ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ จอร์แดน[1]
วันที่7–20 เมษายน พ.ศ. 2561[2]
ทีม(จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
อันดับที่ 3ธงชาติจีน จีน
อันดับที่ 4ธงชาติไทย ไทย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน17
จำนวนประตู66 (3.88 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดจีน หลี อิ่ง (7 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมญี่ปุ่น มานะ อิวาบูจิ
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
2014
2022
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2561

ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2018 เป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงของทีมชาติในสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ครั้งที่ 19 เพื่อชิงชนะเลิศในระดับเอเชียและเพื่อคัดเลือกทีมสู่การแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2019

รอบคัดเลือก[แก้]

รอบคัดเลือกสำหรับฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2018 จัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 3 ถึง 12 เมษายน พ.ศ. 2560[3] ชาติเจ้าภาพคือทาจิกิสถาน ปาเลสไตน์ เกาหลีเหนือ และเวียดนาม[4]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทีม ได้ผ่านเข้ารอบในฐานะ ผ่านเข้ารอบครั้งที่ ผลงานที่ดีที่สุด อันดับโลกฟีฟ่า
เมื่อเริ่มต้นการแข่งขัน
ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน เจ้าภาพ 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2014) 51
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ชนะเลิศ ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 16 ชนะเลิศ (2014) 11
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย รองชนะเลิศ ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 6 ชนะเลิศ (2010) 6
ธงชาติจีน จีน อันดับที่สาม ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 14 ชนะเลิศ (1986, 1989, 1991, 1993, 1995, 1997, 1999, 2006) 17
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ รองชนะเลิศ รอบคัดเลือก กลุ่ม เอ[note 1] 9 รอบแบ่งกลุ่ม (1981, 1983, 1993, 1995, 1997, 1999, 2001, 2003) 72
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ชนะเลิศ รอบคัดเลือก กลุ่ม บี 12 อันดับที่สาม (2003) 16
ธงชาติไทย ไทย ชนะเลิศ รอบคัดเลือก กลุ่ม ซี 16 ชนะเลิศ (1983) 30
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม ชนะเลิศ รอบคัดเลือก กลุ่ม ดี 8 อันดับที่หก (2014) 35

หมายเหตุ:

  1. เนื่องจากจอร์แดนซึ่งเป็นทีมชนะเลิศของกลุ่มเอผ่านเข้ารอบอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นทีมรองชนะเลิศจึงได้สิทธิ์เข้ารอบสุดท้ายด้วย[5]

สนามแข่งขัน[แก้]

การแข่งขันจะลงเล่นในสองสนามในเมือง อัมมาน.

สนามกีฬานานาชาติอัมมาน สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง
ความจุ: 17,619 ความจุ: 13,000

การจับสลาก[แก้]

การจับสลากแบ่งสายในรอบสุดท้ายจัดขึ้นเมื่อเวลา 13:00 น. ของวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ตามเวลายุโรปตะวันออก (UTC+2) ที่คิงฮุสเซนบินทาลาลคอนเวนชันเซ็นเตอร์บนชายฝั่งตะวันออกของทะเลเดดซี[6] การจัดอันดับทีมเป็นไปตามผลงานที่ทำได้ในฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 ทั้งรอบสุดท้ายและรอบคัดเลือก โดยจอร์แดนซึ่งเป็นเจ้าภาพจะเป็นทีมวางและได้อยู่ในตำแหน่ง เอ1 ในการจับสลาก

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

1. ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน (เจ้าภาพ)
2. ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

3. ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
4. ธงชาติจีน จีน

5. ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
6. ธงชาติไทย ไทย

7. ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
8. ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์

ผู้เล่น[แก้]

แต่ละทีมจะต้องลงทะเบียนผู้เล่นอย่างน้อย 18 คนและไม่เกิน 23 คน โดยอย่างน้อยสามคนต้องเป็นผู้รักษาประตู (บทความข้อบังคับที่ 31.4 และ 31.5)[7]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้สิทธิ์สำหรับฟุตบอลโลกหญิง 2019 รวมทั้งได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่สามของแต่ละกลุ่มจะเข้าสู่นัดชิงอันดับที่ห้า

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก (UTC+3)

ตารางการแข่งขัน
นัดที่ วันที่ นัด
นัดที่ 1 6–7 เมษายน 2561 1 พบ 4, 2 พบ 3
นัดที่ 2 9–10 เมษายน 2561 4 พบ 2, 3 พบ 1
นัดที่ 3 12–13 เมษายน 2561 1 พบ 2, 3 พบ 4

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติจีน จีน 3 3 0 0 15 1 +14 9 รอบแพ้คัดออก และ ฟุตบอลโลกหญิง 2019
2 ธงชาติไทย ไทย 3 2 0 1 9 6 +3 6
3 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 3 1 0 2 3 7 −4 3 นัดชิงอันดับที่ 5
4 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน (H) 3 0 0 3 3 16 −13 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ.
จีน ธงชาติจีน4–0ธงชาติไทย ไทย
ซ่ง ตวน ประตู 56'77'
หวัง ซวง ประตู 63'
หลี อิ่ง ประตู 67'
รายงาน
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
ผู้ชม: 5,060 คน
ผู้ตัดสิน: เคต ยาเชวิช (ออสเตรเลีย)
จอร์แดน ธงชาติจอร์แดน1–2ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
ญบาเราะห์ ประตู 15' รายงาน คออีร ประตู 51' (เข้าประตูตัวเอง)
โบลเดน ประตู 76'
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
ผู้ชม: 9,473 คน
ผู้ตัดสิน: รี ฮยัง-อก (เกาหลีเหนือ)

ฟิลิปปินส์ ธงชาติฟิลิปปินส์0–3ธงชาติจีน จีน
รายงาน หม่า จวิน ประตู 31'
หลี อิ่ง ประตู 17'57'
สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง, อัมมาน
ผู้ชม: 226 คน
ผู้ตัดสิน: เคซีย์ เรเบลต์ (ออสเตรเลีย)
ไทย ธงชาติไทย6–1ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
สุชาวดี ประตู 1'69'
ธนีกาญจน์ ประตู 6'
ศิลาวรรณ ประตู 39'
กาญจนา ประตู 41'
พิสมัย ประตู 90'
รายงาน เญบรีน ประตู 43'
สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง, อัมมาน
ผู้ชม: 5,000 คน
ผู้ตัดสิน: โยชิมิ ยามาชิตะ (ญี่ปุ่น)

จอร์แดน ธงชาติจอร์แดน1–8ธงชาติจีน จีน
ซับบาห์ ประตู 17' รายงาน หวัง ซวง ประตู 14'53'84'
คออีร ประตู 41' (เข้าประตูตัวเอง)
ซ่ง ตวน ประตู 51'
หลี อิ่ง ประตู 60'72' (ลูกโทษ)
ทัง เจียลี่ ประตู 86'
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
ผู้ตัดสิน: กง ถิ สึ่ง (เวียดนาม)
ไทย ธงชาติไทย3–1ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
กาญจนา ประตู 28' (ลูกโทษ)53'
ศิลาวรรณ ประตู 62'
รายงาน ชุกก์ ประตู 90+3'
สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง, อัมมาน
ผู้ตัดสิน: โอ ฮย็อน-ช็อง (เกาหลีใต้)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 2 0 9 1 +8 5[a] รอบแพ้คัดออก และ ฟุตบอลโลกหญิง 2019
2 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 1 2 0 5 1 +4 5[a]
3 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 1 2 0 4 0 +4 5[a] นัดชิงอันดับที่ 5
4 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 3 0 0 3 0 16 −16 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2561. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 ผลเฮด-ทู-เฮด: ออสเตรเลีย 0–0 เกาหลีใต้, เกาหลีใต้ 0–0 ญี่ปุ่น, ญี่ปุ่น 1–1 ออสเตรเลีย อันดับเฮด-ทู-เฮด:
    • ออสเตรเลีย: 2 คะแนน ผลต่างประตูได้-เสีย 0 ยิงได้ 1 ประตู
    • ญี่ปุ่น: 2 คะแนน ผลต่างประตูได้-เสีย 0 ยิงได้ 1 ประตู
    • เกาหลีใต้: 2 คะแนน ผลต่างประตูได้-เสีย 0 ยิงได้ 0 ประตู
    เกาหลีใต้ได้อันดับที่สามตามประตูที่ยิงได้ในเฮด-ทู-เฮด ออสเตรเลียและญี่ปุ่นมีอันดับเสมอกันในเฮด-ทู-เฮดจึงต้องจัดอันดับตามผลต่างประตูได้-เสีย
ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น4–0ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
โยโกยามะ ประตู 3'
นากาจิมะ ประตู 17'
อิวาบูจิ ประตู 57'
ทานากะ ประตู 66'
รายงาน
สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง, อัมมาน
ผู้ตัดสิน: เตน เตน เอ (เมียนมาร์)
ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย0–0ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
รายงาน
สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง, อัมมาน
ผู้ชม: 230 คน
ผู้ตัดสิน: ฉิน เหลียง (จีน)

เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้0–0ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
รายงาน
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
ผู้ชม: 356 คน
ผู้ตัดสิน: ฉิน เหลียง (จีน)
เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม0–8ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
รายงาน ไซมอน ประตู 8'
เคนเนดี ประตู 18'
โลการ์โซ ประตู 21'
ฟาน เอกมอนด์ ประตู 28'
เคอร์ ประตู 44'51'
เหงียน ถิ ประตู 71' (เข้าประตูตัวเอง)
ราโซ ประตู 75'
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
ผู้ชม: 401 คน
ผู้ตัดสิน: เอดิตา มิราบิโดวา (อุซเบกิสถาน)

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น1–1ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ซากางูจิ ประตู 63' รายงาน เคอร์ ประตู 86'
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
ผู้ตัดสิน: รี ฮยัง-อก (เกาหลีเหนือ)
เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้4–0ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
โช โซ-ฮยุน ประตู 14'
ลี คึม-มิน ประตู 38'
ลี มิน-อา ประตู 49'73'
รายงาน
สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง, อัมมาน
ผู้ตัดสิน: มาห์ซา กอร์บานี (อิหร่าน)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
17 เมษายน – อัมมาน
 
 
ธงชาติจีน จีน1
 
20 เมษายน – อัมมาน
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น3
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น1
 
17 เมษายน – อัมมาน
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย0
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (ลูกโทษ)2 (3)
 
 
ธงชาติไทย ไทย2 (1)
 
รอบชิงอันดับที่สาม
 
 
20 เมษายน – อัมมาน
 
 
ธงชาติจีน จีน3
 
 
ธงชาติไทย ไทย1
 
รอบชิงอันดับที่ห้า
 
  
 
16 เมษายน – อัมมาน
 
 
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์0
 
 
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้5
 

นัดชิงอันดับที่ 5[แก้]

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกหญิง 2019.

ฟิลิปปินส์ ธงชาติฟิลิปปินส์0–5ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
รายงาน ชัง เซ็ล-กี ประตู 34'
ลี มิน-อา ประตู 48'
ลิม ซ็อน-จู ประตู 56'
โช โซ-ฮยุน ประตู 66'84' (ลูกโทษ)
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
ผู้ชม: 418 คน
ผู้ตัดสิน: เคซีย์ เรเบลต์ (ออสเตรเลีย)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย2–2 (ต่อเวลาพิเศษ)ธงชาติไทย ไทย
กาญจนาพร ประตู 17' (เข้าประตูตัวเอง)
เคนเนดี ประตู 90+1'
รายงาน กาญจนา ประตู 20'
รัตติกาล ประตู 63'
ลูกโทษ
ฟาน เอกมอนด์ Missed
เคลลอนด์-คไนต์ Penalty scored
เดอ วานนา Missed
แคตลีย์ Penalty scored
เคอร์ Penalty scored
3–1 Penalty scored อินทร์อร
Missed สุนิสา
Missed ศิลาวรรณ
Missed พิสมัย
สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง, อัมมาน
ผู้ชม: 166 คน
ผู้ตัดสิน: เอดิตา มิราบิโดวา (อุซเบกิสถาน)

จีน ธงชาติจีน1–3ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
หลี อิ่ง ประตู 90' (ลูกโทษ) รายงาน อิวาบูจิ ประตู 39'
โยโกยามะ ประตู 85'88' (ลูกโทษ)
สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง, อัมมาน
ผู้ชม: 502 คน
ผู้ตัดสิน: รี ฮยัง-อก (เกาหลีเหนือ)

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

จีน ธงชาติจีน3–1ธงชาติไทย ไทย
หลี อิ่ง ประตู 51'
หวัง ชานชาน ประตู 56'
ซ่ง ตวน ประตู 61'
รายงาน รัตติกาล ประตู 81'
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
ผู้ชม: 1,026 คน
ผู้ตัดสิน: โยชิมิ ยามาชิตะ (ญี่ปุ่น)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น1–0ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
โยโกยามะ ประตู 84' รายงาน
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน, อัมมาน
ผู้ชม: 3,065 คน
ผู้ตัดสิน: รี ฮยัง-อก (เกาหลีเหนือ)

รางวัล[แก้]

 ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2018 
ธงชาติญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
ครั้งที่ 2
ผู้เล่นทรงคุณค่า ดาวซัลโวสูงสุด รางวัลทีมแฟร์เพลย์
ญี่ปุ่น มานะ อิวาบูจิ จีน หลี อิ่ง (7 ประตู) ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

อันดับดาวซัลโว[แก้]

7 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 ประตูจากการทำเข้าประตูตัวเอง
2 ประตูจากการทำเข้าประตูตัวเอง

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกหญิง[แก้]

ด้านล่างนี้คือห้าทีมที่มาจากเอเอฟซีที่จะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกหญิง 2019.

ทีม วันที่ผ่านเข้ารอบ การลงสนามครั้งที่ผ่านมาในทัวร์นาเมนต์1
ธงชาติจีน จีน 9 เมษายน 2561[8] 6 (1991, 1995, 1999, 2003, 2007, 2015)
ธงชาติไทย ไทย 12 เมษายน 2561[9] 1 (2015)
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 13 เมษายน 2561 6 (1995, 1999, 2003, 2007, 2011, 2015)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 13 เมษายน 2561 7 (1991, 1995, 1999, 2003, 2007, 2011, 2015)
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 16 เมษายน 2561 2 (2003, 2015)

1 ตัวหนา ระบุถึงชนะเลิศสำหรับปีนั้น. ตัวเอียง ระบุถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

อ้างอิง[แก้]

  1. http://www.the-afc.com/media-releases/jordan-to-host-afc-women%E2%80%99s-asian-cup-2018-finals
  2. "AFC Competitions Calendar 2018" (PDF). AFC. 12 April 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-05-10. สืบค้นเมื่อ 2017-01-22.
  3. "AFC Calendar of Competitions 2017 (UPDATED)" (PDF). the-AFC.com. 12 April 2016. สืบค้นเมื่อ 15 October 2016.
  4. http://fft.tj/otborochnyj-turnir-kubka-azii-2018-sredi-zhenskih-sbornyh-projdet-v-dushanbe/
  5. "Philippines qualify for the 2018 AFC Women's Asian Cup". AFC. 10 เมษายน พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  6. "Contenders to learn AFC Women's Asian Cup fate at official draw". AFC. 8 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  7. "AFC Women's Asian Cup 2018 Competition Regulations" (PDF). AFC.
  8. "China PR proud to have sealed FIFA Women's World Cup 2019 spot". Asian Football Confederation. 9 เมษายน พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  9. "Thailand qualify for second successive Women's World Cup". FIFA.com. 12 เมษายน พ.ศ. 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-04-13. สืบค้นเมื่อ 2018-04-13. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]