ยุทธการที่ประจวบคีรีขันธ์
หน้าตา
ยุทธการที่ประจวบคีรีขันธ์ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ การบุกครองไทยของญี่ปุ่น | |||||||
ฉากจำลองการรบที่อ่าวมะนาว จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดแสดงที่อนุสรณ์สถานแห่งชาติ อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ราชอาณาจักรไทย, กองบินน้อยที่ 5 | จักรวรรดิญี่ปุ่น, กรมทหารราบที่ 143 | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
น.ต. ม.ล. ประวาศ ชุมสาย | พ.ต. คิโซโยชิ อุตสึโนมิยะ | ||||||
กำลัง | |||||||
ประมาณ 130 นาย | ประมาณ 1,000 นาย | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
เสียชีวิต 42 นาย บาดเจ็บ 27 นาย เครื่องบินถูกทำลาย 3 ลำ |
เสียชีวิต 417 นาย บาดเจ็บ 300+ นาย |
ยุทธการที่ประจวบคีรีขันธ์เป็นการสู้รบในช่วงต้นของการบุกครองไทยของญี่ปุ่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการสู้รบ เมื่อวันที่ 8-9 ธันวาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) ได้เกิดขึ้นที่สนามบินของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในประเทศไทย, บริเวณชายฝั่งของอ่าวไทยตามแนวของคอคอดกระ ญี่ปุ่นมีความตั้งใจจะใช้ประเทศไทยเป็นฐานทัพในการโจมตีดินแดนอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษในพม่าและมาลายา โดยได้มีการติดต่อไปทางกระทรวงต่างประเทศ ณ ขณะนั้นถึงแผนการในการโจมตี แต่ไม่ได้มีการออกคำสั่งใดๆ จากผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย แต่หลังจากสู้รบไประยะเวลาหนึ่ง จอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ได้ออกคำสั่งหยุดยิงในเช้าวันต่อมา
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "The battle of Ao Manao 1941" (Blog). Tour Bangkok Legacies. 2010-08-30. Retrieved 8 December 2016.
- http://www.tour-bangkok-legacies.com/Bangkok_Travelbug-September10.html#prachuap
- Karnjanatawe, Karnjana (2014-07-24). "Bay watch". Bangkok Post. Retrieved 8 December 2016.
หมวดหมู่:
- ยุทธการที่ประจวบคีรีขันธ์
- การบุกครองไทยของญี่ปุ่น
- สงครามแปซิฟิก
- ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง
- ยุทธการในสงครามโลกครั้งที่สองเกี่ยวข้องกับไทย
- ยุทธการในสงครามโลกครั้งที่สองเกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
- ประวัติศาสตร์ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- ประวัติศาสตร์การทหารของไทยระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
- ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2484
- เหตุการณ์ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484
- บทความเกี่ยวกับ การทหาร ที่ยังไม่สมบูรณ์
- บทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์