รายชื่อผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ผู้บังคับบัญชาในสงครามโลกครั้งที่สอง)
ฝ่ายสัมพันธมิตร
[แก้]สหรัฐ
[แก้]เหล่าทัพ | ชื่อ | ตำแหน่งยศ | รางวัลเกียรติยศ | ชะตากรรม | เขตสงคราม / การรบ | |
---|---|---|---|---|---|---|
กองทัพบก | จอร์จ มาร์แชลล์ | นายพลแห่งกองทัพบก | ดิสทิงกวิชด์ เซอร์วิส ครอสส์, ซิลเวอร์สตาร์ | ในฐานะที่เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศ (Secretary of State) ชื่อของเขาได้ถูกมอบให้กับแผนมาร์แชลล์ ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพใน ค.ศ. 1950 และยังดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (Secretary of Defense) ในช่วงสงครามเกาหลี |
| |
เป็นผู้ช่วยของนายพลเพอร์ชิงในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เป็นเสนาธิการทหารที่มีอำนาจควบคุมกองทัพบกสหรัฐโดยรวมในช่วงระหว่างและก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง มาร์แชลทำหน้าที่เป็นเสนาธิการแห่งกองทัพบกสหรัฐในช่วงสงครามและเป็นหัวหน้าที่ปรึกษาทางทหารของประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ นายพลอเมริกันหลายคนที่ได้รับคำสั่งสูงสุดในช่วงสงครามซึ่งได้รับเลือกหรือแนะนำโดยมาร์แชลล์ รวมถึงดไวต์ ไอเซนฮาวร์ Lloyd Fredendall, Lesley J. McNair, Mark W. Clark และโอมาร์ แบรดลีย์ เขาได้เป็นผู้นำการเติบโตอย่างรวดเร็วของกองทัพสหรัฐ ประสานงานกับฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก และส่งเสริมการฟื้นฟูยุโรปหลังสงคราม | ||||||
ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ | นายพลแห่งกองทัพบก | Army Distinguished Service Medal, Navy Distinguished Service Medal. | ภายหลังจากปลดปล่อยยุโรป, เขาได้ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าเสนาธิการแห่งกองทัพบก อธิการบดีแห่งมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย, และผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งเนโท ก่อนที่จะถูกรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 34 | |||
ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1943, ประธานาธิบดีโรสเวลต์ได้ตัดสินใจเลือกไอเซนฮาวร์-ไม่ใช่มาร์แชล-ให้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรในยุโรป เดือนต่อมา เขาได้กลับมาเป็นผู้บัญชาการเขตสงครามยุโรปในปฏิบัติการกองทัพบกสหรัฐ(ETOUSA) และเดือนต่อมาก็ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการให้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรแห่งกองบัญชาการสูงสุดกำลังรบนอกประเทศสัมพันธมิตร(SHAPE) ซึ่งทำหน้าที่ถึงสองบทบาทจนกระทั่งการสู้รบในยุโรปได้ยุติลงในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945 เขาได้เป็นผู้รับผิดชอบในตำแหน่งนี้ด้วยการวางแผนและปฏิบัติการจู่โจมบนชายฝั่งนอร์ม็องดีของฝ่ายสัมพันธมิตรในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1944 ภายใต้รหัสนามว่า ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด เพื่อเป็นผู้นำในการปลดปล่อยยุโรปบนแนวรบด้านตะวันตกและการบุกครองเยอรมนี | ||||||
ดักลาส แมกอาเธอร์ | นายพลแห่งกองทัพบก | มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์, Philippine Medal of Valor | ได้รับมอบหมายหน้าที่ในการฟื้นฟูญี่ปุ่นหลังสงคราม. ต่อมามีความเกี่ยวข้องกับสงครามเกาหลี | |||
Recalled from retirement prior to the start of the Pacific war. Early on in World War II, received the Medal of Honor for extreme bravery. Was disappointed to relinquish the Philippines to the Japanese. Promising to return, he did so in 1945 and whilst in Manila, prepared for war in Japan itself. MacArthur presided over the Japanese Unconditional Surrender in 1945. His strategy of maneuver, air strikes and force avoidance meant that soldiers under his command faced relatively low casualties. | ||||||
โอมาร์ แบรดลีย์ | นายพลแห่งกองทัพบก | Distinguished Service Medal (Army and Navy). | Promoted to General of the Army during the Korean War (after serving in the rank of General during World War II). Became Chairman of the Joint Chiefs of Staff | |||
This former infantry school instructor entered the war under Patton, later becoming his boss. Towards the end of the war, led a force of over 1.3 million troops (America's largest to serve under one man).[1] | ||||||
Mark W. Clark | นายพล | Distinguished Service Medal (Army and Navy). | Became head of the Citadel | |||
Led the triumphal entry into Rome. Served under General Harold Alexander. Ordered the destruction of the religious abbey at Monte Cassino. Was commander-in-chief in Italy from late 1944.[1] | ||||||
จอร์จ เอส. แพตตัน จูเนียร์ | นายพล | ดิสทิงกวิชด์ เซอร์วิส ครอสส์ | เสียชีวิตในอุบัติเหตุรถชนเพียงสี่เดือนหลังสงครามยุติลง | |||
An aggressive general whose ferocious military thrusts earned him admiration and respect from many participants in the war (and at times endangered his military career). Successfully used the German tactic of armored blitzkrieg against the Germans.[1] | ||||||
กองทัพเรือ | เออร์เนสต์ คิง | จอมพลเรือ | เนวี ครอสส์ | เกษียณเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1945. | ||
[1] United States Chief of Naval Operations. | ||||||
เชสเตอร์ ดับเบิลยู. นิมิตซ์ | จอมพลเรือ | เลฌียงดอเนอร์, Distinguished Service Medal | ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าปฏิบัติการกองทัพเรือ | |||
After the attack on Pearl Harbor, took command of the Pacific Ocean areas, and turned around USA's fortunes in the Battle of Midway. Closed the war with operations in the Leyte Gulf and Okinawa.[1] | ||||||
วิลเลียม ฮอลซี จูเนียร์ | จอมพลเรือ | เนวี ครอสส์ | Retired 1947. | |||
Commander of South Pacific Area 1942-1944. Commander of United States Third Fleet 1944-1945.[1][2] | ||||||
Frank Jack Fletcher | พลเรือเอก | มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์ | Chairman of the General Board, retired in 1947. | |||
Recipient of the Medal of Honor for saving hundreds of refugees during the United States occupation of Veracruz in April 1914 during the Mexican Revolution. Operational commander at the pivotal Battles of Coral Sea and of Midway; nephew of Admiral Frank Friday Fletcher. In November 1942, he became Commander, Thirteenth Naval District and Commander, Northwestern Sea Frontier. Later, he was placed in charge of the Northern Pacific area.[1] | ||||||
Raymond A. Spruance | พลเรือเอก | เนวี ครอสส์ | Served as President of the Naval War College. | |||
Commander of two significant battles during the war, Battle of Midway and the Battle of the Philippine Sea. | ||||||
กองทัพอากาศ | Henry Arnold | นายพลแห่งกองทัพอากาศ | Distinguished Service Medal | |||
Member of the US Joint Chiefs of Staff, and the Combined Chiefs of Staff committees.[1] | ||||||
Ira C. Eaker | นายพล | Distinguished Service Medal (Army, Navy and Air Force) | Became deputy commander of the Army Air Forces until retirement in 1947. | |||
Commander of the 8th US Bomber command.[1] | ||||||
Carl Spaatz | นายพล | Air Force Cross | Replaced Arnold in September 1947 to become chief of the US Air Force. | |||
One of the pioneers of US military aviation, Spaatz advocated the use of scientific analysis to bombing raids, and made effective use of long range fighters, tactics which helped the Allies achieve air superiority over Europe.[1] |
สหราชอาณาจักร
[แก้]- เซอร์วินสตัน เชอร์ชิลล์ (Winston Churchill) (30 พฤศจิกายน 2417 - 24 มกราคม 2508) นายกรัฐมนตรีอังกฤษ โดยเขาได้ให้คนอังกฤษทั้งประเทศยืนหยัดต่อสู้กับเยอรมนี จนเขาสามารถทำให้อังกฤษชนะสงครามโลกครั้งนี้ได้ในที่สุด
- จอมพล เบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี (Bernard Montgomery, 1st Viscount Montgomery of Alamein) (17 พฤศจิกายน 2430 - 24 มีนาคม 2519) มอนต์โกเมอรี่เกิดที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เขารับราชการทหารตั้งแต่ปี 2451 ขณะมีอายุ 21 ปี และทำงานในกองทัพนานถึง 50 ปี เขาเป็นผู้บัญชาการทหารของอังกฤษ และเป็นผู้บังคับบัญชาการที่บัญชาการรบที่ทำให้ทหารพันธมิตรได้ชัยชนะในหลายสมรภูมิเช่น ยุทธการเอล-อาลาเมน การรบในตูนิเซีย การยกพลที่เกาะชิชิลี การยกพลที่แผ่นดินใหญ่ของอิตาลี การยกพลที่นอร์ม็องดีของฝรั่งเศส และการบุกข้ามแม่น้ำไรน์ของเยอรมนี มอนต์โกเมอรี่ได้ถึงแก่กรรมขณะมีอายุ 88 ปี
- จอมพล ฮาโรลด์ อเล็กซานเดอร์ (Harold Alexander, 1st Earl Alexander of Tunis) (10 ธันวาคม 2434 - 16 มิถุนายน 2512) จากแคนาดา
- จอมพล อลัน บรู๊ก (Alan Brooke, 1st Viscount Alanbrooke)
- จอมพล อาชิบาลด์ วาเวลล์ (Archibald Wavell, 1st Earl Wavell)
- จอมพล จอห์น เวเกอร์ (John Vereker, 6th Viscount Gort)
- พลเอก เคลาด์ ออเชนเลก (Claude Auchinleck)
- จอมพลอากาศ ชาร์ลี พอเทอ (Charles Portal, 1st Viscount Portal of Hungerford)
- พลอากาศเอก อาร์เธอร์ แฮร์ริส (Sir Arthur Harris, 1st Baronet)
- พลอากาศเอก ฮิวจ์ โดว์ดิง (Hugh Dowding, 1st Baron Dowding)
- จอมพลเรือ แอนดรูว์ คันนิงแฮม (Andrew Cunningham, 1st Viscount Cunningham of Hyndhope)
- จอมพลเรือ หลุยส์ เมานต์แบ็ตเทน เอิร์ลเมานต์แบ็ตเทนที่ 1 แห่งพม่า (Louis Mountbatten, 1st Earl Mountbatten of Burma) เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรแห่งกองบัญชาการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างปี พ.ศ. 2486-2488
- จอมพลเรือ ดูลลี่ ปอน (Dudley Pound)
- จอมพลเรือ เจมส์ ซอเมอร์วิลล์ (James Somerville)
สหภาพโซเวียต
[แก้]- จอมทัพ โจเซฟ สตาลิน (Joseph Stalin) (18 ธันวาคม 2421 - 5 มีนาคม 2496) โจเซฟ สตาลิน เกิดที่เมือง Gori สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย เขาดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์และดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหภาพโซเวียตทันทีที่ ื้ ซึ่งเขาได้ครอบครองอำนาจเหนือสหภาพโซเวียตยาวนานเกือบ 30 ปี ในสมัยที่สตาลินดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ได้มีการสังหารพลเรือนไปมากถึง 20 ล้านคน และในปี พ.ศ. 2476 มีชาวยูเครนเสียชีวิตถึง 7 ล้านคน ซึ่งชาวยูเครนส่วนใหญ่เสียชีวิตจากการขาดแคลนอาหาร และสตาลินยังเป็นผู้ที่ทำให้สหภาพโซเวียตมีชัยชนะเหนือนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งนี้อีกด้วยและเขาถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2496 ขณะมีอายุ 74 ปี เขาถึงแก่กรรมเนื่องจากทะเลาะกับ นิกิตา ครุสซอฟ อย่างรุนแรง ซึ่งครุสซอฟ ได้เป็นผู้นำสหภาพโซเวียตต่อจากสตาลิน โดยครุสซอฟได้มีการเปิดเผยรายละเอียดและสิ่งที่สตาลินเคยทำเอาไว้กับสหภาพโซเวียตในอดีต และได้สั่งทำลายรูปปั้นของเขาลง
- นายพล เกออร์กี จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov) (1 ธันวาคม 2439 - 18 มิถุนายน 2517) เขาทำงานในกองทัพตั้งแต่ปี 2458 จนถึงปี 2500 เขาเป็นผู้บัญชาการของกองทัพแดงในการโต้ตอบกองทัพนาซีเยอรมันในยุทธการที่สตาลินกราด และเขายังสามารถทำให้กองทัพโซเวียตได้ชัยชนะในยุทธการเคิร์สและเขายังทำให้กองทัพโซเวียตสามารถยึดครองกรุงเบอร์ลิน นครหลวงของเยอรมนีได้
- นายพล คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี (Konstantin Rokossovsky) (21 ธันวาคม 2439 - 3 สิงหาคม 2511) เขาทำงานในกองทัพจักรวรรดิรัสเซียในปี 2457- 2460 ในกองทัพสหภาพโซเวียต 2460-2492 เป็นผู้บัญชาการกองทัพโปแลนด์ 2492-2499 และกลับมาสหภาพโซเวียตอีกครั้งหนึ่งในปี 2499-2511 เขาเป็นนายพลที่รับใช้กองทัพโซเวียตจนกระทั่งเสียชีวิตในปี 2511 ด้วยอายุ 71 ปี
- นายพล อะเลคซันดร์ วาซีเลฟสกี (Aleksandr Mikhaylovich Vasilevsky) (30 กันยายน 2438 - 5 ธันวาคม 2520) เขาทำงานให้กับกองทัพจักรวรรดิรัสเซียในปี 2458- 2460 กองทัพของสหภาพโซเวียต 2460-2502 โดยเขาได้ทำการวางแผนการรบร่วมกับ นายพลกอร์กี้ ชูคอฟ ในการตอบโต้กองทัพเยอรมนีและเขาได้ออกจากองทัพในปี พ.ศ. 2502
- นายพล วาซีลี ชุยคอฟ (Vasily Ivanovich Chuikov) (12 กุมภาพันธ์ 2443 - 18 มีนาคม 2525) เขามีส่วนเกี่ยวข้องกับการปฏิวัติในรัสเซียเมื่อปี 2460 และเขาเป็นผู้ที่ทำให้กองทัพโซเวียตได้ชัยชนะในการรบที่ยุทธการสตาลินกราด
- นายพล อีวาน โคเนฟ (28 ธันวาคม 2440 - 21 พฤษภาคม 2516) เขาเป็นผู้บัญชาการกองทัพแดงของโซเวียตและยังเป็นคนที่อยู่เบื้องหลังของการปราบปรามการก่อกบฏในฮังการีในปี พ.ศ. 2499
- นายพล เลโอนิต โกโวลอฟ (22 กุมภาพันธ์ 2440 - 19 มีนาคม 2498) เขาทำงานให้กับกองทัพแดงเมื่อปี พ.ศ. 2463 โดยเขาได้เป็นผู้บัญชาการกองทัพแดงในการต้านกับกองทัพเยอรมนีที่กรุงเลนินกราด ซึ่งกรุงเลนินกราดได้ถูกกองทัพฝ่ายอักษะล้อมไว้นานกว่า 900 วัน ก็ยังไม่สามารถที่จะตีแตกได้
- นายพล เซมิออน ตีโมเชนโค (Semyon Konstantinovich Timoshenko) (18 กุมภาพันธ์ 2438 - 31 มีนาคม 2513)
- นายพล นีโคไล บุลกานิน (Nikolai Fyodorovich Vatutin) (16 ธันวาคม 2444 - 14 เมษายน 2487)
- นายพล วาซีลี โซโคลอฟสกี (Vasily Danilovich Sokolovsky) (21 กรกฎาคม 2440 - 10 พฤษภาคม 2511)
- นายพล คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ (4 กุมภาพันธ์ 2424 - 2 ธันวาคม 2512)
- นายพล ดมิลีร์ ลีไลยูเชนโก
- นายพล อเล็กสกี้ แอนโทนอฟ
- นายพล อิวาน เฟดยุนนินสกี้
- นายพล วาเลเรียน โฟรลอฟ
- นายพล วาซิลลี่ กอร์ดอฟ
- นายพล มิคาอิล คีร์โพนอส
- นายพล พาเวล ไลบัลโก
- นายพลเรือ นิโคเลย์ คูเนสซอฟ (Nikolay Gerasimovich Kuznetsov) (24 กรกฎาคม 2447 - 6 ธันวาคม 2517) เริ่มเขาทำงานในกองทัพเรือโซเวียตเมือปี พ.ศ. 2463-2499 ต่อมาเขาได้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองทัพเรือโซเวียตในปี พ.ศ. 2484 ในการปฏิบัติการต่อสู้กับกองทัพนาซีเยอรมัน ร่วมกันกับ นายพล กอร์กี้ ชูคอฟ และ นายพล เซมโยน ทิโมเชนโก
- พลเรือเอก อิวาน ยูมาเชฟ (Ivan Stepanovich Yumashev) (9 ตุลาคม 2438 - 2 กันยายน 2515)
- พลเรือเอก วลาดิเมียร์ ตริบุคต์ (Vladimir Filippovich Tributs) (28 กรกฎาคม 2443 - 30 สิงหาคม 2520)
ฝรั่งเศส
[แก้]- พลจัตวา ชาร์ล เดอ โกล (Charles de Gaulle) ผู้นำของฝรั่งเศส เขาได้ถูกนายเรโนด์ นายกรัฐมนตรีของฝรั่งเศสในสมัยนั้น ส่งไปราชการทหารที่ลอนดอนในวันที่ 5 มิถุนายน 2483 พอหลังจากฝรั่งเศสได้พ่ายแพ้ต่อกองทัพนาซีแล้ว เขาได้ประกาศให้ชาวฝรั่งเศสทำการต่อสู้กับผู้รุกรานต่อไป และหลังสงครามสงบลง เขาได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส
- พลเอก ฌ็อง เดอ ลัทร์ เดอ ตาซีญี (Jean de Lattre de Tassigny)
- จอมพล นายอัลฟงซ์ จูน (Alphonse Juin)
- นายพลทหารบก มอริซ กาเมแลง (Maurice Gamelin)
- นายพลทหารบก แมกซิม เวแกน (Maxime Weygand)
- จอมพลเรือ ฟรานโก ดาลัน (François Darlan)
- นายพล อ็องรี ฌีโร (Henri Giraud)
- นายพล ฟิลิปเป้ เลอแคร์ เดอ ฮัวเตอร์เลอคัว (Philippe Leclerc de Hauteclocque)
- นายพล มาเรีย-ปีแยร์ โคนิก (Marie-Pierre Kœnig)
- นายพลทหารบก จอร์จ คาทรูซ์ (Georges Catroux)
จีน
[แก้]- จอมพลสูงสุด เจียง ไคเช็ก (Chiang Kai-shek) ผู้นำของสาธารณรัฐจีน
- นายพล หยาน ซีซาน (Yan Xishan) เป็นอดีตขุนศึกจากชานซีซึ่งต่อสู้รบร่วมกับเจียง ไคเชกในสงครามต่อต้านจีน
- นายพล เฉิน เฉิง (Chen Cheng) เป็นนายพลแห่งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน และนักการเมืองคนสำคัญในสภาทหารแห่งชาติ
- นายพล จาง เสฺวเหลียง (Zhang Xueliang)
- จอมพลแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จู เต๋อ (Zhu De) เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพสายที่ 8 และเป็นผู้นำทหารระดับสูงภายในพรรคคอมมิวนิสต์จีน
- นายพล เซฺว เยฺว่ (Xue Yue) เป็นนายพลแห่งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีนและผู้บัญชาการแห่งภูมิภาคทหารที่เก้า
- นายพล หลี่ ซ่งเริน (Li Zongren) เป็นอดีตขุนศึกจากกวางสีซึ่งต่อสู้รบร่วมกับเจียง ไคเชกในสงครามต่อต้านจีน
- นายพล ไป่ ฉงซี (Bai Chongxi) เป็นพันธมิตรใกล้ชิดของขุนศึกจากกวางสีนามว่า หลี่ ซ่งเริน และรองหัวหน้าเสนาธิการทหารของสภาทหารแห่งชาติ
- จอมพลเรือ เฉิน เชากวน (Chen Shaokuan)
- พลเรือเอก เฉิน ซี (Chen Ce)
- พลเรือเอก เสิ่น หงเล่ย (Shen Honglie)
ออสเตรเลีย
[แก้]- พลโท เวอร์นอน สเตอร์ดี้
- พลเอก โทมัส เบลมีย์
- พลโท เอ็ดมุนด์ เฮอร์ริง
- พลโท เลสลี่ มอร์เชด
- พลเรือโท จอห์น เกรกอรี เครซ
แคนาดา
[แก้]- พลเอก แฮร์รี่ เครราร์
- พลโท กาย ซิเมินดส์
- พลโท แอนดรูว์ แมคนอตัน
- พลอากาศโท จอร์จ ครอยล์
- พลอากาศเอก ลอยด์ ซามูเอล บรีดเนอร์
แอฟริกาใต้
[แก้]- พลตรี เอเวเรด พูล
- พลตรี แดน พีนาร์
- พลเอก จอร์จ บริงค์
- พลเอก เฮนดริค คลอปเปอร์
- พลตรี ไอแซก ปิแอร์ เดอ วิลเลิร์ส
- พลเรือตรี จอห์น เกรกอรี เครซ
นิวซีแลนด์
[แก้]- พลโท เบอร์นาร์ด เฟรย์เบิร์ก บารอนเฟรย์เบิร์กที่ 1
- พลอากาศเอก คีท พาร์ก
- พลอากาศโท โรเดอริค คารร์
โปแลนด์
[แก้]- จอมพล เอ็ดเวิร์ด ริดซ์ สมิกลี่
- พลเอก วลาดิสลาฟ ซีกอร์สกี
- พลเอก ววาดึสวัฟ แอนเดอร์
- จอมพล มิชาล โรลา-ซิมีแยร์สกี้
เนเธอร์แลนด์
[แก้]- พลเอก แฮ็นรี วิงเกิลมัน
- พลเรือโท คอนราด เฮลฟริช
ลักเซมเบิร์ก
[แก้]- นายเอมีล สเปลเลอร์
ยูโกสลาเวีย
[แก้]- พลเอกแห่งกองทัพ ดราฌา มิฮาอิลอวิช
- จอมพล ยอซีป บรอซ ตีโต
ฝ่ายอักษะ
[แก้]นาซีเยอรมัน
[แก้]- กองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์ (Oberkommando der Wehrmacht)
- ผู้บัญชาการสูงสุดแห่งแวร์มัคท์ (Oberste befehlshaber der Wehrmacht)
- ฟือเรอร์และนายกรัฐมนตรี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ปี 1935–1945)
- จอมพลเรือ คาร์ล เดอนิทซ์ (ปี 1945)
- หัวหน้ากองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์ (Chef des Oberkommandos der Wehrmacht) – เทียบเท่ารัฐมนตรีกลาโหม
- จอมพล วิลเฮล์ม ไคเทิล (ปี 1938–1945)
- เสนาธิการกิจการทหารแห่งแวร์มัคท์ (Chef des Wehrmachtführungsstabes der Wehrmacht)
- พลเอกอาวุโส อัลเฟรด โยเดิล (ปี 1939–1945)
- ผู้บัญชาการสูงสุดแห่งแวร์มัคท์ (Oberste befehlshaber der Wehrmacht)
- กองบัญชาการใหญ่กองทัพบก (Oberkommando des Heeres)
- ผู้บัญชาการใหญ่กองทัพบก (Oberbefehlshaber des Heeres)
- พลเอกอาวุโส แวร์เนอร์ ฟ็อน ฟริทช์ (ปี 1935–1938)[3]
- จอมพล วัลเทอร์ ฟ็อน เบราคิทช์ (ปี 1938–1941)[4]
- ฟือเรอร์และนายกรัฐมนตรี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ปี 1941–1945)
- จอมพล แฟร์ดีนันท์ เชอร์เนอร์ (ปี 1945)
- เสนาธิการกองทัพบก (Generalstabschef des Heeres)
- พลเอกทหารปืนใหญ่ ลูทวิช เบ็ค (ปี 1935–1938)
- พลเอกอาวุโส ฟรันทซ์ ฮัลเดอร์ (ปี 1938–1942)
- พลเอกอาวุโส ควร์ท ไซทซ์เลอร์ (ปี 1942–1944)
- พลโท อาด็อล์ฟ ฮ็อยซิงเงอร์ (ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง; กรกฎาคม 1944)
- พลเอกอาวุโส ไฮนทซ์ กูเดรีอัน (ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง; 1944–1945)
- พลเอกทหารราบ ฮันส์ เครพส์ (ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง; มีนาคม–พฤษภาคม 1945)
- จอมพล วิลเฮล์ม ไคเทิล (ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง; 1-13 พฤษภาคม 1945)
- พลเอกอาวุโส อัลเฟรท โยเดิล (ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง; 13-23 พฤษภาคม 1945)
- ผู้บัญชาการใหญ่กองทัพบก (Oberbefehlshaber des Heeres)
- กองบัญชาการใหญ่กองทัพเรือ (Oberkommando der Marine)
- ผู้บัญชาการใหญ่กองทัพเรือ (Oberbefehlshaber der Marine)
- จอมพลเรือ เอริช เรเดอร์ (ปี 1928–1943)
- จอมพลเรือ คาร์ล เดอนิทซ์ (ปี 1943–1945)
- พลเรือเอกอาวุโส ฮันส์-เกออร์ค ฟ็อน ฟรีเดอบวร์ค (ปี 1945)
- ผู้บัญชาการใหญ่กองทัพเรือ (Oberbefehlshaber der Marine)
- กองบัญชาการใหญ่กองทัพอากาศ (Oberkommando der Luftwaffe)
- ผู้บัญชาการใหญ่กองทัพอากาศ (Oberbefehlshaber der Luftwaffe)
- จอมพลไรช์ แฮร์มัน เกอริง (ปี 1935–1945)
- จอมพลอากาศ โรแบร์ท ฟ็อน ไกรม์ (ปี 1945)
- ผู้บัญชาการใหญ่กองทัพอากาศ (Oberbefehlshaber der Luftwaffe)
- กองทัพบกกลุ่มเหนือ (Heeresgruppe Nord)
- จอมพล เฟดอร์ ฟ็อน บ็อค
- จอมพล วิลเฮ็ล์ม ริทเทอร์ ฟ็อน เลพ
- จอมพล กึนเทอร์ ฟ็อน คลูเกอ
- จอมพล วัลเทอร์ โมเดิล
- พลเอกอาวุโส เกออร์ค ลินเดอมัน
- พลเอกอาวุโส โยฮันเนส ฟรีสเนอร์
- จอมพล แฟร์ดีนันท์ เชอร์เนอร์
- พลเอกอาวุโส โลทาร์ เร็นดูลิค
- กองทัพบกกลุ่มกลาง (Heeresgruppe Mitte)
- จอมพล เฟดอร์ ฟ็อน บ็อค
- จอมพล กึนเทอร์ ฟ็อน คลูเกอ
- จอมพล แอ็นสท์ บุช
- พลเอกอาวุโส วัลเทอร์ โมเดิล
- พลเอกอาวุโส เกออร์ค-ฮันส์ ไรน์ฮาร์ท
- พลเอกอาวุโส แฟร์ดีนันท์ เชอร์เนอร์
- กองทัพบกกลุ่มใต้ (Heeresgruppe Süd)
- จอมพล แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท
- จอมพล วัลเทอร์ ฟ็อน ไรเชอเนา
- จอมพล เฟดอร์ ฟ็อน บ็อค
- จอมพล มัคซีมีลีอาน ฟ็อน ไวชส์
- จอมพล เอริช ฟ็อน มันชไตน์
- พลเอกอาวุโส โยฮันเนส ฟรีสเนอร์
- พลเอกทหารราบ อ็อทโท เวอเลอร์
- กองทัพยานเกราะแอฟริกา (Panzerarmee Afrika)
- พลเอกอาวุโส แอร์วีน ร็อมเมิล
- พลเอกทหารยานเกราะ ลูทวิช ครือเว็ล
- จอมพล แอร์วีน ร็อมเมิล
- พลเอกทหารยานเกราะ เกออร์ค ชตุมเมอ
- จอมพล แอร์วีน ร็อมเมิล
- พลเอกทหารยานเกราะ กุสทัพ เฟน
- จอมพล แอร์วีน ร็อมเมิล
- พลเอกอาวุโส ฮันส์-เยือร์เกิน ฟ็อน อาร์นิม
- องค์การชุทซ์ชตัฟเฟิล (SS)
ราชอาณาจักรอิตาลี
[แก้]- พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี (11 พฤศจิกายน 2412 - 28 ธันวาคม 2490) พระมหากษัตริย์อิตาลี และประมุขสูงสุดของกองทัพอิตาลี
- สิบโท เบนิโต มุสโสลินี (Benito Mussolini) (29 กรกฎาคม 2426 - 28 เมษายน 2488) ผู้นำของอิตาลี ซึ่งเขาได้นำพาอิตาลีไปอยู่ฝ่ายเดียวกันกับนาซีเยอรมัน และก่อนสงครามสิ้นสุดลง เขากับภรรยาถูกฝ่ายคอมมิวนิสต์ลอบสังหารเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยศพของเขากับภรรยาถูกลากไปที่ Piazzale Loreto (มิลาน) และถูกห้อยหัวลงที่หน้าปั๊มน้ำมันแห่งหนึ่ง
- จอมพล ปีเอโตร บาโดลโย (28 กันยายน 2414 - 1 พฤศจิกายน 2499) จอมพลแห่งกองทัพอิตาลี หนึ่งในผู้นำกองทัพอิตาลีในสงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่สอง ลาออกจากตำแหน่งจอมพลหลังพ่ายแพ้ให้กรีซในปี พ.ศ. 2483 ในปี พ.ศ. 2486 ได้เป็นผู้มีส่วนร่วมในการจัดการให้อิตาลีลงนามในสนธิสัญญาสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตร และจัดตั้งรัฐบาลฝ่ายนิยมกษัตริย์ขึ้นในภาคใต้ของอิตาลี
- จอมพล โรดอลโฟ กราซีอานี (11 สิงหาคม 2425 - 11 มกราคม ค.ศ. 2498) จอมพลแห่งกองทัพอิตาลี หนึ่งในผู้นำกองทัพอิตาลีในสงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่สอง ต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการอาณานิคมแอฟริกาเหนือของอิตาลีและผู้ว่าการอาณานิคมลิเบียของอิตาลี หลังพ่ายแพ้ให้กับฝ่ายอังกฤษในการบุกอียิปต์ เขาจึงลาออกจากตำแหน่งดังกล่าวในปี พ.ศ. 2484 หลังมุสโสลินีสิ้นอำนาจจากการถูกรัฐประหาร พ.ศ. 2486 กราซีอานิยังคงเป็นนายทหารคนเดียวที่ยังคงภักดีต่อมุสโสลินี เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี และควบคุมกองทัพผสมอิตาลี-เยอรมนี "กองทัพลีกูเรียที่ 97" (LXXXXVII "Liguria" Army)
- จอมพล อูโก กาวัลเลโร (20 กันยายน 2423 - 13 กันยายน 2486) ผู้บัญชาการทหารบกแห่งกองทัพราชอาณาจักรอิตาลีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาได้นำทัพอิตาลีในการทำสงครามกับกรีซซึ่งประสบกับความล้มเหลว
- จอมพล โจวันนี เมสเซ (10 ธันวาคม 2426 - 18 ธันวาคม 2511) ผู้บัญชาการกองทัพน้อยของอิตาลีในรัสเซีย (Corpo di Spedizione Italiano in Russia, CSIR) กองกำลังดังกล่าวนี้ร่วมมือกับกองทัพนาซีเยอรมนีรบกับฝ่ายสหภาพโซเวียตในแนวรบด้านตะวันออก
- จอมพล เอ็ตทอร์ บัสติโก
- จอมพล เอมีลีโอ เด โบโน
- พลเอก มารีโอ โรอัตตา
- พลเอก อัลเฟรโด กุซโซนี
- พลเอก วิตโตริโอ แอมโบรซิโอ
- พลเอก จูเซปเป แคสเทลาโน
- พลเรือเอก อาร์ตูโร ริคาร์ดี (30 ตุลาคม 2421 - 20 ธันวาคม 2509) พลเรือเอกและผู้บัญชาการทหารเรือแห่งราชนาวีอิตาลีระหว่าง พ.ศ. 2483 - พ.ศ. 2486
- พลเรือเอก แอนเจโล่ ลาชิโน
- พลเรือเอก อินิโก แคมปิโอนี่
- พลเรือเอก จูเซปเป ฟิโอราวันโซ
- พลเรือเอก อัลแบร์โต ดา ซาร่า
- จอมพลอากาศ อิตาโล บัลโบ (6 มิถุนายน 2439 - 28 มิถุนายน 2483) ผู้บัญชาการทหารอากาศแห่งกองทัพอากาศราชอาณาจักรอิตาลีตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 1930 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2483 และเป็นผู้ควบคุมกองทัพที่ 10 ของอิตาลีในลิเบียตราบจนเสียชีวิต
- เสนาธิการทหารอากาศ รีโน คอร์โซ ฟูเรียร์
- เสนาธิการทหารอากาศ ฟรันเชสโก ปริโกโล
จักรวรรดิญี่ปุ่น
[แก้]- จักรพรรดิฮิโระฮิโตะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) ระหว่างสงครามทรงพระราชทานคำปรึกษาด้านนโยบายแก่ผู้นำทางทหาร ตลอดจนพระราชทานขวัญกำลังใจ
- พลเอก ฮิเดกิ โทโจ (30 ธันวาคม 2427 - 23 ธันวาคม 2491) นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น ภายหลังแพ้สงครามได้กระทำอัตวินิบาตกรรมแต่ไม่สำเร็จ และถูกพิจารณาคดีในฐานะอาชญากรสงคราม
- จอมพล ฮาจิเมะ ซูงิยามะ (1 มกราคม 2423 - 12 กันยายน 2488) จอมพลและเสนาธิการทหารบกของกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น ตั้งแต่ พ.ศ. 2483 – พ.ศ. 2487
- จอมพล เจ้าชายโคโตฮิโตะ คังอินโนะมิยะ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409 - 21 พฤษภาคม 2488) จอมพลและเสนาธิการกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น ตั้งแต่ พ.ศ. 2474 – พ.ศ. 2483
- จอมพล ฮิซาอิจิ เทราอุจิ
- จอมพล ชุนโรกุ ฮาตะ (26 กรกฎาคม 2422 - 10 พฤษภาคม 2505) จอมพลแห่งกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฮาตะเป็นผู้นำกองกำลังญี่ปุ่นระหว่างสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง
- พลเอก โคะเระชิกะ อะนะมิ (21 กุมภาพันธ์ 2430 - 15 สิงหาคม 2488) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสงคราม ภายหลังแพ้สงครามได้กระทำอัตวินิบาตกรรม
- จอมพลเรือ โอซามิ นางาโนะ (15 มิถุนายน 2423 - 5 มกราคม 2490) จอมพลเรือและหัวหน้าคณะกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ตั้งแต่ พ.ศ. 2484 – พ.ศ. 2487
- จอมพลเรือ เจ้าชายฮิโรยาซุ ฟูชิมิโนะมิยะ (16 ตุลาคม 2418 — 16 สิงหาคม 2489) จอมพลเรือและหัวหน้าคณะกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 – พ.ศ. 2484
- จอมพลเรือ อิโซโรกุ ยามาโมโตะ (4 เมษายน 2427 - 18 เมษายน 2486) ผู้บัญชาการกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น
- จอมพลเรือ มิเนอิจิ โคกะ
- พลเรือเอก ชูอิจิ นางูโมะ (25 มีนาคม 2430 - 6 กรกฎาคม 2487) ผู้บัญชาการกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามหลัก เช่น การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์, การทิ้งระเบิดดาร์วินและยุทธนาวีที่มิดเวย์ นางูโมะเป็นผู้นำกองกำลังญี่ปุ่นระหว่างยุทธการที่ไซปัน
- พลเรือเอก โซเอมุ โทโยดะ (22 พฤษภาคม 2428 - 22 กันยายน 2500) พลเรือเอกและผู้บัญชาการกองเรือผสมของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ตั้งแต่ พ.ศ. 2487 – พ.ศ. 2488
- พลเรือโท จิซาบุโร โอซาวะ
- พลเอก โคทาโร่ นากามูระ (28 สิงหาคม 2424 - 29 สิงหาคม 2490) ผู้บัญชาการกองทัพภาคตะวันออก (คันโต และ ฮนชู)
- พลเอก โทโมยูกิ ยามาชิตะ (8 พฤศจิกายน 2428 - 23 กุมภาพันธ์ 2489) ในยศพลโทเขานำกำลังเข้ายึดสิงคโปร์และมาลายาของอังกฤษ
- พลเอก อิวาเนะ มัตสึอิ
- พลเอก ทาดามิจิ คูริบายาชิ (7 กรกฎาคม 2434 - 23 มีนาคม 2488) ผู้นำกำลังเข้ายึดฮ่องกง และผู้บัญชาการในยุทธการที่อิโวะจิมะ
- พลโท ฮะรุกิชิ เฮียะกุตะเกะ (25 พฤษภาคม 2431 - 10 มีนาคม 2490) ผู้บัญชาการกองกำลังญี่ปุ่นที่นำกำลังเข้ายึดปาปัวนิวกินี และหมู่เกาะโดยรอบ
- พลโท อาเกโตะ นากามูระ (1 เมษายน ค.ศ. 2432 – 12 กันยายน 2509) ผู้บัญชาการกองทัพญี่ปุ่นประจำประเทศไทย เป็นนายพลระดับสูงเพียงไม่กี่คนที่รอดพ้นโทษประหาร
- พลโท โยะชิสึงุ ไซโต (2 พฤศจิกายน 2433 - 6 กรกฎาคม 2487) ผู้บัญชาการในยุทธการไซปัน
ราชอาณาจักรฮังการี
[แก้]- พลเอกอาวุโส กุสตาฟ ยานี
- พลเอกอาวุโส เดซโซ ลาสซโล
- พลเอกอาวุโส เกซา ลาคาตอส
- พลเอกอาวุโส ฟีเรนซ์ ซอมบาเธลี่
- พลเอกอาวุโส เบลา มิกลอส
- พลเอกอาวุโส อิวาน ฮินดี
- พันตรี แฟแร็นตส์ ซาลอชี
ราชอาณาจักรไทย
[แก้]- จอมพล ป. พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม 2440 - 11 มิถุนายน 2507) นายกรัฐมนตรีของไทย ผู้บัญชาการทหารบก การปกครองในสมัยนี้อยู่ภายในแนวคิดลัทธิชาตินิยมทางเศรษฐกิจและนโยบายการต่อต้านชาวจีน จอมพล ป. ได้ตัดสินใจนำไทยเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับจักรวรรดิญี่ปุ่นในปลายปี พ.ศ. 2484 และยอมให้ญี่ปุ่นใช้ไทยเป็นทางผ่านในการเคลื่อนทัพเข้าสู่พม่าและมลายา เขาได้ลาออกจากนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2487
- พลโท พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต
- พลเอก พจน์ พหลโยธิน
- พลโท จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม 2438 - 19 กรกฎาคม 2526) ผู้นำกองทัพพายัพเข้ารุกรานพม่ามีส่วนสำคัญในการก่อตั้งสหรัฐไทยเดิม
- พลโท จิร วิชิตสงคราม
- พลโท ผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม 2434 - 26 มกราคม 2516) ผู้บัญชาการกองพลที่ 3 แห่งกองทัพพายัพ ต่อมาได้เป็นรองแม่ทัพแห่งกองทัพพายัพ ภายหลังได้เป็นข้าหลวงทหารประจำสหรัฐไทยเดิม
- พลเรือเอก สินธุ์ กมลนาวิน
- นาวาเอก หลวงพร้อมวีระพันธ์
- นาวาตรี ชั้น สิงหชาญ
- เรือเอก ประทิน ไชยปัญญา
- นาวาตรี ใบ เทศนะสดับ
- เรือเอก กระวิน ธรรมพิทักษ์
- พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์
- พลอากาศโท บุญเจียม โกมลมิศร์
- พลอากาศโท กาพย์ ทัตตานนท์
- นาวาอากาศตรี หม่อมหลวงประวาศ ชุมสาย
- เรืออากาศเอก คำรบ เปล่งขำ
- เรืออากาศเอก เทอดศักดิ์ วรทรัพย์
- พลอากาศตรี ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี
- นาวาอากาศตรี เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร
ราชอาณาจักรโรมาเนีย
[แก้]- จอมพล อียอน อันตอเนสกู (14 มิถุนายน 2425 - 1 มิถุนายน 2489) นายกรัฐมนตรีของโรมาเนีย
- พลเอก ปีเตอร์ ดูมิเทรสคู
- พลเอก คอนสแตนติน คอนสแตนติเนสคู-คลาปส์
- พลเอก จอร์จ อัฟราเมสคู
- พลเอก ไอออน มิเฮล ราโควิตซา
- พลเอก วาซิล อตานาซิอู
- พลเอก มิเฮล ลาสการ์
- พลเอก คอนสแตนติน ซานาเทสคู
- พลโท คอนสแตนติน นิโคเลสคู
- พลโท คอร์เนลู ดรากาลิน่า
- พลตรี ไอออน ดูมิตราเช
- พลตรี จอร์จ มาโนลิอู
- พลจัตวา ดูมิทรู ดามาเซียนู
- พลจัตวา คอร์เนลู เตโอโดรินี่
ราชอาณาจักรบัลแกเรีย
[แก้]- พันตรี สโตยาน สโตยานอฟ
- พลเอกอาวุโส วลาดิมีร์ สตอยเชฟ
สโลวาเกีย
[แก้]- พลตรี เฟอร์ดินานด์ ชัตลอช
อื่น ๆ
[แก้]ฟินแลนด์
[แก้]- จอมพล คาร์ล กุสตาฟ เอมิล มันเนอร์เฮม
- พลโท รูเบน ลากุส
- พลเอก เอริค เฮนริชส์
- พลเอก วิลโฮ เพตเตอร์ เนะโนะเน็น
- พลเอก ปาโว ตัลเวลา
พม่า
[แก้]- พลตรี อองซาน
ยูเครน
[แก้]- พลเอก โรมัน ชูเควิช
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อTOCTWW2
- ↑ "Fleet Admiral Halsey Jr Profile at Naval Historical center". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-12-07. สืบค้นเมื่อ 2007-01-03.
- ↑ Megargee 2000, pp. 20, 42.
- ↑ Megargee 2000, pp. 42.