ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครนายกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครนายกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

1 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน127,405
ผู้ใช้สิทธิ57.81%
  First party Second party
 
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529) กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 1 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดนครนายกทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครนายก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วานิช พานิชเกรียงไกร (4)✔ 20,039
สหประชาธิปไตย พันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา (5)* 17,829
ประชาธิปัตย์ เสนอ มนต์กันภัย (1) 17,449
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชำนาญ พิเชษฐ์พันธุ์ (2) 6,478
ชาติไทย เรืออากาศตรี บุญยง วัฒนพงศ์ (3)✔ 5,721
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วรสิทธิ์ โรจนพานิช (9) 1,182
ประชากรไทย วิหาร ทอหุน (7) 244
ชาติประชาธิปไตย ปรีดา งามสอาด (6) 174
แรงงานประชาธิปไตย สมาน ศรีงาม (8) 138
กิจสังคม วิสุทธิ์ ศรีจันทร์ (12) 128
รักไทย เยาวณี นามะสนธิ (13) 123
พลังใหม่ ปัญญา กองเมือง (10) 31
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ฉกาจ ปูคะวนัช (11) 16
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530