไทย กฤษณ์ สิงห์ปรีชา แกรนด์สปอร์ต
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ไทย ดำรงศักดิ์ บุญม่วง เอชทรีสปอร์ต
มหาวิทยาลัยปทุมธานี ไทย กันตวัฒน์ สุวรรณภาญกูร อีโกสปอร์ต
ลพบุรี ซิตี้ ไทย นิรุจน์ สุระเสียง ไอมาเน
สระบุรี ยูไนเต็ด ไทย อดิเรก พันธ์ไพโรจน์ แกรนด์สปอร์ต
อ่างทอง ไทย ประจักษ์ เวียงสงค์ ทีดับเบิลยูสปอร์ต
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก เน็กซ์ดีไซน์

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน

Note :
Substituted off: ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
Substituted on: ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
สโมสร เลก ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3
จามจุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1
เลกที่ 2
โดม เลกที่ 1
เลกที่ 2
ทหารอากาศ เลกที่ 1
เลกที่ 2
พราม แบงค็อก เลกที่ 1
เลกที่ 2
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เลกที่ 1
เลกที่ 2
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ เลกที่ 1
เลกที่ 2
มหาวิทยาลัยปทุมธานี เลกที่ 1
เลกที่ 2
ลพบุรี ซิตี้ เลกที่ 1
เลกที่ 2
สระบุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1
เลกที่ 2
อ่างทอง เลกที่ 1
เลกที่ 2
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก เลกที่ 1
เลกที่ 2

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์

[แก้]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า

ตารางคะแนน

[แก้]

อันดับ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 ลพบุรี ซิตี้ 3 3 0 0 14 2 +12 9 เข้าแข่งขันในรอบระดับประเทศ
2 จามจุรี ยูไนเต็ด 3 2 0 1 5 2 +3 6
3 พราม แบงค็อก 2 2 0 0 5 3 +2 6
4 มหาวิทยาลัยปทุมธานี 3 2 0 1 2 1 +1 6
5 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 2 1 1 0 3 1 +2 4
6 สระบุรี ยูไนเต็ด 3 1 1 1 3 7 −4 4
7 ทหารอากาศ 3 0 2 1 3 4 −1 2
8 อ่างทอง 3 0 2 1 2 3 −1 2
9 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 3 0 1 2 3 6 −3 1
10 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 3 0 1 2 1 4 −3 1
11 โดม 2 0 0 2 0 8 −8 0 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 29 กันยายน 2567. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้ 4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียจากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้จากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียจากทุกนัด 6.จำนวนประตูได้จากทุกนัด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ 1 นัด ถ้าเสมอกันในเวลาปกติให้ดวลลูกโทษตัดสิน[2]


อันดับตามสัปดาห์

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2567 อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น

[แก้]
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2567 อ้างอิง: ไทยลีก
N = ไม่มีการแข่งขัน; W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า / เยือน CCU DME RAF PBK KBU NBU PTU LRC SRU ATG AIB
จามจุรี ยูไนเต็ด 3–1
โดม 0–2
ทหารอากาศ 2–3 0–0
พราม แบงค็อก 3–2
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1–2 0–2
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 1–1
มหาวิทยาลัยปทุมธานี 1–0
ลพบุรี ซิตี้ 6–0 5–0
สระบุรี ยูไนเต็ด 1–0
อ่างทอง 0–0
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 0–1 2–2
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 29 กันยายน 2567. ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ

[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
ณ วันที่ 29 กันยายน 2567
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 ไทย กิตติ กินโนนกอก ลพบุรี ซิตี้ 5
2 แคเมอรูน อเล็กซ์ เมอร์มอซ ลพบุรี ซิตี้ 3
3 ไทย วิญญวิศว์ ทุมคำปัญจรัส จามจุรี ยูไนเต็ด 2
สวีเดน วิลเลียม ควิสต์ พราม แบงค็อก
กานา เอริก คูมี มหาวิทยาลัยปทุมธานี
ไทย จิรอัชต์ วิงวอน ลพบุรี ซิตี้
7 ไทย พรหมมินทร์ ปิ่นแก้ว จามจุรี ยูไนเต็ด 1
ไทย ปราชญ์ปรีชา เพ็ชร์ทอง จามจุรี ยูไนเต็ด
ไทย ณัฐวุฒิ สุขสำราญ จามจุรี ยูไนเต็ด
กานา เอ็มมานูเอล ควาเม อะคาดอม ทหารอากาศ
ไทย พีรวัส หล้าแหล่ง ทหารอากาศ
ไทย ตนุภัทร บุญอนันท์ ทหารอากาศ
ไทย ชวัลวิทย์ แซ่เล้า พราม แบงค็อก
สวีเดน อาเล็กซันดาร์ มูทิก พราม แบงค็อก
ไทย เอกพงษ์ พิมานเกษมศรี พราม แบงค็อก
ไนจีเรีย ทอมัส ชินอนโซ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ไทย พนมพร พวงมาลัย มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
โกตดิวัวร์ โมฮาเหม็ด กูอาดียอ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ไทย วีรพงศ์ อ้นเพียร มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
อิหร่าน ฮามเซฮ์ ซะรี ลพบุรี ซิตี้
ไทย สุขสันต์ มุ่งเป้า ลพบุรี ซิตี้
บราซิล ญุดซง ลพบุรี ซิตี้
ไทย นพคุณ ยิ่งบำรุง ลพบุรี ซิตี้
ไทย อติกานต์ พันประหัศ สระบุรี ยูไนเต็ด
ไทย ภูรีรัช โยธิพุกกะ สระบุรี ยูไนเต็ด
ไทย ผดุงเกียรติ อาจคิดการ สระบุรี ยูไนเต็ด
อังกฤษ คารัม อีดริส อ่างทอง
ไทย ศุภวิชญ์ ชูศักดิ์สกุลวิบูล อ่างทอง
ไทย นพรุจ กิ่งทอง เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
ไทย อนุชา แก้วกันหา เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
บราซิล อาบราเวา เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก

แฮตทริก

[แก้]
ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่
ไทย กิตติ กินโนนกอก ลพบุรี ซิตี้ โดม 6–0 (H) 21 กันยายน 2567

คลีนชีตส์

[แก้]
ณ วันที่ 29 กันยายน 2567
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1 ไทย กิตติทัต คำแก้ว มหาวิทยาลัยปทุมธานี 2
ไทย สิรเศรษฐ เอกประทุมชัย ลพบุรี ซิตี้
3 ไทย ณภัทร สื่อมโนธรรม จามจุรี ยูไนเต็ด 1
ไทย กิตติศักดิ์ ทองคำ ทหารอากาศ
ไทย ชานนท์ อุ่นใจดี มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ไทย สนั่น อ่ำเกิด มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ไทย อิทธิกร กุหลาบ สระบุรี ยูไนเต็ด
ไทย ฐิติพงษ์ กระธน อ่างทอง
ไทย ธนธรณ์ กุจนา อ่างทอง

ผู้ชม

[แก้]

สถิติผู้ชมทั้งหมด

[แก้]
อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 ลพบุรี ซิตี้ 820 420 400 410 +57.1%
2 อ่างทอง 405 405 0 405 −36.3%
3 ทหารอากาศ 620 351 269 310 +48.3%
4 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 500 300 200 250 +17.9%
5 พราม แบงค็อก 240 240 0 240 −32.2%
6 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 204 204 0 204 +25.2%
7 สระบุรี ยูไนเต็ด 196 196 0 196 −66.7%
8 โดม 180 180 0 180 +89.5%
9 จามจุรี ยูไนเต็ด 170 170 0 170 −19.0%
10 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 203 150 53 102 −20.3%
11 มหาวิทยาลัยปทุมธานี 0 0 0 0 −100.0%
รวม 3,538 420 0 253 +10.5%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2567
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
สโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า

[แก้]
ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม
จามจุรี ยูไนเต็ด 170 170
โดม 180 180
ทหารอากาศ 269 351 620
พราม แบงค็อก 240 240
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 300 200 500
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 204 204
มหาวิทยาลัยปทุมธานี Unk.1 0
ลพบุรี ซิตี้ 400 420 820
สระบุรี ยูไนเต็ด 196 196
อ่างทอง 405 405
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 150 53 203

แหล่งที่มา: ไทยลีก

หมายเหตุ:
Unk.1 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2567 (มหาวิทยาลัยปทุมธานี 1–0 จามจุรี ยูไนเต็ด)

อ้างอิง

[แก้]
  1. "นอร์ทกรุงเทพมองไทยลีก3แบ่งโซนใหม่มีแง่ดีแต่หลักการต้องชัดเจน". siamsport.co.th. siamsport. สืบค้นเมื่อ 2 October 2024.
  2. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ ไทยลีก 3 พ.ศ. 2567/68" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.