ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน208,391
ผู้ใช้สิทธิ58.11%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล สมัคร สุนทรเวช วัฒนา เขียววิมล
พรรค ประชาธิปัตย์ ประชากรไทย ประชาเสรี
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดจันทบุรีทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย วโรทัย ภิญญสาสน์ (13)* 68,664
ประชาธิปัตย์ ธวัชชัย อนามพงษ์ (4) 59,726
ประชาธิปัตย์ ประวัฒน์ อุตตะโมต (6) 52,662
ประชาธิปัตย์ สนิท เฟื่องประยูร (5) 45,396
ประชากรไทย ประหยัด ธรรมสาคร (15)✔ 44,967
ประชากรไทย ลดาวัลย์ ชนานิยม (14) 39,154
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สงกรานต์ บุญหยง (2) 8,372
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิรัตน์ ทศานนท์ (1) 3,536
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ดวง แรกตั้ง (16) 2,810
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อร่าม เนื่องความดี (3) 2,432
สหประชาธิปไตย สมาน ฤทธิ์เต็ม (12) 1,297
กิจสังคม ไพรินทร์ หนูมาก (7) 680
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อุไร หอมจันทร์ (17) 550
กิจสังคม สมจิตต์ รักษาพล (9) 506
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) บุญส่ง แจ่มจำรัส (24) 476
กิจสังคม ไพรินทร์ ไชยรักษ์ (8) 440
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมชาย วชิรประชาชน (23) 434
มวลชน ธีรินทร สุขสวัสดิ์ (20) 400
สหประชาธิปไตย บุญเกิด คำประกอบ (11) 394
มวลชน ศรีสุวรรณ์ จันทสีร์ (19) 322
สหประชาธิปไตย เฉลิม พนมศก (10) 300
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) รุ่งอรุณ หมันมนต์ (18) 229
มวลชน สุณีย์ เกรียงอุดม (21) 197
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อุไร ลิปปานนท์ (22) 186
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชาเสรี
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530