ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน358,207
ผู้ใช้สิทธิ48.77%
  First party Second party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 3 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, กิ่งอำเภอบ้านนาเดิม และกิ่งอำเภอชัยบุรี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ บัญญัติ บรรทัดฐาน (4)* 68,958
ประชาธิปัตย์ พาสกร จรูญรัตน์ (6) 55,804
ประชาธิปัตย์ สิทธิพร โพธิ์เพชร (5)* 53,822
กิจสังคม นิยม หนูศรีแก้ว (7) 17,012
กิจสังคม ธีระพจน์ วิชัยดิษฐ (8) 15,561
กิจสังคม ธงชัย หวานแก้ว (9) 13,933
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) โชติ ศรีฟ้า (21) 9,219
ชาติประชาธิปไตย จัด คงสุข (3) 4,139
ประชากรไทย ระวิ มีเพียร (17) 3,703
พลังใหม่ ปราโมทย์ หวานแก้ว (13) 3,348
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) บัลลังก์ อนุภักดิ์ (20) 2,879
ชาติประชาธิปไตย ประจวบ นิตย์นรา (1) 2,789
ชาติประชาธิปไตย บรรลือ หุตารมณ์ (2) 2,440
กิจประชาคม วิโรจน์ แซ่ภู่ (22) 2,070
พลังใหม่ จุรีรัตน์ สุจินดา (14) 1,661
แรงงานประชาธิปไตย สำรวย ขวัญชุม (12) 1,300
แรงงานประชาธิปไตย พรรณี พวงประทุม (10) 1,122
ประชากรไทย นิสิต ภควานนท์ (16) 1,063
แรงงานประชาธิปไตย นิยม ทองมาก (11) 772
กิจประชาคม ดุสิต โกละกะ (23) 601
กิจประชาคม สมเดช ทองวัน (24) 569
พลังใหม่ เอกราช ศศิธร (15) 497
ประชากรไทย ประเสริฐ นันตมาศ (18) 492
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วรชัย เสนาะคำ (19) 480
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ และอำเภอบ้านตาขุน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุเทพ เทือกสุบรรณ (3)* 32,759
กิจสังคม ภิญญา ช่วยปลอด (11)* 30,053
ประชาธิปัตย์ พลโท ฝังพร บุญเลี้ยง (4) 27,405
กิจสังคม สำราญ ครรชิต (12) 18,917
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพฑูรย์ วงศ์วานิช (5)✔ 16,935
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ธงชัย ศิรินทรางกูร (10) 1,339
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมชาย แสงสุวรรณ (9) 1,206
ประชากรไทย เอิบ ศรีสากร (2) 1,119
ชาติไทย พลจิต สำภา (22) 939
ชาติไทย สุชุม สุวรรณโชติ (21) 805
ประชากรไทย อนันต์ เขตรัตน์ (1) 735
ชาติประชาธิปไตย วิชาญ อุณห์ไวทยะ (13) 730
ชาติประชาธิปไตย ร้อยตำรวจโท วันชัย เวชพราหมณ์ (14) 603
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) จรุง ศรีนาวา (24) 446
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เตือนใจ มาจุรินทร์ (6) 367
รักไทย สุนทร ชูมณี (19) 192
รักไทย พานิชย์ สิทธิชัย (20) 164
กิจประชาคม เหิม แก้วมหิทธิ์ (7) 154
แรงงานประชาธิปไตย ฉลาด ชูแดง (15) 152
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เดโช ช่วยบำรุง (23) 150
พลังใหม่ สิบตำรวจโท รัษฎา วิชัยดิษฐ (17) 136
กิจประชาคม สมบัติ สมมะลาน (8) 133
แรงงานประชาธิปไตย สุชีพ ทิพย์นุ้ย (16) 70
พลังใหม่ มงคล ศรีเผด็จ (18) 60
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530