ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน308,747
ผู้ใช้สิทธิ54.05%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ บุญชู โรจนเสถียร
พรรค ประชาธิปัตย์ ราษฎร (พ.ศ. 2529) กิจประชาคม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ชาติไทย กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 3 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย และอำเภอเลาขวัญ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ คงศักดิ์ กลีบบัว (15) 41,217
ชาติไทย พลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์ (7)* 25,871
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วิเชียร จันทาภากุล (3) 23,064
กิจประชาคม พันตำรวจเอก เนรมิต คล้ายมณี (14) 11,871
ประชากรไทย พินิจ จันทร์สมบูรณ์ (5) 11,340
มวลชน จรัล ศศะสมิต (9) 10,367
ชาติไทย คนึงถึง สิงหพันธ์ (8) 9,933
ราษฎร (พ.ศ. 2529) บัญชา ศรีนครินทร์ (4) 2,502
ประชากรไทย พิพัฒน์ จันทร์สมบูรณ์ (6) 1,431
สหประชาธิปไตย ร้อยตรี ศุภสวัสดิ์ สายสวัสดิ์ (1) 1,418
ประชาธิปัตย์ สมหวัง อินทบุตร (16) 1,089
สหประชาธิปไตย ถกล แผ่ความดี (2) 720
กิจประชาคม กอบสิน ลักษมณาภา (13) 414
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ไพลิน อินทรวิจิตร (17) 355
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กิตติ ชำนาญชานันท์ (12) 335
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ดวงฤทัย พรหมวรางกูร (18) 230
มวลชน อาวุธ คัมภิรานนท์ (10) 228
รักไทย พันโท กาญจนะ แสงทอง (19) 220
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จำนงค์ พลอยสารักษ์ (11) 173
รักไทย พันจ่าอากาศเอก สมัคร ภมรบุตร (20) 161
ชาติประชาธิปไตย พงษ์ศักดิ์ ทองอำไพ (21) 102
ชาติประชาธิปไตย พรเทพ ลีวงศ์วัฒน์ (22) 93
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง และอำเภอท่ามะกา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมทรง จันทาภากุล (3)✔ 42,030
กิจประชาคม เรวัต สิรินุกุล (6)* 32,679
กิจประชาคม พลโท ชาญ อังศุโชติ (5)* 28,301
กิจสังคม ชวิน เป้าอารีย์ (1)✔ 27,852
ประชาธิปัตย์ เกรียงศักดิ์ กาญจนเกรียงไกร (7) 3,338
ประชาธิปัตย์ สมชาย สร้อยทอง (8) 3,015
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อารมย์ มังคละคีรี ณ นครพนม (4) 1,080
กิจสังคม อุดม ชัยพงษ์ (2) 969
ประชากรไทย จรัสชัย ซิบเข (20) 561
ประชากรไทย ประสาน เรืองแสง (19) 482
ชาติประชาธิปไตย จริยา เชี่ยวชาญ (15) 175
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เปลื่อง เชิดฉาย (9) 167
ชาติประชาธิปไตย เสฎฐกร ปุณกะบุตร (16) 131
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จีรวุฒิ อารมย์ (18) 107
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อัมพวัน รัตนภิรมย์ (14) 105
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) บุญให้ ทองวิเชียร (10) 89
มวลชน รังสรรค์ ทิพย์โยธิน (11) 71
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุวรรณี อารมย์ (17) 66
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อนินธิตา พัฒนแพทย์ (13) 62
มวลชน วิสูตร นรเศรษฐสถาพร (12) 58
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
กิจประชาคม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530