ข้ามไปเนื้อหา

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

36 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน2,877,979
ผู้ใช้สิทธิ38.13%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ สมัคร สุนทรเวช พิชัย รัตตกุล หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ประชากรไทย ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 22 10 4
ที่นั่งที่ชนะ 16 16 2
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง6 เพิ่มขึ้น6 ลดลง2

  Fourth party Fifth party
 
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร เฉลิม อยู่บำรุง
พรรค ชาติไทย มวลชน
ที่นั่งก่อนหน้า 0 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 12 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 36 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10เขต 11เขต 12

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยเขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย สมัคร สุนทรเวช (10)* 42,082
ประชากรไทย ลลิตา ฤกษ์สำราญ (11) 32,875
ประชากรไทย พลโท จิตรพล ณ ลำปาง (12)* 30,414
ประชาธิปัตย์ พันเอก ชาญบูรณ์ เพ็ญตระกูล (1) 23,799
ประชาธิปัตย์ พีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์ (2) 18,451
กิจสังคม พลโท วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ (16) 16,141
ประชาธิปัตย์ ไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ (3)✔ 15,556
มวลชน เรือเอก โอภาส ธรรมวานิช (5) 4,968
มวลชน ธรรมนูญ เทียนเงิน (4)✔ 3,359
กิจสังคม คำนึง ไหมทอง (17) 3,148
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พันเอก พัฒนา พยัคฆนิธิ (7) 2,964
กิจสังคม อุทัย ศรีพิทักษ์ (18) 2,589
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประเทศ รมยานนท์ (8)✔ 2,223
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประพันธ์ศักดิ์ กมลเพ็ชร (9) 1,998
มวลชน ศักดา พุกกะมาน (6) 1,961
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วชิระ เปล่งปลั่ง (13) 1,642
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พิมล สัตตบุศย์ (14) 1,545
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สนิท จองสกุล (15) 1,470
รักไทย จรรยา สุวรรณเดช (34) 572
สหประชาธิปไตย ชูเกียรติ ประมูลผล (19)* 431
สหประชาธิปไตย ณรงค์ บุญสิทธิ์ (21)✔ 352
รักไทย อรพัฒน์ วิเศษกุล (36) 320
รักไทย รัญจวน เร่บ้านเกาะ (35) 305
สหประชาธิปไตย ดิลก ศรีสมบูรณ์ (20) 302
พลังใหม่ สิบเอก เจนยุทธ จันทภาส (37) 184
รวมไทย (พ.ศ. 2529) นวลนิตย์ ตระกูลประดิษฐ์ (24) 160
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วารี โอสถานนท์ (29) 132
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สุพจน์ วงศ์สิงห์ (23) 131
แรงงานประชาธิปไตย มนัส พวงลำเจียก (32) 131
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญฤทธิ์ เกษสมัย (22) 125
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ชนินทร์ แสงศรีกล่อม (30) 113
แรงงานประชาธิปไตย วีระ ถนอมเลี้ยง (31) 109
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ผล ปริยัติ (28) 96
แรงงานประชาธิปไตย ถัด ศิริจันทโชติ (33) 96
พลังใหม่ อรัญ ศรีสลวย (38) 93
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เฉลิมศรี ดวงแก้ว (26) 91
พลังใหม่ พัฒน์กมล ครอบทอง (39) 88
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) รัชนี ทิพย์กนก (25) 86
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมจิตร์ ศรีม่วงงาม (27) 60
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยเขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (1)* 49,673
ประชาธิปัตย์ มารุต บุนนาค (7)* 40,869
กิจสังคม เกษม ศิริสัมพันธ์ (2)* 36,488
กิจสังคม ชลอ ธรรมศิริ (3) 33,977
ประชาธิปัตย์ หม่อมหลวงเสรี ปราโมช (8)* 33,268
ประชาธิปัตย์ คณิน บุญสุวรรณ (9)* 32,835
ประชากรไทย อดิศักดิ์ คำขันตี (4) 12,618
ประชากรไทย สมบูรณ์ เวสสุนทรเทพ (5) 12,204
ประชากรไทย ชาญชาย เหมวิทิตธรรม (6) 11,770
กิจประชาคม พิสิทธิ์ พัฒนะนุกิจ (10) 718
กิจประชาคม เถลิงชัย ลี้รัตน์ (11) 572
กิจประชาคม บุญธรรม พิกุลศรี (12) 519
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) จิรายุ ภูมิจิตร (20) 291
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อิทธิวุฒิ สุมงคล (21) 229
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นัฐ เสขะนันทน์ (19) 214
พลังใหม่ เทพหริศ ศิริรัตน์ (25) 170
พลังใหม่ จุล ชัยพินิจนรชาติ (27) 162
รักไทย ประพิณ สังขพงษ์ (29) 149
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ศิรินทร์ หมอระรื่น (17) 144
รักไทย ธวัช แก้วกูร (30) 137
พลังใหม่ ภูวนาถ เกษโรจน์ (26) 136
รักไทย มนูญ สุวรรณสัมฤทธิ์ (28) 126
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เฉิดพรรณ ป้องเจริญ (16) 121
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อุศนีย์ ทองสุกดี (18) 121
แรงงานประชาธิปไตย ยงยศ ปานเจริญ (22) 115
แรงงานประชาธิปไตย เสาร์ ศรีอุบล (23) 108
รวมไทย (พ.ศ. 2529) นิยม มีสมบูรณ์ (13) 101
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วันชัย กันตะสุวรรณ์ (14) 94
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สุรพล วงศ์วรรณดี (15) 87
แรงงานประชาธิปไตย เจริญศักดิ์ เตชานุเคราะห์ (24) 66
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยเขตพญาไท และเขตดุสิต (เฉพาะแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ร้อยโท ชวลิต เตชะไพบูลย์ (8) 23,916
ประชาธิปัตย์ เดโช สวนานนท์ (7) 23,671
ประชาธิปัตย์ เรืออากาศตรี ฉลาด วรฉัตร (9)* 21,802
ประชากรไทย วิจารณ์ ก้องสมุทร (1)✔ 21,410
ประชากรไทย เศรณี จินวาลา (2)* 20,767
ประชากรไทย สิทธิชาติ บุญมา (3) 19,666
กิจสังคม ชำนาญ คานเขต (13) 7,684
กิจประชาคม ศิระ ปัทมาคม (37)✔ 4,475
กิจสังคม ขวัญชัย ไชยธีระพันธ์ (15) 4,106
กิจสังคม วีระภัทร์ พรหมบุตร (14) 3,999
กิจประชาคม วิชาติ แสงกาญจนวนิช (39) 3,157
กิจประชาคม พัชนี ทองเรือง (38) 2,710
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จำลอง ทองดี (4) 2,396
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จำลอง ธรรมะ (6) 2,383
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จำลอง เชื้อวิวัฒน์ (5) 2,376
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สนั่น ศิลปบรรเลง (10)* 2,368
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พันโท อุดม เพ็ชรศิริ (11) 2,131
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ชลินทร์ เผ่าวิบูล (22)* 2,015
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชาคริต ศิลปบรรเลง (12) 1,948
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ทรงศักดิ ชื่นสนธิ์ (24) 1,666
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สมนึก จิตหยาดสุวรรณ์ (23) 1,214
แรงงานประชาธิปไตย ปิยะ กังวาล (19) 552
แรงงานประชาธิปไตย พัฒน์ มาตราช (20) 377
สหประชาธิปไตย บรรจง แขกเพ็ง (27) 364
แรงงานประชาธิปไตย อนุวรรตน์ กอเซ็มมูซอ (21) 355
สหประชาธิปไตย มงคล อติเปรมานนท์ (25) 318
สหประชาธิปไตย วรัญชัย โชคชนะ (26) 253
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ทิพา ถุงจันทร์ (17) 249
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ทรงวุฒิ วุฑฒวิภาต (18) 206
รักไทย วิลาศ สังขนันท์ (36) 200
รวมไทย (พ.ศ. 2529) โสภณ ชิตนุกูล (16) 185
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ละเอียด ดีสมสกุล (30) 158
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ทัศนีย์ วิเชียร (28) 134
พลังใหม่ ประภาส ภูช่างทอง (33) 131
พลังใหม่ วิฑูรย์ หลิมไชยกุล (32) 127
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วาสนา ดุษณีย์ (29) 125
รักไทย ประวัติ ตีสนิท (35) 117
พลังใหม่ สิงห์ชัย ธีราทร (31) 112
รักไทย วิญญา จิตราภิรมย์ (34) 103
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยเขตพระโขนง (ยกเว้นแขวงคลองตันและแขวงสวนหลวง) และเขตลาดกระบัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พิชัย รัตตกุล (4)* 51,415
ประชาธิปัตย์ เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ (5) 48,703
ประชากรไทย มงคล กิมสูนจันทร์ (3) 45,368
ประชาธิปัตย์ อาคม สรสุชาติ (6)* 44,572
ประชากรไทย สมาน ใจปราณี (2) 43,253
ประชากรไทย พิศาล ไชยชาญ (1)* 42,602
กิจสังคม เรือตรีหญิง สุรี บูรณธนิต (30) 4,219
กิจสังคม อัครพงศ์ สุขเจริญ (29) 2,133
กิจสังคม ปรารมย์ ลิมปะวัฒนะ (28) 2,120
กิจประชาคม เกียรติศักดิ์ เดชสมบูรณ์สุข (17) 1,520
กิจประชาคม อิทธิพล พินิจพรดิลก (16) 1,518
กิจประชาคม ชัยณรงค์ ธรรมกรบัญญัติ (18) 1,362
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วนิดา วงศ์โกสิตกุล (15)✔ 1,118
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สายรุ้ง กาวิลา (7) 1,046
รวมไทย (พ.ศ. 2529) กรองแก้ว วงศ์วิจารณ์ (8) 737
พลังใหม่ วิทย์วัฒน์ สุขุมกาญจนะ (26) 710
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พนิดา ธัญญเจริญ (9) 660
พลังใหม่ พายัพ ขำอาจ (25) 582
พลังใหม่ ศิวกร อุ่นอ่อน (27) 533
รักไทย ปนัดดา เภาพิจิตร (22) 445
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อารยะ พานิชกุล (13) 425
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วันเพ็ญ มีศรี (10) 378
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เยียม หลักฐาน (14) 351
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อนงค์ อวยพร (12) 350
แรงงานประชาธิปไตย สมชาติ กิจเสถียร (20) 328
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เจียมจิราวรรณ อยู่ศูนย์ตรง (11) 261
แรงงานประชาธิปไตย บุญทิ้ง รอดแก้ว (21) 245
แรงงานประชาธิปไตย เฉลิม มณีนาค (19) 241
รักไทย ร้อยเอก เต็มศักดิ์ ช่างหล่อ (23)✔ 183
รักไทย อนันต์ เจียมกิจวัฒนา (24) 137
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 5

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยเขตห้วยขวาง และเขตพระโขนง (เฉพาะแขวงคลองตันและแขวงคลองเตย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พิจิตต รัตตกุล (1)* 43,258
ประชาธิปัตย์ ปรีดา กนกนาค (2) 39,212
ประชาธิปัตย์ เปี่ยม ลิ่มทอง (3) 37,584
ประชากรไทย บุญเทียม เขมาภิรัตน์ (4)* 31,976
ประชากรไทย คุณหญิง กนก สามเสน วิล (5)* 30,339
ประชากรไทย ร้อยเอก ชม คุนผลิน (6) 28,738
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พงษ์ศักดิ์ รักตพงษ์ไพศาล (7) 9,997
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ถนอม พิมพ์ใจชน (8) 9,994
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ธงชัย หงษ์อ่อน (9) 8,405
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อนุภิญ ณ นคร (14) 1,060
กิจประชาคม พีระพงศ์ บุนนาค (31) 930
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประหยัด พึ่งสุจริต (13) 872
กิจประชาคม สนิท คงมั่น (33) 854
กิจประชาคม ธีรพงศ์ จอมหงษ์ (32) 843
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สังข์ชัย คามพิทักษ์ (15) 743
ชาติประชาธิปไตย มาลินี เต็มอำนวย (18) 498
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญชู โกเมนรุ่ง (12) 395
พลังใหม่ สมศรี หาญอนันทสุข (35) 382
แรงงานประชาธิปไตย พิศาล ยวงประสิทธิ์ (19) 366
รวมไทย (พ.ศ. 2529) มนู ศรีจันทร์ (10) 365
ชาติประชาธิปไตย พรชัย เลื่อนฉวี (16) 335
พลังใหม่ ธนพงษ์ อุปลพันธุ์ (34) 335
ชาติประชาธิปไตย อภิญญา เลื่อนฉวี (17) 331
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พันจ่าเอก สนั่น แก้วนิลกุล (11) 307
พลังใหม่ ไพศาล ตันตสุทธิกุล (36) 307
รักไทย โสภณ หงษ์สุวรรณ (28) 289
แรงงานประชาธิปไตย จ่าตรี ไสว รื่นจิตร์ (20) 215
แรงงานประชาธิปไตย สมโภชน์ เขียวรุ่งเพชร (21) 210
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พรพิมล ช้างเผือก (22) 174
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พรภิรมย์ พรหมจันทร์ (26) 146
รักไทย บุญส่ง สังข์ประเสริฐ (30) 137
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ธงชัย พรหมทา (25) 136
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) รุ่งนภา บุญลือ (23) 124
รักไทย นงลักษณ์ อุปลา (29) 124
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ร้อยตรี จินดา พรหมจันทร์ (27) 102
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อัมพร ปัญญา (24) 87
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย

เขตเลือกตั้งที่ 6

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยเขตยานนาวา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เจริญ คันธวงศ์ (1)✔ 35,918
ประชาธิปัตย์ วิชิต วิเศษสุวรรณภูมิ (2)✔ 32,318
ประชาธิปัตย์ มานพ ธนสุกาญจน์ (3) 30,383
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) นาวาโท เดชา สุขารมณ์ (7) 22,544
ประชากรไทย ปราโมทย์ คชสุนทร (11) 19,681
ประชากรไทย รังสฤษดิ์ เชาวน์ศิริ (10)* 19,167
ประชากรไทย สมศักดิ์ คงเที่ยง (12) 17,806
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กัณฑ์เอนก ปัจฉิมสวัสดิ์ (8) 14,833
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิเชียร ศรีวิเชียร (9) 12,005
กิจสังคม ก้อง สุรชีวะกฤต (16) 4,787
กิจสังคม พันธ์ เพ็ชรไกร (17) 3,717
กิจสังคม วิโรจน์ หลงเจริญ (18) 3,690
แรงงานประชาธิปไตย ประทีป เสียงหวาน (13) 1,779
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) โสภณ พลภัฎ (25) 1,212
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สุรวุฒิ ผ่องอุไร (27) 1,087
สหประชาธิปไตย เจียม สุคัรภัรานนท์ (28) 1,040
สหประชาธิปไตย พิทยา หาญเกษม (29) 972
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อุดมลักษณ์ เพชรวัฒนานนท์ (26) 939
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สง่า เอมรัฐ (6) 729
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุวิช เมาลานนท์ (4) 612
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมคิด สุนทรทิพย์ (5) 569
แรงงานประชาธิปไตย สอาด แย้มสม (15) 563
สหประชาธิปไตย ธวิช ปุ่นอุดม (30) 538
แรงงานประชาธิปไตย โกไศย มุ่งเจริญ (14) 514
พลังใหม่ สุชาติ วรรุจิ (34) 280
พลังใหม่ อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์ (36) 186
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สุขเกษม ชาวสวนกล้วย (19) 173
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ศรีเพชร จันทร์ดี (22) 170
พลังใหม่ อัครเดช ไผ่เฉลิม (35) 164
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เกศริน อภัยกาวี (21) 155
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พรพรรณ อินทังกุโร (20) 136
รักไทย ศิรินันท์ บวรเอนกสกุล (31) 136
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วาสนา บุญลือ (23) 117
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อัจฉรา ผิวเผือก (24) 117
รักไทย สุคล พันธุ์ขอ (32) 97
รักไทย รัตถี มุดดา (33) 82
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 7

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยเขตบางเขน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย สัญญา สถิรบุตร (8)* 51,620
ประชากรไทย พลอากาศโท วิจิตร ศิริกุล (7) 48,992
ชาติไทย พันเอก ประจักษ์ สว่างจิตร (4) 44,978
ประชากรไทย ชัยวิทย์ สุริยพฤกษ์ (9) 40,622
ชาติไทย พลเอก บุลฤทธิ์ ทรรทรานนท์ (5) 27,833
ประชาธิปัตย์ วนิดา จิตต์หมั่น (17) 22,573
ชาติไทย นัทธี พุคยาภรณ์ (6) 21,848
ประชาธิปัตย์ เฑียรชัย เหลืองอมรเลิศ (16) 20,200
ประชาธิปัตย์ สุทิน นพเกตุ (18) 19,507
กิจสังคม พลอากาศโท น้อย ปาณิกบุตร (1)* 6,722
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พลตำรวจโท พิชิต มีปรีชา (10) 4,959
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พลโท ยุทธศักดิ์ คล่องตรวจโรค (28) 4,797
ชาติประชาธิปไตย พลอากาศโท วันชัย พิไลพงษ์ (19) 4,754
กิจสังคม สมิต สัชฌุกร (3) 4,431
กิจสังคม ร้อยตรี จิรวัฒน์ ทัพพะรังสี (2) 4,114
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พันตรี อัธยา วิศวโยธิน (15) 2,701
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิภาต ฉิมมณี (14) 2,575
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) มณฑล หาญพาณิชย์ (13) 2,282
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พลโท เกษม สุมานันท์ (30) 1,372
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พลตรี วิชัย พิไลพงศ์ (12) 1,322
รวมไทย (พ.ศ. 2529) จุลสวัสดิ์ ไกรฤกษ์ (11) 1,298
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วินัย ชโลกุล (29) 924
ชาติประชาธิปไตย เฉลิมโชค ศรีสุวรรณ์ (20) 512
ชาติประชาธิปไตย ชัยยันต์ ณ นคร (21) 400
แรงงานประชาธิปไตย สมบูรณ์ ขวัญข้าว (23) 282
แรงงานประชาธิปไตย วิสิทธิ์ เบญจาธิกุล (24) 267
รักไทย พันธ์ทิพย์ คันศร (36) 249
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุจารี เศวตนันท์ (27) 244
แรงงานประชาธิปไตย สำรวย กฤษณคุปต์ (22) 233
พลังใหม่ โกเมน สุวัณณุสส์ (32) 183
รักไทย กมลพรรณ แก้วสุภา (35) 181
พลังใหม่ สมาน คงเจริญ (31) 178
รักไทย รัษฎา อุทัยธีรัตน์ (34) 170
พลังใหม่ เจริญชัย เดือนอุดมศีล (33) 155
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมนึก สมบูรณ์ศิลป์ (26) 152
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) มณี ภักดีวงษ์ (25) 128
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย

เขตเลือกตั้งที่ 8

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยเขตบางกะปิ, เขตหนองจอก และเขตมีนบุรี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ศุภชัย พานิชภักดิ์ (11) 45,385
ประชากรไทย เย็นจิตต์ ระพีพัฒน์ ณ อยุธยา (2)* 42,568
ประชากรไทย พิภพ อะสีติรัตน์ (1)* 40,261
ประชาธิปัตย์ สมัย เจริญช่าง (12) 40,145
ประชาธิปัตย์ นิคม จันทรวิฑุร (10) 38,109
ประชากรไทย สุมิตร สุนทรเวช (3)* 38,109
กิจสังคม อภิชาติ หาลำเจียก (38) 28,698
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประสงค์ มินสาคร (7) 14,462
กิจสังคม พอใจ ชัยะเวฬุ (37) 10,574
กิจสังคม อุสุม นิมมานเหมินท์ (39) 8,648
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ร้อยตำรวจตรี นิติภูมิ อยู่พร้อม (5) 8,044
ชาติไทย ประเวช ทวีผล (32) 5,437
สหประชาธิปไตย สวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์ (22)✔ 4,234
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชอบ อินทรมณี (4) 3,886
ชาติไทย กอเซ็ม บัลลังน้อย (33) 3,838
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประยูรศักดิ์ ชลายนเดชะ (9)✔ 3,574
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชูเกียรติ พงษ์วิทยานุกฤต (6) 3,402
ชาติไทย นพ สัตยาศัย (31) 3,325
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไกรสีห์ วงศาโรจน์ (8) 3,042
กิจประชาคม สนั่น วาริทสวัสดิ์ (13) 3,011
กิจประชาคม ปิ่น รัตนาฤาทัย (15) 2,790
กิจประชาคม สุทธิชน เมฆสกุล (14) 2,326
สหประชาธิปไตย สมาน เลาะเซ็น (23) 1,882
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สุธี ผลทวี (25) 1,401
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สะอาด เปี่ยมพงศ์สานต์ (26) 1,343
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ชำนัญ มูเนาวาเราะธ์ (27) 1,287
สหประชาธิปไตย บุญส่ง ศุภวัชรเสรีกุล (24) 1,236
แรงงานประชาธิปไตย ธนิต สุกันยา (28) 982
รักไทย รัชตวรรณ สิงห์ดีประภา (36) 721
พลังใหม่ สุธรรม วงศ์สุนทร (40) 624
รวมไทย (พ.ศ. 2529) จุฑา ดวงจิโน (18) 582
รักไทย นงลักษณ์ ชนะพันธ์ (35) 549
แรงงานประชาธิปไตย มานพ หวังผล (30) 472
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สิริยา สมบูรณ์พร้อม (21) 462
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วรวิทย์ กลิ่นสีงาม (17) 415
รักไทย ชูชื่น ด่านวิไล (34) 397
แรงงานประชาธิปไตย ชุบ ศรีสุข (29) 375
พลังใหม่ สมนึก พัดสุวรรณ (42) 352
พลังใหม่ ไกรฤกษ์ นวลสำลี (41) 324
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วาสนา เจริญยศ (19) 263
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เกียรติศักดิ์ แสงสุวรรณ (16) 257
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จิ้มลิ้ม บุญยงค์ (20) 185
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 9

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยเขตธนบุรี และเขตคลองสาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พลเอก หาญ ลีนานนท์ (7) 37,602
ประชาธิปัตย์ ปราโมทย์ สุขุม (9) 32,945
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ (8) 32,208
ประชากรไทย วิจิตร อร่ามกุล (1) 23,993
ประชากรไทย สามารถ เมฆะวิภาค (2) 22,284
ประชากรไทย สนิท ศรีสำแดง (3) 20,310
กิจสังคม พรรณทิพา วัชโรบล (13)✔ 11,492
กิจสังคม มาโนช เรืองปราชญ์ (14) 10,414
กิจสังคม พลเทพ สุวรรณวิเชียร (15) 8,841
มวลชน ราชันย์ ฮูเซ็น (10) 5,123
มวลชน พันเอก ชวลิต ทองอารีย์ (11) 5,072
มวลชน สมศักดิ์ ภาคีโพธิ์ (12) 4,456
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชนะ โอสถ (5) 1,262
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมร อัมพนันท์ (6) 1,233
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เจริญ สุขบ่าย (4) 1,094
กิจประชาคม บุญนำ สงวนความดี (25) 924
สหประชาธิปไตย ชนัตถ์ ตันสกุล (18) 842
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สุกานดา เหลียมจำเริญ (29) 831
กิจประชาคม พจน์ กาญจนศักดิ์ (26) 766
สหประชาธิปไตย ประสาท อาจวาริน (16) 724
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ร้อยตำรวจโท ระบิล นานากุล (28)✔ 688
กิจประชาคม อุทัย นิ่มสมบุญ (27) 643
พลังใหม่ ทวีวิทย์ ศรีรัตนวิทย์ (35) 636
พลังใหม่ อนุสรณ์ ลาดบัวขาว (34) 510
รักไทย กตพล พันธ์ทุมสาร (38) 469
พลังใหม่ สมชาย ศรีสมุทรนาค (36) 371
สหประชาธิปไตย อนุสรณ์ จุลกะรัตน์ (17) 310
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประจวบ นิวรณุสิต (30) 260
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมชาติ นำศรีเจริญสุข (19) 205
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุจิตรา คณนาลักษณ์ (22) 204
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อาทิตย์ ผลประเสริฐ (21) 158
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ภาริณี ทวีธนา (23) 149
แรงงานประชาธิปไตย วิชา มาตมงคล (32) 148
แรงงานประชาธิปไตย ยงยุทธิ์ วิริยายุทธังกุร (33) 140
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สำลี วิเชียร (24) 134
แรงงานประชาธิปไตย ชัยธรรม มั่งคั่ง (31) 129
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชนะ เปียศิริ (20) 117
รักไทย หม่อมราชวงศ์อดิศร์ ชยางกูร (37) 108
รักไทย ร้อยโท ชวณะ รักษาศิลป์ (39) 85
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย

เขตเลือกตั้งที่ 10

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยเขตบางขุนเทียน และเขตราษฎร์บูรณะ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย สุวัฒน์ วรรณศิริกุล (10) 45,297
ประชากรไทย ประเสริฐ ม่วงศิริ (12) 43,380
ประชากรไทย ปกิต พัฒนกุล (11) 40,977
ประชาธิปัตย์ พลเรือโท สมุทร์ สหนาวิน (13) 19,673
ประชาธิปัตย์ อภิชาติ ดำดี (15) 18,960
ประชาธิปัตย์ พิศิษฐ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (14) 17,650
มวลชน เถลิง อยู่บำรุง (2) 16,399
มวลชน พลตำรวจตรี ชาญชัย วีระนาวิน (1) 11,477
มวลชน พันโท ณัฐวัชร รัตนะ (3) 10,921
กิจประชาคม ทวีศักดิ์ กาญจนเทวี (9) 3,767
สหประชาธิปไตย เชิดชัย เพชรพันธ์ (30)✔ 2,847
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อุทัย คำหริ่ม (4) 2,693
กิจประชาคม อารีย์ โก๊ะเจริญ (8) 2,319
กิจประชาคม ประจวบ หนุนภักดี (7) 2,014
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุรศักดิ์ โสตะวงษ์ (5) 1,722
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พันจ่าอากาศเอก อนันต์ ดิษยบุตร (6) 1,187
พลังใหม่ พัชนี ขยันเกียรติ (35) 405
รวมไทย (พ.ศ. 2529) โฆษิต ศรีรัตน์ (16) 295
สหประชาธิปไตย สัญชยากร เคียนเสวี (29) 246
พลังใหม่ พินิจ เจียมอนุกูลกิจ (34) 245
แรงงานประชาธิปไตย สนั่น ศิริจร (21) 234
แรงงานประชาธิปไตย คมสัน คำพิลา (19) 219
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วัฒนา หงษ์หนึ่ง (22) 210
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุพจน์ หอมระรื่น (23) 207
แรงงานประชาธิปไตย เบิ้ม พูลสวัสดิ์ (20) 204
รักไทย พูน ศิริวงศ์ (31) 201
พลังใหม่ เศวตชัย เลอเลิศวิชัย (36) 168
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พีรพันธุ์ จารุภา (17) 164
สหประชาธิปไตย เดชา ยอดมงคล (28) 154
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ดิศักดิ์ ดีสม (18) 151
รักไทย บัวทอง วรบุตร (32) 140
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) คมสัน บัณฑิตย์ (26) 132
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สาหร่าย ช้างเผือก (24) 131
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อนัฐวุธ ณ สงขลา (25) 122
รักไทย ประสาน สอนวิทย์ (33) 96
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วุฒิชัย สินธุฉาย (27) 82
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 11

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 11 ประกอบด้วยเขตบางกอกน้อย และเขตตลิ่งชัน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 11 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย พลเรือตรี กุมุท กมลนาวิน (4) 42,713
ประชากรไทย สุวัฒน์ นิงสานนท์ (5) 41,678
ประชากรไทย อุส่าห์ สระมาลา (6)* 40,448
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจตรี สนอง ธีระศาสน์ (3) 29,188
ประชาธิปัตย์ พลโท อำพน ศุภสมุทร (1) 27,674
ประชาธิปัตย์ จารุตม์ จารุประกร (2)* 26,271
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พรชัย อรัญยกานนท์ (16) 4,517
กิจสังคม ปรเมษฐ์ อำไพ (31) 4,501
กิจสังคม อุดม จันทร์ส่องแสง (32) 3,331
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เรือตรี สุรพล ทัศนา (17) 2,946
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พลเรือเอก วิชญ์ จินตณวิชญ์ (7) 2,880
พลังใหม่ ประสาน ต่างใจ (34) 2,857
มวลชน พิชิต ชื่นบาน (11) 2,820
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประเทศ ไชยพังยาง (18) 2,729
กิจสังคม สมบัติ กะรีวัต (33) 2,682
มวลชน พิจิตร เชาวน์เจริญ (10) 2,611
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อภิพงษ์ คงชนะกุล (8) 2,501
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชัยลักษณ์ พงศ์วรินทร์ (9) 2,284
มวลชน เสนีย์ ถนอมรันน์ (12) 2,125
พลังใหม่ เปรมกมลย์ ทินกร ณ อยุธยา (35) 1,228
กิจประชาคม มณฑล ศรีเสมอ (30) 1,076
พลังใหม่ วัฒนชัย ซ่อมประดิษฐ์ (36) 1,034
กิจประชาคม สมชาย อิทธิฤกษ์ฤทธิ์ (29) 933
กิจประชาคม ธีระพงศ์ มณฑาลพ (28) 877
สหประชาธิปไตย บูรณะศักดิ์ เทพาคำ (13)✔ 867
สหประชาธิปไตย ทวีศักดิ์ สงเคราะห์ราษฎร์ (15) 775
สหประชาธิปไตย วิทยา กฤตลักษณ์กุล (14) 764
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุนทรี หรูธนทรัพย์ (20) 394
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุไรรัตน์ ไกรคุ้ม (21) 319
แรงงานประชาธิปไตย วินิจ แก้วปู่วัด (25) 297
แรงงานประชาธิปไตย สมเกียรติ เพชรอริยวงศ์ (26) 294
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ปรีดา สมบูรณ์ศิลป์ (19) 287
แรงงานประชาธิปไตย พนม สุกแสง (27) 285
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) กฤษนัย อรุณเรือง (23) 224
รักไทย ธวัชชัย เปรื่องอารมณ์ (37) 185
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สมมาตร วงศ์ช่างหล่อ (22) 177
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) มรกต เรืองแสงเพ็ญ (24) 171
รักไทย ณรงค์ ชื่นจิตต์ (39) 146
รักไทย แสวง ดาวเรือง (38) 143
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 12

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 12 ประกอบด้วยเขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 12 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย วัชระ ประภาพัฒน์ (10)* 41,180
ประชากรไทย ชัยสิทธิ์ ภูวภิรมย์ขวัญ (11)* 35,242
มวลชน ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง (7)* 30,947
ประชากรไทย ธีระยุทธ ไกรณรงค์ (12) 29,887
ประชาธิปัตย์ นฎาประไพ สุจริตกุล (5) 29,318
ประชาธิปัตย์ วิลาศ จันทร์พิทักษ์ (6) 29,044
ประชาธิปัตย์ ศุภชัย มนัสไพบูลย์ (4) 28,119
มวลชน พลโท สุมน ศุกระเศรณี (8) 19,568
มวลชน ชิงชัย ต่อประดิษฐ์ (9) 17,987
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ร้อยตำรวจโท ระดม มหาศรานนท์ (2) 4,136
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชนะ แจ้งประจ่าง (3) 3,182
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พลเรือเอก สว่าง ขันธ์นะภา (1) 3,112
สหประชาธิปไตย บุญเหลือ เครือไชย (13) 3,033
สหประชาธิปไตย ประเสริฐ วรสินศิริ (14) 1,340
สหประชาธิปไตย สมคิด กรณฑ์แสง (15) 1,223
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อัจฉรา ฐปนานนท์ (16) 392
รวมไทย (พ.ศ. 2529) แน่งน้อย กู้เกียรติกาญจน์ (17) 388
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สงัด แย้มไทย (26) 372
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พรทิพย์ พัฒนสัมพันธ์ (18) 315
แรงงานประชาธิปไตย ประทิน ธรรมรงค์จ้อย (19) 272
แรงงานประชาธิปไตย สุชาติ บุญรอด (20) 262
พลังใหม่ ปัญญา มีสวัสดิ์ (29) 252
พลังใหม่ ไสว ร่มรื่น (28) 249
พลังใหม่ สนอง จันดาหาร (30) 246
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สามารถ พรหมวรางกูร (25) 237
แรงงานประชาธิปไตย ประดิษฐ์ ศรีสุวรรณ (21) 232
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประเสริฐ กมลวาทิน (27) 202
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จรินทร์ สายะเสวี (22) 200
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) โสภณา อินทรวิเชียร (23) 183
รักไทย จุไรภรณ์ ไวทยะพิศาล (32) 177
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) กัณฐมาศ หนอทองคำ (24) 111
รักไทย กำธร นิรันดร (31) 111
รักไทย เพชรเจริญ วิภามณีโรจน์ (33) 110
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
มวลชน ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530