ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน408,660
ผู้ใช้สิทธิ75.49%
  First party Second party Third party
 
Narong Wongwan.jpg
บุญเท่ง ทองสวัสดิ์.jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ ประมาณ อดิเรกสาร
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529) สหประชาธิปไตย ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 2
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น2 ลดลง1

  Fourth party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองลำปาง, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ, อำเภองาว และกิ่งอำเภอเมืองปาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญหลง ถาคำฟู (1) 88,308
ชาติไทย สอาด ปิยวรรณ (16)* 81,752
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อำพล ศิริวัฒนกุล (2) 67,637
ชาติไทย ประสพ แสนคำเครือ (17) 63,698
ชาติไทย บุญเรือง ชุ่มอินทรจักร (18)✔ 59,451
สหประชาธิปไตย ชานนท์ สุวสิน (7) 33,582
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน (20)* 29,271
ประชาธิปัตย์ เล็ก พิชญกุล (10) 24,861
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วิชาญ แสนสร้อย (3) 12,802
ประชาธิปัตย์ ศิริศตวรรษ วรกุล (11) 7,374
ชาติประชาธิปไตย รำพึง เครือนวล (13) 5,840
สหประชาธิปไตย วิสูตร ทิพย์วิวัฒน์พจนา (8) 5,717
ประชาธิปัตย์ เจริญ บุณยโกศล (12) 5,522
ชาติประชาธิปไตย กิจจา วรกุล (15) 3,231
ชาติประชาธิปไตย ศรีอู๊ด โกสุโท (14) 2,843
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประยูร ภมรศิริ (4) 2,505
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประสาน พริงลำภู (6) 2,089
สหประชาธิปไตย สำเริง ปุ้ยตระกูล (9) 1,845
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพศาล เทวาพิทักษ์ (19) 1,545
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิชัย เอี่ยมอร่าม (5) 1,393
ราษฎร (พ.ศ. 2529) บรรยงค์ เมฆสกุล (21) 1,180
รักไทย สนั่น แสนจิตต์ (22) 936
รักไทย เชษฐ คติวัฒน์ (23) 512
รักไทย สุวิทย์ บุญศรี (24) 227
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอแม่ทะ, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก, อำเภอเสริมงาม และอำเภอแม่เมาะ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สหประชาธิปไตย พินิจ จันทรสุรินทร์ (6)* 88,324
สหประชาธิปไตย บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ (5)* 67,951
ประชากรไทย ดำรงค์ สดสี (3) 34,628
ชาติไทย สวัสดิ์ รัตนคำฟู (7) 29,591
ประชากรไทย สิงห์ จันทร์เกษม (4) 4,848
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประทีป แก้วศรีงาม (2) 1,850
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สิงหเดช อนันตสุข (1) 1,218
ชาติไทย ประสิทธิ์ ทองบำรุง (8) 1,129
รักไทย รังสรรค์ พรหมโลก (9) 674
รักไทย เรืองฤทธิ์ แสงจิตร (10) 436
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530