ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอุดรธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุดรธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

11 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน759,585
ผู้ใช้สิทธิ64.85%
  First party Second party Third party
 
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
Siddhi Savetsila (1980).jpg
Narong Wongwan.jpg
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล สิทธิ เศวตศิลา ณรงค์ วงศ์วรรณ
พรรค ประชาธิปัตย์ กิจสังคม รวมไทย (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 2 4 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 2
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง2 เพิ่มขึ้น2

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Kriangsak Chomanan 1976.jpg
Prasert Subsunthorn.jpg
Tianchai Sirisampan.jpg
ผู้นำ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เทียนชัย สิริสัมพันธ์
พรรค ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) แรงงานประชาธิปไตย ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Seventh party
 
Chatichai Choonhavan.jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 3
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 11 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1, 2 และ 3) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 4)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุดรธานี, อำเภอเพ็ญ และกิ่งอำเภอสร้างคอม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุดรธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย (4)✔ 49,144
แรงงานประชาธิปไตย พันเอก สมคิด ศรีสังคม (28)✔ 30,413
ประชาธิปัตย์ ทองสวย สหัสทัศน์ (15) 30,008
ประชาธิปัตย์ เตือนใจ นุอุปละ (13)* 29,294
ชาติไทย วิเชียร เวชสวรรค์ (1)* 22,967
สหประชาธิปไตย พิชา วิจิตรศิลป์ (22) 18,294
พลังใหม่ ประยูร สุรนิวงศ์ (25)* 15,193
ประชาธิปัตย์ ชอบ สุขเกษม (14) 12,990
แรงงานประชาธิปไตย ศรัณย์ ปุญญพิทักษ์ (29) 12,818
แรงงานประชาธิปไตย ทองเจือ โฆษิต (30) 11,927
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จ่าสิบตำรวจ นุกูล ทิพย์อักษร (12) 5,364
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พันตรี สุรทักษ์ ทักษิณบุตร (11) 4,430
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) บุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ (7)✔ 3,442
กิจสังคม ธานี บุญคุ้ม (31) 3,408
กิจสังคม นิศาชล ภู่นาค (32) 3,352
สหประชาธิปไตย สมเกียรติ ภักษาหาร (23) 3,099
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จิตต์ ภักดี (10) 2,800
ชาติไทย เจน เดชจุ้ย (2) 2,782
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สมใจ กิ่งมิ่งแฮ (18) 2,630
ชาติไทย อำนวยพร นิลศิริ (3) 2,600
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมศักดิ์ บัวรัตน์ (5) 2,331
กิจประชาคม ผล คลังทรัพย์ (34) 1,960
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สมยศ ทัตตินาพานิช (9) 1,949
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) โอฬาร โอฬารรัตน์ (17) 1,830
สหประชาธิปไตย ร้อยตรี สมชาย จินดาภู (24) 1,757
พลังใหม่ ล้วน เหล็กกล้า (27) 1,628
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ปราโมทย์ เริ่มยินดี (16) 1,547
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ทวนชัย จุลละสุวรรณ (38) 1,258
พลังใหม่ วิเศษ คำเชียงตา (26) 1,171
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) จรูญพันธ์ จรูญพงษ์ (8) 1,098
กิจสังคม ไพโรจน์ เชิดชัยภูมิ (33) 1,071
รวมไทย (พ.ศ. 2529) จันทบาล อายุวัฒน์ (6) 1,065
กิจประชาคม ทองคำ เย็นวัฒนา (35) 987
มวลชน ประจักษ์ เขียมรัมย์ (19) 921
รักไทย ชัยรัตน์ เขื่อนพงษ์ (40) 894
มวลชน ซุย ปลอบรัมย์ (20) 703
มวลชน ตัง อักษรณรงค์ (21) 654
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เครือเทศ อ้นสนกราน (39) 464
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) มรกต วรรณวงศ์ (37) 344
กิจประชาคม สัมฤทธิ์ ปัสสุวรรณ (36) 258
รักไทย ภูมิชัย วรามิตร (42) 212
รักไทย กมล วรามิตร (41) 159
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
แรงงานประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหนองบัวลำภู, อำเภอกุดจับ, อำเภอน้ำโสม, อำเภอบ้านผือ, อำเภอนากลาง และอำเภอสุวรรณคูหา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุดรธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมภาพ ศรีวรขาน (1) 44,373
ประชาธิปัตย์ ไตรภพ เมาะราษี (6) 38,252
ประชาธิปัตย์ ดิเรก หลักคำ (4)✔ 34,461
กิจสังคม สุรชาติ ชำนาญศิลป์ (24)* 34,277
ชาติไทย กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ (7)* 32,519
ประชาธิปัตย์ ปุ่น เรืองทิพย์ (5) 25,665
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จำนง พันธุมโน (3) 17,034
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พีรเดช ศรีสารคาม (2) 16,901
กิจสังคม โชคสมาน สีลาวงษ์ (22) 13,878
สหประชาธิปไตย สุพรรณ สุปัญญา (19)* 11,963
กิจสังคม อุดม ผลธุระ (23) 11,866
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ประหยัด จันทร์ชมภู (10) 7,609
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ถาวร มงคลเคหา (13) 6,231
ประชากรไทย สุบิน แม้นศิริ (17) 5,553
สหประชาธิปไตย บุญมา พรหมเทพ (20) 5,511
พลังใหม่ ดำรง คำภักดี (37) 5,102
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จตุรพงศ์ สุวรรณวิเศษ (14) 4,528
ประชากรไทย วิจิตร สนิทวงศ์ชัย (16) 4,045
ชาติไทย เผด็จ โยธะผล (8) 2,964
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เกื้อ ไขยคีนี (15) 2,949
แรงงานประชาธิปไตย จันทรา นุชิต (30) 2,809
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) แก้ว รักสุจริต (34) 2,722
ชาติไทย สุริยนต์ ศรีสวัสดิ์ (9) 2,115
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) โกเศศ ศรีลาวัณย์ (12) 2,114
แรงงานประชาธิปไตย เจียม เลิศเสนีย์ (29) 1,479
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สุริยันต์ อนันตโสภณ (11) 1,427
มวลชน เส็ง พินทอง (25) 1,336
ประชากรไทย สท้าน สุนนท์ชัย (18) 1,313
พลังใหม่ ปาจริยา สุรนิวงศ์ (38) 1,297
สหประชาธิปไตย จุนเจริญ หลักหาญ (21) 1,194
มวลชน ธีรนันท์ เขียมรัมย์ (27) 1,053
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมถวิล บุญญสัมพันธ์ (32) 1,015
พลังใหม่ ธรรมรักษ์ สอนเฒ่า (39) 922
แรงงานประชาธิปไตย ปาน ไชยสุข (28) 917
กิจประชาคม จ่าสิบเอก บัณฑิต ป้านภูมิ (42) 771
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ร้อยเอก วีระสูรย์ บุญละคร (35) 744
มวลชน คำภู พานิช (26) 677
รวมไทย (พ.ศ. 2529) จ่าสิบเอก เกษม บุญกว้าง (31) 656
กิจประชาคม บรรจง ทรงจำ (40) 623
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สุรพล อุตชี (36) 556
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ดาบตำรวจ ทองดี จันทรคร (33) 500
รักไทย พงษ์เทพ สุวรรณ (44) 382
รักไทย ไพฑูรย์ บุญล้ำ (45) 319
รักไทย เทเวทย์ ยอดตา (43) 255
กิจประชาคม ธนา ศรีพรอินทร์ (41) 229
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอกุมภวาปี, อำเภอศรีธาตุ, อำเภอวังสามหมอ, อำเภอหนองหาน, อำเภอบ้านดุง, กิ่งอำเภอทุ่งฝน และกิ่งอำเภอไชยวาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุดรธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ประจวบ ไชยสาส์น (13)* 60,548
กิจสังคม ประสพ บุษราคัม (10)* 57,088
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) จำรัส มัฆนาโส (5) 49,010
กิจสังคม ไชยยศ จิรเมธากร (11) 37,990
ประชาธิปัตย์ วิบูลย์ แช่มชื่น (14) 35,865
ประชาธิปัตย์ วิชัย เอี่ยมวงศ์ (15) 34,460
กิจสังคม ขจิตร ชัยนิคม (12) 32,977
กิจประชาคม สุรยุทธ กิติราช (1)✔ 17,801
ชาติไทย วุฒิชัย แสนประสิทธิ์ (7)✔ 12,493
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มาณพ บุตรดาจักร (16) 10,560
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สา จันทรเสนา (6) 5,109
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ชนินทรศักดิ์ ประภาษา (4) 3,906
ชาติไทย คำผง แก้วเกิดมี (8) 3,810
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อุดร คำดา (17) 3,508
กิจประชาคม สวาสดิ์ รัตนศรีวงษ์ (2) 3,014
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จ่าสิบเอก เฉลิมพล เฉลิมวุฒิพงษ์ (19) 2,702
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พงษ์ศักดิ์ จันทรวงศ์ (18) 2,170
กิจประชาคม เจริญฤทธิ์ ป้อมเชียงพิณ (3) 2,117
ชาติไทย ธนพงศ์ เศรษฐวิวรรธน์ (9) 2,004
แรงงานประชาธิปไตย สมเพชร บุตรโยธี (31) 1,712
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) มั่น ละโป้ (20) 1,571
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พิศิษฐ์ ทรัพย์สมาน (40) 1,350
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เชิด จันทรศาลทูล (25) 1,307
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พันโท วีระ ยุทธพงษ์ (28) 1,126
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ศุภชัย นิติการ (41) 1,110
แรงงานประชาธิปไตย สง่า พงษ์จันทร์ (33) 916
พลังใหม่ นิพนธ์ นรากุล (35) 913
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สมบัติ หาญเจริญ (42) 793
มวลชน ส่ง ตั้งประโคน (23) 763
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ทองคำ พลสิมมา (21) 724
แรงงานประชาธิปไตย สถิตย์ ศรีสร้างคอม (32) 702
ประชากรไทย มโน รัตนานุพงศ์ (43) 693
มวลชน บุญธูป เพิ่มพร้อม (24) 612
พลังใหม่ อุดมศักดิ์ นาอุดม (34) 602
ประชากรไทย เกรียงศักดิ์ รัตนานุพงษ์ (45) 568
ประชากรไทย ธีรพล รัตนานุพงศ์ (44) 523
มวลชน ทรัพย์ อักษรณรงค์ (22) 401
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นพดล พิมพ์นนท์ (30) 368
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมคิด กล้าหาญ (26) 252
รักไทย เสาร์ นพเก้า (37) 222
พลังใหม่ เฉลิมศิลป์ ชุ่มวงษ์ (36) 202
รักไทย กัณหา วิชัย (38) 185
รวมไทย (พ.ศ. 2529) คณิต ชาหอมชื่น (27) 174
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประทีป นามบุตร (29) 171
รักไทย จ่าสิบเอก สำรอง ส.จุฑามณี (39) 120
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอศรีบุญเรือง, อำเภอโนนสัง, อำเภอโนนสะอาด, อำเภอหนองวัวซอ และกิ่งอำเภอหนองแสง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุดรธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม รักเกียรติ สุขธนะ (7)* 28,050
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ (13)* 24,138
ประชาธิปัตย์ ว่าที่ร้อยตรี สรชาติ สุวรรณพรหม (4) 22,101
กิจสังคม ทองเลี่ยม แสนโท (8) 14,837
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ มหาเพชร (3) 13,847
กิจประชาคม ปั่น ชุมคำน้อย (5) 11,561
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เข็มทอง บุญสูงเนิน (21) 10,898
ประชากรไทย สม วาสนา (1)✔ 4,903
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) บุญเลี้ยง ภูนามูล (22) 3,543
ประชากรไทย เที่ยงธรรม อุปนันท์ (2) 2,358
กิจประชาคม สมัย ศิริผลา (6) 1,741
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญรวม จิตรคาม (14) 1,533
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ปุ่น บุตรดา (12) 1,440
รักไทย ประดิษฐ์ พลเยี่ยม (17) 442
พลังใหม่ บรรจง โคตรวงศ์ (19) 422
มวลชน เสน่ห์ สลุบพล (9) 417
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ร้อยเอก วิชิต นิลพัฒน์ (11) 346
พลังใหม่ สุทัศน์ ศิริโยธา (20) 341
แรงงานประชาธิปไตย มานิตย์ จำเริญ (15) 182
แรงงานประชาธิปไตย กิตติศักดิ์ พรหมทะสาร (16) 180
มวลชน บุญยัง ขีรัมย์ (10) 150
รักไทย ทรงพล ทรงจำ (18) 125
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530