ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดฉะเชิงเทราในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดฉะเชิงเทราในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน292,646
ผู้ใช้สิทธิ55.47%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ อุทัย พิมพ์ใจชน พิชัย รัตตกุล หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 2
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น2 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา, อำเภอบ้านโพธิ์, อำเภอบางปะกง และอำเภอแปลงยาว

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดฉะเชิงเทรา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ไกรสร นันทมานพ (7)* 36,556
ประชาธิปัตย์ จาตุรนต์ ฉายแสง (4) 30,830
ประชาธิปัตย์ อนันต์ ฉายแสง (3)* 30,652
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พินิจ จารุสมบัติ (1) 29,017
ประชากรไทย ร้อยโท มีชัย สินเจริญ (6) 5,304
ประชากรไทย สง่า วงศ์โกฎิมณี (5) 2,132
ชาติไทย สุจินต์ ตันเจริญ (24) 1,939
กิจประชาคม สมเดช ปรีเจริญ (19) 866
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ร้อยตำรวจตรี ดิลก กียะสูตร (8) 856
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วีระชัย ศิริอนุการวัฒนา (2) 804
ชาติไทย ชลอ สุดประเสริฐ (23) 428
มวลชน เสาวรส พฤกนุโช (10) 260
มวลชน เสรี แก้วจุฑานิติ (9) 200
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) กาญจนา คุรุรัตน์ (14) 181
กิจประชาคม นพ ขวัญพรหม (20) 160
ชาติประชาธิปไตย กัลยา นิธิสถาพร (16) 130
รักไทย สง่า อยู่ยืน (21) 87
ชาติประชาธิปไตย อรัญ ตุวินันท์ (15) 77
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สมพิศ คลังพหล (17) 76
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เหลื่อม อ่วมเจียกเจริญ (11) 68
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประมวล ทวีมูล (12) 66
รักไทย เสรี สากลวารี (22) 55
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พันธ์ศักดิ์ เจริญรัตน์ (13) 48
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ฟ้อน ปิ่นสง (18) 48
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสนามชัยเขต, อำเภอพนมสารคาม, อำเภอบางคล้า, อำเภอบางน้ำเปรี้ยว และกิ่งอำเภอราชสาส์น

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดฉะเชิงเทรา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุชาติ ตันเจริญ (1) 53,592
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จักรพันธ์ ทัตติยกุล (5) 39,306
ประชาธิปัตย์ ทิวา พูลสมบัติ (2)* 36,988
ราษฎร (พ.ศ. 2529) บัณฑิต นพเกตุ (21) 2,223
ประชากรไทย อารีฟ โพธิ์ทอง (4) 1,593
สหประชาธิปไตย ประกอบ คณะธรรม (9) 1,409
ประชากรไทย วินัย เอมเจริญ (3) 1,051
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อุทัย จันทร์กิตติมา (6) 685
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สุข ระเบียบ (13) 298
สหประชาธิปไตย นิเมศ เจริญพงษ์ (10) 257
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พิทักษ์ เทวานฤมิตร (22) 247
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ทวีสุข สุวัชรมล (7) 211
ชาติประชาธิปไตย สุพัตรา นะลิตา (16) 206
รักไทย เฮม บุญมาเลิศ (20) 154
ชาติประชาธิปไตย สินสมุทร สุขเจริญ (15) 149
มวลชน สมพร บุตรดี (12) 144
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) มณี สุขสำราญ (8) 109
รักไทย มานพ พิมพ์สัมฤทธิ์ (19) 93
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประสงค์ รัตนสินธิวงศ์ (14) 78
มวลชน ชลิต มณีโรจน์ (11) 62
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สุวิทย์ มากรอด (17) 47
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) โสภณ ข่มภัย (18) 36
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530