ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดระยองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดระยองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน198,069
ผู้ใช้สิทธิ58.36%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ พิชัย รัตตกุล เทียนชัย ศิริสัมพันธ์
พรรค สหประชาธิปไตย ประชาธิปัตย์ ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ชาติไทย กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดระยองทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดระยอง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สหประชาธิปไตย สมศักดิ์ ชาญด้วยกิจ (16) 42,059
ประชาธิปัตย์ เสริมศักดิ์ การุญ (10)* 41,681
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พลโท ฉลอม วิสมล (7) 38,739
กิจสังคม สิน กุมภะ (13)* 36,056
กิจสังคม หอม ทองประเสริฐ (14)* 34,958
ชาติประชาธิปไตย อุทัย สอนหลักทรัพย์ (1) 29,769
ชาติไทย สุวัฒน์ ยมจินดา (4) 20,261
ชาติประชาธิปไตย สมลักษณ์ นพเกตุ (2) 17,950
ประชาธิปัตย์ วิชัย สมาธิวัฒน์ (12) 10,453
ประชาธิปัตย์ คำนึง อัมพรมหา (11) 8,480
กิจสังคม สุรัตน์ อาริยะกุล (15) 5,138
สหประชาธิปไตย เพชร เอกกำลังกุล (18) 1,774
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สวาท ชมภูพล (8) 1,430
สหประชาธิปไตย ร้อยตรี ดิเรก อนันตสาคร (17) 1,294
ชาติประชาธิปไตย เพียรเลิศ กลิ่นสุคนธ์ (3) 1,129
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เดชนันท์ แจ่มกระจ่าง (9) 1,043
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ทำนอง รุจีนิมิตร (30) 905
ชาติไทย กำธร คมสัน (6) 815
ชาติไทย วัชรินทร์ กุลเที่ยง (5) 815
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุทัศน์ วิเวโก (29) 387
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จักรี โสภณ (28) 309
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประนอม นาวีวงษ์พนิต (26) 279
มวลชน ทรงศักดิ์ ร่มรื่น (24) 180
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประเสริฐ เผือกไทย (20) 158
มวลชน เทพฤทธิ์ ไชยเสน (23) 154
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อ๊อด มาลา (19) 139
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) น้อย มาลา (21) 127
มวลชน อภิสิทธิ์ สังฆนาคิน (22) 95
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จำเนียร เนียมศรี (27) 94
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อรัญ ไพเราะ (25) 76
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530