ข้ามไปเนื้อหา

เรือรบในกองทัพเรือไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ธงราชนาวีไทย

บทความนี้กล่าวถึงเรือรบในกองทัพเรือไทย รวมถึงยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งประจำการและปลดประจำการไปแล้ว เรือรบและยุทโธปกรณ์ของกองทัพเรือไทย ซึ่งมีการผลิตจากหลายประเทศ เช่น แคนาดา จีน เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น เนเธอร์แลนด์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ สเปน สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร

เรือรบ

[แก้]

เรือดำน้ำ

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือดำน้ำ (อยู่ระหว่างต่อเรือ 1 ลำ)
เรือดำน้ำแบบ S26T ธงของประเทศจีน จีน เรือหลวงมัจฉานุ 2,600 ตัน ข้อมูล ณ วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2561 เรือ 1 ลำอยู่ในระหว่างการต่อ และอีก 2 ลำอยู่ในระหว่างการวางแผน ลำแรกมีกำหนดส่งมอบในปี พ.ศ. 2566[1][2][3][4]

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ (ประจำการ 1 ลำ)
เรือบรรทุกเครื่องบินชุดเรือหลวงจักรีนฤเบศร ธงของประเทศสเปน สเปน เรือหลวงจักรีนฤเบศร CVH-911/2540 11,486 ตัน อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 4 × ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 Rh-202
  • 2 × ปืนกลขนาด 0.5 นิ้ว
  • 3 × ซาดรัล สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-อากาศ มิสทรัล

บรรทุกเฮลิคอปเตอร์:

เรือยกพลขึ้นบก

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือยกพลขึ้นบก (ประจำการ 4 ลำ)
แบบ 071E ธงของประเทศจีน จีน เรือหลวงช้าง LPD-792/2566 22,000 ตัน บรรทุกทหารได้ 650 นาย[6]
  • 3 × ดาดฟ้าเฮลิคอปเตอร์
  • 2 × โรงเก็บเฮลิคอปเตอร์
ชั้นเอนดูแรนซ์  สิงคโปร์ เรือหลวงอ่างทอง LPD-791/2555 7,600 ตัน บรรทุกทหารได้ 500 นาย

อาวุธยุทโธปกรณ์:

  • 1 × ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 มม. Super Rapid
  • 2 × ปืนใหญ่กล 30 มม. MSI-DSL DS30MR Mk 44
  • 6 × ปืนกล M2HB ขนาด 12.7 มม.
ชุดเรือหลวงสีชัง  ไทย เรือหลวงสีชัง
เรือหลวงสุรินทร์
LST-721/2530
LST-722/2531
4,520 ตัน ชื่อชุดภาษาไทยและต่อในประเทศไทย โดยอิงแบบจากชั้น Normed PS 700[7]
บรรทุกทหารได้ 339 คน (721) 354 คน (722)

อาวุธยุทโธปกรณ์:

  • 2 × ปืนใหญ่กล Bofors 40/60 มม.
  • 2 × ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 Rh-202
  • 2 × ปืนกล M2HB ขนาด 12.7 มม.

เรือฟริเกต

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือฟริเกต (ประจำการ 7 ลำ)
ชุดเรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช
เรือหลวงประแส
FFG-471/2562
FFG-472/เลื่อนการต่อออกไป
3,700 ตัน ชื่อชุดภาษาไทย ต่อในประเทศเกาหลีใต้[7][8][9]

เรือฟริเกตล่องหนหลากบทบาท
อาวุธยุทโธปกรณ์:

ชุดเรือหลวงนเรศวร ธงของประเทศจีน จีน เรือหลวงนเรศวร
เรือหลวงตากสิน
FFG-421/2538
FFG-422/2538
2,985 ตัน ชื่อชุดภาษาไทย ต่อในประเทศจีน[7]

เรือฟริเกต
อาวุธยุทโธปกรณ์:

ชุดเรือหลวงเจ้าพระยา ธงของประเทศจีน จีน เรือหลวงเจ้าพระยา
เรือหลวงบางปะกง
เรือหลวงกระบุรี
เรือหลวงสายบุรี
FFG-455/2538
FFG-456/2538
FFG-457/2538
FFG-458/2538
1,924 ตัน ชื่อชุดภาษาไทย ต่อในประเทศจีน[7]

เรือฟริเกต
อาวุธยุทโธปกรณ์:

  • 2 × ปืนใหญ่เรือแบบ 79 ขนาด 100 มม.
  • 4 × ปืนใหญ่กลแบบ 76 แท่นคู่ ขนาด 37 มม.
  • 8 × ขีปนาวุธ C802A
  • 2 × แท่นยิงจรวดปราบเรือดำน้ำ 5-ท่อ แบบ 81

เรือคอร์เวต

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือคอร์เวต (ประจำการ 5 ลำ)
ชุดเรือหลวงรัตนโกสินทร์  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงรัตนโกสินทร์ FS-441/2529 960 ตัน เรือคอร์เวตติดอาวุธนำวิถี
อาวุธยุทโธปกรณ์:
ชุดเรือหลวงคำรณสินธุ  ไทย เรือหลวงคำรนสินธุ
เรือหลวงทยานชล
เรือหลวงล่องลม
FS-531/2535
FS-532/2535
FS-533/2535
630 ตัน เรือคอร์เวตต่อต้านเรือดำน้ำ[7]
อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 1 × ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76 /62 มม. Compact
  • 1 × ปืนใหญ่กล MSI-DSL DS-30M 30 มม.
  • 2 × ท่อยิงตอร์ปิโดแฝดสาม
ชุดเรือหลวงตาปี  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงคีรีรัฐ PF-432/2517 1,191 ตัน ภายใต้ความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ ผ่านเงินสมทบ[11]; ชื่อชุดภาษาไทยว่าชุดตาปี[7] (PF)[note 1]

เรือคอร์เวตต่อต้านเรือดำน้ำ
อาวุธยุทโธปกรณ์:

  • 1 × ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 มม. Compact
  • 1 × ปืนใหญ่กล Bofors 40/70 มม.
  • 2 × ปืนใหญ่กล Oerlikon 20 มม.
  • 2 × ท่อยิงตอร์ปิโดแฝดสาม แบบ Mark 32

เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง (ประจำการ 4 ลำ)
ชุดเรือหลวงกระบี่  ไทย เรือหลวงกระบี่
เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์[12]
OPV-551/2556
OPV-552/2562
1,969 ตัน อาวุธยุทโธปกรณ์:[13]

ซื้อระบบอำนวยการรบจากบีเออี ซิสเต็มส์ และต่อเรือในประเทศไทย

ชุดเรือหลวงปัตตานี ธงของประเทศจีน จีน เรือหลวงปัตตานี
เรือหลวงนราธิวาส
OPV-511/2548
OPV-512/2548
1,460 ตัน ออกแบบในประเทศไทย ต่อที่ประเทศจีน

อาวุธยุทโธปกรณ์:

  • 1 × ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 มม. Super Rapid
  • 2 × ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 20 มม.
  • 2 × ปืนกลขนาด .50 US Ordnance M2HB

เรือตรวจการณ์

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือตรวจการณ์ (ประจำการ 49 ลำ)
ชุดเรือหลวงชลบุรี ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี เรือหลวงชลบุรี
เรือหลวงสงขลา
เรือหลวงภูเก็ต
FAC-331/2526
FAC-332/2526
FAC-333/2526
450 ตัน เรือตรวจการณ์ระยะปานกลาง

เรือเร็วโจมตีปืน (FAC)[14][15]
อาวุธยุทโธปกรณ์:

  • 2 × ปืนใหญ่เรือ Oto-Melara 76/62 มม.
  • 1 × ปืนใหญ่กล Bofors 40/70 มม.
  • 2 × ปืนกลขนาด .50
แบบ เอ็ม 58  ไทย เรือหลวงแหลมสิงห์ PGB-561/2559 520 ตัน เรือตรวจการณ์ปืน (PGB)[16][note 1]
อาวุธยุทโธปกรณ์:[17][18]
  • 1 × ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 มม. Compact
  • 1 × ปืนใหญ่กล MSI-DSL DS-30M 30 มม.
  • 2 × ปืนกลขนาด .50
ชุดเรือหลวงหัวหิน  ไทย เรือหลวงหัวหิน
เรือหลวงแกลง
เรือหลวงศรีราชา
PGB-541/2544
PGB-542/2544
PGB-543/2544
590 ตัน เรือตรวจการณ์ระยะปานกลาง

เรือตรวจการณ์ปืน (PGB)[19][20]
อาวุธยุทโธปกรณ์:

ชุดเรือหลวงสัตหีบ  ไทย เรือหลวงสัตหีบ
เรือหลวงคลองใหญ่
เรือหลวงตากใบ
เรือหลวงกันตัง
เรือหลวงเทพา
เรือหลวงท้ายเหมือง
PGB-521/2526
PGB-522/2527
PGB-523/2528
PGB-524/2528
PGB-525/2528
PGB-526/2529
300 ตัน ต่อภายในประเทศ โดยอิงแบบจากเรือชั้น PSMM Mk.5

เรือตรวจการณ์ปืน (PGB)[21][note 1]
อาวุธยุทโธปกรณ์:

  • 1 × ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 มม. Compact or Mk 22 mod 0 76 มม./50
  • 1 × ปืนใหญ่กล Bofors 40/60 มม.
  • 2 × ปืนใหญ่กล Oerlikon ขนาด 20 มม.
  • 2 × ปืนกลเอ็ม 2 บราวนิง
ชุด ต.991  ไทย ต.991
ต.992
ต.993
PGM-991/2550
PGM-992/2550
PGM-993/2550
185 ตัน เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง (PGM)
อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 2 × ปืนใหญ่กล MSI-DSL DS-30M 30 มม.
ชุด ต.994  ไทย ต.994
ต.995
ต.996
PGM-994/2554
PGM-995/2554
PGM-996/2554
223 ตัน เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง (PGM)
อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 1 × ปืนใหญ่กล MSI-DSL DS-30M 30 มม.
  • 1 × ปืนกล M2HB ขนาด 12.7 มม.
ชุด ต.997  ไทย ต.997
ต.998
PGM-997/2564
PGM-998/2564
223 ตัน เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง (PGM)
อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 1 × ปืนใหญ่กล AK-306
  • 1 × ปืนกล M2HB ขนาด 12.7 มม.
แบบ เอ็ม 36  ไทย ต.111
ต.112
ต.113
ต.114
ต.115
PGM-111/2557
PGM-112/2557
PGM-113/2557
PGM-114/2563
PGM-115/2563
150 ตัน เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง (PGM)
อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 1 × ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 20 มม.
  • 1 × ปืนใหญ่กล MSI-DSL DS-30M 30 มม.
  • 2 × ปืนกล M2HB ขนาด 12.7 มม.
แบบ เอ็ม 21  ไทย ต.228
ต.229
ต.230
ต.232
ต.233
ต.234
ต.235
ต.236
ต.237
ต.261
ต.262
ต.263
ต.264
ต.265
ต.266
ต.267
ต.268
ต.269
ต.270
ต.271
ต.272
ต.273
ต.274
PCF-228/2556
PCF-229/2556
PCF-230/2556
PCF-232/2559
PCF-233/2559
PCF-234/2559
PCF-235/2559
PCF-236/2559
PCF-237/2559
PCF-261/2560
PCF-262/2560
PCF-263/2560
PCF-264/2560
PCF-265/2561
PCF-266/2561
PCF-267/2561
PCF-268/2561
PCF-269/2561
PCF-270/2561
PCF-271/2561
PCF-272/2561
PCF-273/2561
PCF-274/2561
45 ตัน เรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (PCF)[22][23]
อาวุธยุทโธปกรณ์:[24]
  • 1 × ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 20 มม.
  • 1 × ปืนกล M2HB ขนาด 12.7 มม. พร้อมด้วยเครื่อยิงลูกระเบิดขนาด 81 มม. (แบบแกนร่วม)

เรือฝึก

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือฝึก/เรือยิงสลุต (ประจำการ 2 ลำ)
เรือฟริเกตชุดเรือหลวงมกุฎราชกุมาร  สหราชอาณาจักร เรือหลวงมกุฎราชกุมาร FF-433/2516 1,900 ตัน อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 2 × ปืนใหญ่เรือ Mark 8 ขนาด 4.5 นิ้ว
  • 1 × ปืนใหญ่กล Bofors 40/70 มม.
  • 2 × ท่อยิงตอร์ปิโดแฝดสาม
  • ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ Ultra Electronics EMS SSM
เรือพิฆาตคุ้มกัน ชั้นแคนนอน  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงปิ่นเกล้า DE-413/2502 1,620 ตัน อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 3 × ปืนใหญ่เรือ Mk.22 3"/50
  • 3 × ปืนใหญ่กลแท่นคู่ Mk.1 AA 40 มม.
  • 8 × ปืนใหญ่กล Mk.4 AA 20 มม.
  • 3 × ท่อยิงตอร์ปิโดขนาด 21 นิ้ว (533 มม.)
  • 1 × เครื่องยิงลูกระเบิดปราบเรือดำน้ำ Hedgehog Mk.10 (144 rounds)

เรือระบายพลขนาดใหญ่

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือระบายพลขนาดใหญ่ (ประจำการ 9 ลำ)
ชุด เอ็ม 55  ไทย เรือหลวงมัตโพน
เรือหลวงราวี
LCU-784/2553
LCU-785/2553
550 ตัน อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 4 × ปืนใหญ่กล Oerlikon ขนาด 20 มม.
  • 2 × ปืนกล M2HB ขนาด 12.7 มม.
ชุดเรือหลวงมันนอก  ไทย เรือหลวงมันนอก
เรือหลวงมันกลาง
เรือหลวงมันใน
LCU-781/2544
LCU-782/2544
LCU-783/2544
550 ตัน อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 2 × ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 Rh-202
ชุดเรือหลวงทองแก้ว  ไทย เรือหลวงทองแก้ว
เรือหลวงทองหลาง
เรือหลวงวังนอก
เรือหลวงวังใน
LCU-771/2525
LCU-772/2526
LCU-773/2526
LCU-774/2526
396 ตัน อาวุธยุทโธปกรณ์:
  • 2 × ปืนใหญ่กล Oerlikon ขนาด 20 มม.

เรือส่งกำลังบำรุง

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือส่งกำลังบำรุง (ประจำการ 9 ลำ)
เรือส่งกำลังบำรุงแบบ 908 ธงของประเทศจีน จีน เรือหลวงสิมิลัน AOR-871/2539 22,000 ตัน เรือส่งกำลังบำรุง (AOR)[25][note 1]
ชุดเรือหลวงมาตรา  ไทย เรือหลวงมาตรา YO-836/2557 500 ตัน เรือน้ำมัน (YO)[26][27][note 1]
ชุดเรือหลวงเปริด  ไทย เรือหลวงเปริด
เรือหลวงเสม็ด
YO-834/2512
YO-835/2513
410 ตัน เรือน้ำมัน (YO)[28][29][note 1][20]
ชุดเรือหลวงจุฬา  สิงคโปร์ เรือหลวงจุฬา YO-831/2523 1,661 ตัน เรือน้ำมัน (YO)[30][note 1][20]
ชุดเรือหลวงจวง  ไทย เรือหลวงจวง
เรือหลวงจิก
YW-841/2509
YW-842/2517
360 ตัน เรือน้ำ (YW)[31][20]
ชั้น YOG-5  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงสมุย YO-832/2490 1,235 ตัน เรือน้ำมัน (YO)[20]
ชุดเรือหลวงปรง  ไทย เรือหลวงปรง YO-833/2484 412 ตัน เรือน้ำมัน (YO)[20]

เรือกวาดทุ่นระเบิด

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือกวาดทุ่นระเบิด (ประจำการ 5 ลำ)
ชุดเรือหลวงถลาง  ไทย เรือหลวงถลาง MCS-621/2523 1,095 ตัน เรือสนับสนุนการต่อต้านทุ่นระเบิด (MCS)[20]

ออกแบบมาเพื่อนำมาผลิตในประเทศไทย[7]

ชุดเรือหลวงลาดหญ้า ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี เรือหลวงลาดหญ้า
เรือหลวงท่าดินแดง
MHC-633/2542
MHC-634/2543
697 ตัน เรือล่าทำลายทุ่นระเบิดใกล้ฝั่ง (MHC)[20][note 1]

ไทยกำหนดความต้องการเองโดยอิงจากแบบเรือกวาดทุ่นระเบิดชั้น Gaeta ของอิตาลี[7]

ชุดเรือหลวงบางระจัน ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี เรือหลวงบางระจัน
เรือหลวงหนองสาหร่าย
MHC-631/2530
MHC-632/2530
444 ตัน เรือล่าทำลายทุ่นระเบิดใกล้ฝั่ง (MHC)[20][note 1][32]

ไทยกำหนดความต้องการเองโดยอิงจากแบบเรือกวาดทุ่นระเบิดชั้นเอ็ม 48[7]

เรือวิจัยและสำรวจ

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือวิจัยและสำรวจ (ประจำการ 5 ลำ)
ชุดเรือหลวงพฤหัสบดี  ไทย เรือหลวงพฤหัสบดี AGOR-813/2551 1,636 ตัน เรือสำรวจขนาดใหญ่ (AGOR)[20]
ชุดเรือหลวงจันทร ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี เรือหลวงจันทร AGOR-811/2504 996 ตัน เรือสำรวจขนาดใหญ่ (AGOR)
ชุดเรือหลวงศุกร์  ไทย เรือหลวงศุกร์ AGOR-812/2525 1,526 ตัน เรือสำรวจขนาดใหญ่ (AGOR)
 ไทย เรือ อศ.2 AGSC-2/2498 96 ตัน เรือสำรวจขนาดเล็ก (AGSC)[20]
 ไทย เรือ อศ.3 AGSC-3/2515 86 ตัน เรือสำรวจขนาดเล็ก (AGSC)

เรือใช้งานเครื่องหมายทางเรือ

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือใช้งานเครื่องหมายทางเรือ (ประจำการ 1 ลำ)
ชุดเรือหลวงสุริยะ  ไทย เรือหลวงสุริยะ ABU-821/2522 960 ตัน เรือใช้งานเครื่องหมายทางเรือ (ABU)[20]

เรือลากจูง

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อเรือ หมายเลข/ประจำการ ระวางขับน้ำ หมายเหตุ
เรือลากจูง (ประจำการ 8 ลำ)
ชุดเรือหลวงปันหยี  ไทย เรือหลวงปันหยี
เรือหลวงหลีเป๊ะ[33]
เรือหลวงตาชัย
YTM-857/2560
YTM-858/2563
YTM-859/2566
800 ตัน เรือลากจูงขนาดกลาง (YTM)[20]

ใช้แบบเรือชุดเดียวกันคือ Ramparts 3200 แต่เรือหลวงปันหยี และหลีเป๊ะ ใช้รุ่นย่อย CL[34] เรือหลวงตาชัย ใช้รุ่นย่อย SD[35]

ชุดเรือหลวงริ้น  สิงคโปร์ เรือหลวงริ้น
เรือหลวงรัง
YTM-853/2524
YTM-854/2524
421 ตัน เรือลากจูงขนาดกลาง (YTM)
ชุดเรือหลวงแสมสาร  ไทย เรือหลวงแสมสาร
เรือหลวงแรด
YTM-855/2537
YTM-856/2537
385 ตัน เรือลากจูงขนาดกลาง (YTM)
ชุดเรือหลวงกลึงบาดาล ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา เรือหลวงกลึงบาดาล
เรือหลวงมารวิชัย
YTL-851/2497
YTL-852/2497
63 ตัน เรือลากจูงขนาดเล็ก (YTL)[20]

เรือตรวจการณ์ลำน้ำ

[แก้]
ชุดเรือ ผู้ผลิต ชื่อ หมายเลขตัวเรือ ประจำการ หมายเหตุ
เรือตรวจการณ์ลำน้ำ (ประจำการ 189 ลำ)
ชุด ล.21  สหรัฐอเมริกา ล.21 – ล.26 RPC-21 – RPC-26 6 เรือยนต์ตรวจการณ์ลำน้ำ (RPC)[20]
ชุด ล.31  ไทย ล.31 – ล.3129
/ล.3133 – ล.3135
ABM-31 – ABM-3129
/ ABM-3133 – ABM-3135
132 เรือจู่โจมลำน้ำติดเครื่องท้าย (AB(M))[20]
ชุด ล.3130  ไทย ล.3130 – ล.3132 ABH-3130 – ABH-3132 3 เรือจู่โจมลำน้ำแบบพ่นน้ำ (AB(H))[20]
ชุด ล.41  สหรัฐอเมริกา ล.41 – ล.43 ATC-41 – ATC-43 3 เรือหุ้มเกราะลำเลียงพล (ATC)[20]
ชุด ล.51  สหรัฐอเมริกา ล.51 – ล.56 LCVP-51 – LCVP-56 6 เรือระบายพลขนาดเล็ก (LCVP)[20]
เรือจู่โจมลำน้ำ ชั้นมาร์ค 2  สหรัฐอเมริกา ล.11 – ล.145 R.11 – R.145 39 เรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำ (PBR)[20]

อากาศยาน

[แก้]
รุ่น ผู้ผลิต ประเภท จำนวน หมายเหตุ
อากาศยานปีกตรึง
Dornier 228 ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล 7[36]
F-27  เนเธอร์แลนด์ เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล 1[36]
P-3  สหรัฐอเมริกา เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล 1[36]
ERJ-135 ธงของประเทศบราซิล บราซิล เครื่องบินขนส่งทางทหาร 2[36]
F-27  เนเธอร์แลนด์ เครื่องบินขนส่งทางทหาร 2[36]
เฮลิคอปเตอร์
H-145  ฝรั่งเศส เครื่องบินอเนกประสงค์ 5[36]
Bell 212/Bell 214  สหรัฐอเมริกา เครื่องบินอเนกประสงค์ 8[36]
S-76  สหรัฐอเมริกา เครื่องบินอเนกประสงค์ 5[36]
S-70B/MH-60S  สหรัฐอเมริกา ปราบเรือดำน้ำ, หลายภารกิจ 8[36] S-70 6 ลำ และ MH-60S 2 ลำ
Super Lynx  สหราชอาณาจักร ต่อต้านเรือผิวน้ำ 2[36]
อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับ
Aeronautics Orbiter 3B ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับ ไม่ทราบ[37] ใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563.[37]
Elbit Hermes 900 ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับ ไม่ทราบ[37] สั่งซื้อเมื่อปี พ.ศ. 2565.[37]
Aeronautics Defense Dominator ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับ ไม่ทราบ[37] [ถูกระบุโดยเอกสารโดยบางแหล่ง ตัวเครื่องยังไม่ปรากฏให้เห็น][37]
Boeing Insitu RQ-21 Blackjack  สหรัฐอเมริกา อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับ ไม่ทราบ[37] [ถูกระบุโดยเอกสารโดยบางแหล่ง ตัวเครื่องยังไม่ปรากฏให้เห็น][37]
DTI U-1 'Sky Scout'  ไทย อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับ ไม่ทราบ[37] ไม่ชัดเจนว่าประจำการแค่ในกองทัพบกหรือในกองทัพเรือด้วย (ใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560)[37]
DTI D-Eyes 02  ไทย อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับ ไม่ทราบ[37] ไม่ชัดเจนว่าประจำการแค่ในกองทัพบกหรือในกองทัพเรือด้วย (ใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560)[37]
อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับแบบปีกตรึงขึ้น-ลงทางดิ่ง
TOP Falcon-V  ไทย
ธงของประเทศจีน จีน
อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับแบบปีกตรึงขึ้น-ลงทางดิ่ง ไม่ทราบ[37] ใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560[37]
นารายณ์ 3.0  ไทย อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับแบบปีกตรึงขึ้น-ลงทางดิ่ง 44[38] ใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561[37] (ใช้ในกองทัพเรือและกองบัญชาการกองทัพไทย)[37]
ชีเบล คัมค็อพแทร์ เอส-100 ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับแบบปีกตรึงขึ้น-ลงทางดิ่ง ไม่ทราบ[37] ใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563[37]
NRDO MARCUS-B  ไทย อากาศยานเฝ้าระวังไร้คนขับแบบปีกตรึงขึ้น-ลงทางดิ่ง ไม่ทราบ[37] ใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563[37] (สำหรับใช้งานบนเรือหลวงจักรีนฤเบศร)[37]

อาวุธยุทโธปกรณ์

[แก้]
ปืนใหญ่เรือ OTO Melara ขนาด 76 มม.
ฟาลังซ์ ซีวิซ
ตอร์ปิโด Mk 54
ขีปนาวุธ Mistral
ขีปนาวุธฮาร์พูน
Model ผู้ผลิต ประเภท หมายเหตุ
ปืนใหญ่เรือ
OTO Melara ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี ปืนใหญ่เรือ ขนาด 76 มม. ปืนใหญ่เรือหลักของกองเรือ
Type 79 ธงของประเทศจีน จีน ปืนใหญ่เรือ ขนาด 100 มม. สำหรับชุดเจ้าพระยา
Mk 45  สหรัฐอเมริกา ปืนใหญ่เรือ ขนาด 127 มม. Mk-45 Mod 4 ในเรือฟริเกตชุดเรือหลวงเนรศวร
ปืนใหญ่กล
Rheinmetall Mk 20 Rh-202 ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี ปืนใหญ่กล ขนาด 20 มม.
Oerlikon ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ปืนใหญ่กล ขนาด 20 มม.
DLS GI-2 ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ ปืนใหญ่กล ขนาด 20 มม.
Breda-Mauser ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี ปืนใหญ่กล ขนาด 30 มม.
DS30M  สหราชอาณาจักร ปืนใหญ่กล ขนาด 30 มม.
AK-306 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ปืนใหญ่กล ขนาด 30 มม.
แบบ 76 ธงของประเทศจีน จีน ปืนใหญ่กล ขนาด 37 มม.
Bofors ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน ปืนใหญ่กล ขนาด 40 มม.
ระบบป้องกันระยะประชิด
ฟาลังซ์  สหรัฐอเมริกา ระบบป้องกันระยะประชิด เรือฟริเกต ชุดภูมิพลอดุลยเดช[39]
ปราบเรือดำน้ำ
Yu-8 ธงของประเทศจีน จีน ตอร์ปิโดปราบเรือดำน้ำ Yu-8 ขนาด 533 มม. สำหรับเรือดำน้ำ S26T
Mark 54  สหรัฐอเมริกา ตอร์ปิโดปราบเรือดำน้ำ เรือฟริเกต ชุดภูมิพลอดุลยเดช[39]
RUM-139 VL-ASROC  สหรัฐอเมริกา ขีปนาวุธโจมตีเรือดำน้ำ เรือฟริเกต ชุดภูมิพลอดุลยเดช[39]
ปืนกลหนัก
M2HB  สหรัฐอเมริกา ปืนกลหนัก ปืนกลหนักที่ใช้งานเป็นหลักในกองเรือของกองทัพเรือไทย
ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ
Selenia Aspide ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ สั่งซื้อในปี พ.ศ. 2527 จำนวน 27 ลูก สำหรับใช้ในเรือคอร์เวตชุดรัตนโกสินทร์
อาร์ไอเอ็ม-162 อีเอสเอสเอ็ม  สหรัฐอเมริกา ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ สั่งซื้อ 9 ลูก (ตามแผนปี 64) สำหรับเรือฟริเกตชุดภูมิพลอดุลยเดช[39] และ เรือฟริเกตชุดนเรศวร
Mistral ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ สำหรับเครื่องยิง SADRAL บนเรือหลวงจักรีนฤเบศร
RIM-66 SM-2  สหรัฐอเมริกา ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ เรือฟริเกต ชุดภูมิพลอดุลยเดช[39]
ขีปนาวุธต่อต้านเรือ
ฮาร์พูน  สหรัฐอเมริกา ขีปนาวุธต่อต้านเรือ ขีปนาวุธต่อต้านเรือที่ใช้งานเป็นหลักในกองเรือของกองทัพเรือไทย
C-708UNA ธงของประเทศจีน จีน ขีปนาวุธต่อต้านเรือ สำหรับเรือดำน้ำ S26T
C-802A ธงของประเทศจีน จีน ขีปนาวุธต่อต้านเรือ ชุดใหม่สำหรับเรือหลวงเจ้าพระยา
ทุ่นระเบิดใต้น้ำ
Mk.6  สหรัฐอเมริกา ทุ่นระเบิดใต้น้ำ Mk6 mod 5
Mk.18  สหรัฐอเมริกา ทุ่นระเบิดใต้น้ำ
Mi 9  ไทย ทุ่นระเบิดใต้น้ำล่องหน
Mi 11  ไทย ทุ่นระเบิดใต้น้ำล่องหน

อาวุธทหารราบของกองทัพเรือ

[แก้]

บทความที่เกี่ยวข้อง: รายชื่อยุทโธปกรณ์ในหน่วย บัญชาการนาวิกโยธิน, กองพันลาดตระเวน กองพลนาวิกโยธิน และ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ

รุ่น ผู้ผลิต ประเภท ขนาดลำกล้อง หมายเหตุ
ปืนพก
M1911  ไทย สหรัฐอเมริกา ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ .45 ACP ปืนพก M1911A1 ของไทยผลิตภายใต้ใบอนุญาต มีชื่อเรียกทางราชการว่า ปพ.86[40]
ปืนเล็กยาวจู่โจม
M16A1/A2/A4  ไทย สหรัฐอเมริกา ปืนเล็กยาวจู่โจม 5.56×45 มม. NATO [40]
CQ-A ธงของประเทศจีน จีน ปืนเล็กยาวจู่โจม 5.56×45 มม. NATO ไทป์ CQ เป็นปืนไรเฟิล เอ็ม 16 ที่ไม่มีใบอนุญาตของจีนซึ่งผลิตโดย Norinco[41][40]
เครื่องยิงลูกระเบิด
M203  สหรัฐอเมริกา เครื่องยิงลูกระเบิด 40 มม. [40]

ยุทโธปกรณ์ในอดีต

[แก้]

เรือ

[แก้]
ชุดเรือ ประเทศผู้ผลิต ชื่อเรือ ปีที่ประจำการ หมายเหตุ
เรือลาดตระเวน
ชุดนเรศวร ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี เรือหลวงนเรศวร (I)
เรือหลวงตากสิน (I)
ยกเลิก
ยกเลิก
เรือชั้นเอตนา เป็นหนึ่งในเรือลาดตระเวนต่อต้านอากาศยานลำแรกที่สร้างขึ้นในอิตาลี เดิมสั่งโดยสยาม (ปัจจุบันคือประเทศไทย) มันถูกวางกระดูกงูในปี พ.ศ. 2482 เรือหลวงตากสินจะถูกติดตั้งปืนขนาด 15.2 ซม. จำนวน 6 กระบอก ในปี พ.ศ. 2485 เรือลำนี้ถูกยึดโดยกองทัพเรืออิตาลีเพื่อใช้เป็นเรือลาดตระเวนต่อต้านอากาศยานและเป็นเรือธง เรือลำนี้อยู่ระหว่างการก่อสร้างในเมืองตรีเยสเต เมื่อเมืองดังกล่าวถูกกองทหารเยอรมันยึดได้ หลังจากการยอมจำนนของอิตาลีเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2486 เรือลำนี้จึงถูกจมลงโดยชาวอิตาลีที่กำลังล่าถอย เพื่อป้องกันไม่ให้ชาวเยอรมันนำไปใช้งานต่อ ส่วนสภาพเรืออีกลำเสร็จสมบูรณ์ประมาณ 60% เยอรมันไม่ได้สนใจที่จะดำเนินการต่อเรือต่อ หลังสงคราม ซากเรือดังกล่าวจึงถูกทิ้งลอยไว้ในอู่ต่อเรือในเมืองตรีเยสเตแห่งนั้น
เรือปืนยามฝั่ง
ชุดธนบุรี ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เรือหลวงธนบุรี
เรือหลวงศรีอยุธยา
2481–2484
2481–2494
เรือหลวงธนบุรี เกยตื้นในการรบที่เกาะช้าง ต่อมาได้รับการกู้คืนและพยายามซ่อมแซมความเสียหายครั้งใหญ่ และถูกใช้งานในกองทัพเรือ ในฐานะเรือฝึกจนกระทั่งปลดระวางในปี พ.ศ. 2502 ส่วนหนึ่งของสะพานและป้อมปืนด้านหน้าของเธอได้รับการเก็บรักษาไว้เป็นอนุสรณ์ที่โรงเรียนนายเรือ

เรือหลวงศรีอยุธยา จมลงในกบฏแมนฮัตตัน

ชุดรัตนโกสินทร์ (l)  สหราชอาณาจักร เรือหลวงรัตนโกสินทร์ (l)
เรือหลวงสุโขทัย (l)
2472–2512
2472–2515
เรือดำน้ำ
ชุดมัจฉาณุ ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เรือหลวงมัจฉาณุ
เรือหลวงวิรุณ
เรือหลวงสินสมุทร
เรือหลวงพลายชุมพล
2480–2494
2480–2494
2481–2494
2481–2494
ขายเศษเหล็กทั้งหมดให้ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย ส่วนหนึ่งของโครงสร้างส่วนบนขอเรือหลวงมัจฉาณุ ถูกเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์ทหารเรือ จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย
เรือพิฆาต
ชั้นอาร์  สหราชอาณาจักร เรือหลวงพระร่วง 2463–2500 อดีตเรือ HMS Radiant.
เรือฟริเกต
ชั้นทาโคมา  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงประแส (II)
เรือหลวงท่าจีน (II)
2494–2543
2494–2543
ทั้งสองลำถูกใช้ในสงครามเกาหลี
ชั้น Knox  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงพุทธเลิศหล้านภาลัย
เรือหลวงพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
2540–2558 อดีตเรือ USS Ouellet (2513–2536)
อดีตเรือ USS Truett
เรือสลุปศึก
ชุดเรือหลวงแม่กลอง ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เรือหลวงแม่กลอง
เรือหลวงท่าจีน (I)
2480–2538
2480–2494
ชั้น Aberdare  สหราชอาณาจักร เรือหลวงเจ้าพระยา (I) 2465–2514 อดีตเรือ HMS Havant
เรือคอร์เวต
ชั้น Flower  สหราชอาณาจักร เรือหลวงบางปะกง
เรือหลวงประแส (I)
2490–2528
2490–2494
ใช้ในสงครามเกาหลี
เกยตื้นในสงครามเกาหลี
ชุดเรือหลวงรัตนโกสินทร์ (II)  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงสุโขทัย (II) 2530–2565 จมลงในพายุ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2565[42]
ชุดเรือหลวงตาปี  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงตาปี 2514–2565
เรือตอร์ปิโด
ชุดเรือหลวงตราด (I) ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี เรือหลวงชลบุรี (I)
เรือหลวงตราด (I)
เรือหลวงสงขลา (I)
เรือหลวงภูเก็ต (I)
เรือหลวงปัตตานี (I)
เรือหลวงสุราษฎร์ (I)
เรือหลวงจันทบุรี (I)
เรือหลวงระยอง (I)
เรือหลวงชุมพร (I)
2481–2484
2480–2518
2481–2484
2480–2518
2480–2521
2481–2521
2481–2519
2481–2519
2481–2518
เรือหลวงชลบุรี (I) และ เรือหลวงสงขลา (I) จมในการรบที่เกาะช้าง
เรือหลวงชุมพร (I) ตั้งแสดงเป็นอนุสรณ์ใกล้กับศาลกรมหลวงชุมพรฯ ณ หาดทรายรี จังหวัดชุมพร ประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2523
ชุดเรือหลวงคลองใหญ่ (I) ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เรือหลวงคลองใหญ่ (I)
เรือหลวงกันตัง (I)
เรือหลวงตากใบ (I)
2480–2519
2480–2519
2480–2516
เรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำ
แบบ PC-461  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงสารสินธุ (II)
เรือหลวงทยานชล (II)
เรือหลวงคำรณสินธุ (I)
เรือหลวงพาลี
เรือหลวงสุครีพ
เรือหลวงตองปลิว
เรือหลวงลิ่วลม
เรือหลวงล่องลม (I)
2490–2535
2490–2525
2490–2496
2490–2535
2491–2534
2495–2536
2494–2537
2495–2527
อดีตเรือ USS PC-495.
อดีตเรือ USS PC-575.
อดีตเรือ USS PC-609.
อดีตเรือ USS PC-1185.
อดีตเรือ USS PC-1218.
อดีตเรือ USS PC-616.
อดีตเรือ USS PC-1253.
อดีตเรือ USS PC-570.
เรือตรวจการณ์
แบบ BMB-230 ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี เรือหลวงราชฤทธิ์
เรือหลวงวิทยาคม
เรือหลวงอุดมเดช
2522–2559 เรือเร็วโจมตีอาวุธปล่อยนำวิถี
แบบ FPB-45 ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี เรือหลวงปราบปรปักษ์
เรือหลวงหาญหักศัตรู
เรือหลวงสู้ไพรินทร์
2519–2561 เรือเร็วโจมตีอาวุธปล่อยนำวิถี

คล้ายกับเรือเร็วโจมตีอาวุธปล่อยนำวิถีชั้น Seawolf ของกองทัพเรือสิงคโปร์ (ออกแบบอิงจากเรือเยอรมนี ชั้น Lürssen TNC45 FAC[43])

ชุดเรือหลวงสารสินธุ (I)  ไทย เรือหลวงสารสินธุ (I)
เรือหลวงเทียวอุทก
เรือหลวงตระเวณวารี
2480–2488
2480–2503
2480–2494
เรือตรวจการณ์ประมง[44]

เรือหลวงสารสินธุ (I) ถูกจมโดยเครื่องบินอังกฤษ
เรือหลวงตระเวณวารี จมในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน

เรือปฏิบัติการยุทธ์สะเทินน้ำสะเทินบก, เรือยกพลขึ้นบก, เรือระบายพล
แบบ LST-542  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงอ่างทอง (II)
เรือหลวงช้าง (II)
เรือหลวงพงัน (II)
เรือหลวงลันตา
เรือหลวงพระทอง
2490–2549
2505–2549
2515–2551
2516–2552
2518–2552
อดีตเรือ USS LST-924.
อดีตเรือ USS Lincoln County (LST-898)
อดีตเรือ USS Stark County (LST-1134) เคยใช้งานในสงครามเวียดนาม
อดีตเรือ USS Stone County (LST-1141)
อดีตเรือ USS Dodge County (LST-722)
แบบ LSM-1  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงกูด
เรือหลวงไผ่
เรือหลวงคราม
2489–2546
2490–2547
2505–2545
อดีตเรือ USS LSM-338.
อดีตเรือ USS LSM-333.
อดีตเรือ USS LSM-469.
LCT mark 6  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงมัตโพน (I)
เรือหลวงราวี (I)
เรือหลวงอาดัง
เรือหลวงเภตรา
เรือหลวงโกลำ
เรือหลวงตะลิบง
2489–2551
2489–2551
2489–2551
2491–2551
2490–2551
2490–2551
อดีตเรือ USS LCU-8.
อดีตเรือ USS LCU-9.
อดีตเรือ USS LCU-10.
อดีตเรือ USS LCU-11.
อดีตเรือ USS LCU-12.
อดีตเรือ USS LCU-13.
แบบ LCI-351  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงปราบ
เรือหลวงสัตกูด
2493–2550
2493–2550
อดีตเรือ USS LCI-670.
อดีตเรือ USS LCI-739.
แบบ LCS(L)(3)-1  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงนาคา 2509–2550 อดีตเรือ USS LCS(L)(3)-102/ JMSDF Himawari.
เรือกวาดทุ่นระเบิด
ชุดเรือหลวงบางระจัน (l) ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี เรือหลวงบางระจัน (I)
เรือหลวงหนองสาหร่าย (I)
2481–2523
2481–2523
แบบ YMS-1  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงลาดหญ้า (I)
เรือหลวงบางแก้ว (I)
เรือหลวงท่าดินแดง (I)
2490–2507
2490–2507
2490–2507
อดีตเรือ USS YMS-334.
อดีตเรือ USS YMS-138.
อดีตเรือ USS YMS-353.
แบบ MSC-294  สหรัฐอเมริกา เรือหลวงลาดหญ้า (II)
เรือหลวงท่าดินแดง (II)
2506–2538
2508–2535
อดีตเรือ USS MSC-297.
อดีตเรือ USS MSC-301.
ชั้น Algerine  สหราชอาณาจักร เรือหลวงโพสามต้น (I) 2490–2555 อดีตเรือ HMS Minstrel
เรือสนับสนุนการขนส่ง
ชุดเรือหลวงอ่างทอง (l) ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เรือหลวงอ่างทอง (I) 2461–2494 อดีตเรือหลวงพระที่นั่งมหาจักรี (II)
ชุดเรือหลวงช้าง (l) ? เรือหลวงช้าง (I) 2445–2505
ชุดเรือหลวงสีชัง (l) ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี เรือหลวงสีชัง (I)
เรือหลวงพงัน (I)
2481–2526
2481–2504
ชุดเรือหลวงจุฬา (l) ? เรือหลวงจุฬา (I) 2484–2496
ชุดเรือหลวงเกล็ดแก้ว (II) ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ เรือหลวงเกล็ดแก้ว 2499–2557 อดีตเรือ RNoMS Norfrost
เรือส่งกำลังบำรุง
ชุดเรือหลวงสมุย (l) ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี เรือหลวงสมุย (I) 2479–2488 จมโดยเรือ USS Sealion

อาวุธยุทโธปกรณ์

[แก้]
รุ่น ผู้ผลิต ประเภท ประจำการ จำนวน หมายเหตุ
Sea Cat  สหราชอาณาจักร ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ 2516–2531 15 สำหรับเรือหลวงมกุฎราชกุมาร
Gabriel ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล ขีปนาวุธต่อต้านเรือ 2520–2561 30 สำหรับเรือหลวงปราบปรปักษ์ TNC-45 FAC
C-801 ธงของประเทศจีน จีน ขีปนาวุธต่อต้านเรือ 2534–2552 50
เอ็กโซเซต์ ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ขีปนาวุธต่อต้านเรือ 2523–2562 25

ยุทโธปกรณ์ในอนาคต

[แก้]

แผนการจัดซื้อ

[แก้]

กองทัพเรือไทยมีความพยายามที่จะจัดซื้อเรือดำน้ำเข้ามาเพื่อประจำการมานานหลายปีแล้ว[45] โดยในเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้อนุมัติงบประมาณ 13,500 ล้านบาท (383 ล้านเหรียญสหรัฐ) เพื่อซื้อเรือดำน้ำ S26T ของจีน 1 ลำ ซึ่งเป็นแบบของเรือชั้นหยวน หรือเรือดำน้ำแบบ 039เอ ของจีน.[46][47][48][49] เรือดำน้ำ S26T ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซล มีระวางขับน้ำ 2,400–3,000 ตัน[50] ซึ่งเรือลำนี้คาดว่าจะเป็นเรือลำแรกที่จะได้รับจากคำสั่งซื้อทั้งหมด 3 ลำ มูลค่า 1 พันล้านเหรียญสหรัฐ[48] ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้มีการจัดซื้อเรือดำน้ำลำแรก เมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2560 วงเงิน 1.35 หมื่นล้านบาท (393 ล้านเหรียญสหรัฐ) ซึ่งรวมทั้งระบบอาวุธ อะไหล่ และการถ่ายทอดเทคโนโลยี[51] โดยคาดว่าจะส่งมอบลำแรกให้ได้ในปี พ.ศ. 2566

กองเรือดำน้ำของกองทัพเรือไทย ได้ทำการฝึกปฏิบัติการในเยอรมนีและเกาหลีใต้ ทั้งที่กองทัพเรือไทยนั้นไม่มีเรือดำน้ำประจำการในปัจจุบัน ซึ่งเรือดำน้ำลำสุดท้ายถูกปลดประจำการในปี พ.ศ. 2493 แต่ยังคงมีกองเรือดำน้ำอยู่ สังกัดกองเรือยุทธการ ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 ได้มีการเปิดกองเรือดำน้ำ พร้อมศูนย์ฝึก มูลค่า 17.3 ล้านเหรียญสหรัฐ ณ ท่าเรือสัตหีบ กองบัญชาการหลักของกองทัพเรือไทย

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้อธิบายว่า การซื้อเรือดำน้ำของไทย "ไม่ได้มีเพื่อไปรบไปยิงใคร มีไว้ให้เกรงใจ"[52] พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กล่าวว่า "...ภัยคุกคามต่อดินแดนที่เพิ่มขึ้นและจำนวนภารกิจทางทะเลที่เพิ่มขึ้นทำให้กองทัพเรือต้องเสริมกำลังหน่วยเรือดำน้ำ" [53] โดยมีแผนในการสร้างฐานเรือดำน้ำ 3 ฐานทัพ 1 ลำ ที่อู่ทหารเรือมหิดลอดุลยเดช อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี 1 ลำ ที่อู่เรือดำน้ำนอกชายฝั่งสัตหีบ และ 1 ลำที่ชายฝั่งทะเลอันดามัน ในจังหวัดกระบี่หรือจังหวัดพังงา[53]

กองเรือในอนาคต

[แก้]
Vessel ผู้ผลิต ประเภท ชุดเรือ ระวางขับน้ำ สถานะ หมายเหตุ
เรือดำน้ำ
แบบ S26T ธงของประเทศจีน จีน เรือดำน้ำ ชุดเรือหลวงมัจฉาณุ

(ปรับปรุงจากชั้นหยวน

2,600 ตัน (อนุมัติแล้ว 1 ลำ มีแผนอีก 2 ลำ)
เรือดำน้ำจิ๋ว ชุดเรือหลวงชาละวัน  ไทย เรือดำน้ำจิ๋ว ชาละวัน (ไม่เป็นทางการ) 150–300 ตัน อยู่ในขั้นตอนการออกแบบ งบประมาณ 193 ล้านบาท ลูกเรือ: 10 นาย, พิสัย: 300 ก.ม., ราคา: 1 พันล้านบาท, การส่งมอบ 2567[54]
เรือฟริเกต
เรือหลวงประแส
(FFG-472)
 ไทย
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
เรือฟริเกตล่องหนหลากบทบาท ชั้น DW 3000F 3,700 ตัน เลื่อนออกไป ส่งมอบในปี พ.ศ. 256X
เรือยกพลขึ้นบก
เรือหลวงช้าง
(LPD-792)
ธงของประเทศจีน จีน เรือยกพลขึ้นบก แบบ 071 20,000 ตัน ติดตั้งอุปกรณ์ ส่งมอบในปี พ.ศ. 2566

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 สัญลักษณ์การจัดประเภทตัวเรือ (Hull classification symbol) อ้างอิงมาจากภาพปรากฏบนเครื่องแบบหรือสิ่งของต่าง ๆ ภายในเรือ ที่มีการเผยแพร่บนภาพข่าว เว็บไซต์ หรือโซเชียลมีเดีย

อ้างอิง

[แก้]
  1. Wassana, Nanuam. "Navy submits B36bn plan to buy subs". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 1 Jul 2016.
  2. "Submarine buy wins 'secret' nod".
  3. "When Are China's Submarines Coming to Thailand?". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-07. สืบค้นเมื่อ 2018-08-07.
  4. Wassana, Nanuam (2018-08-29). "Work to begin on China-sourced sub". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 3 September 2018.
  5. Bishop & Chant, Aircraft Carriers, p. 89
  6. แจ๊ค (2023-04-25). "รับ"เรือหลวงช้าง"ลำมหึมา ไทม์ไลน์69ทร.ลุ้นรับ"เรือดำน้ำ"".
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 7.6 7.7 7.8 Trade Registers เก็บถาวร 2010-04-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Armstrade.sipri.org. Retrieved on 2019-11-21.
  8. "Frigate named after Rama IX". Bangkok Post. No. Smart Edition. 2019-01-05. p. 3. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 January 2014. สืบค้นเมื่อ 2019-01-05.
  9. "DSME-Royal Thai Navy make collaboration". Korea Marine Equipment. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2017. สืบค้นเมื่อ 2018-12-19.
  10. Torpedo launchers
  11. นักวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ หมายเลข 679. นาวิกาธิปัตย์สาร. เก็บถาวร 2023-01-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนกรมยุทธศาสตร์กองทัพเรือ กองทัพเรือ, หน้า 103
  12. "Navy to build B5.5bn missile-equipped patrol vessel". Bangkok Post. 29 February 2016.
  13. "Navy to build B5.5bn missile-equipped patrol vessel". Bangkok Post. 29 Feb 2016.
  14. "กองทัพเรือภาคที่ 2 จัดงานวันเด็กแห่งชาติ". เนชั่นทีวี. 2015-01-10.
  15. "Royal Thai Navy - Detail History". www.fleet.navy.mi.th.
  16. "Royal Thai Navy - Detail Main". www.navy.mi.th.
  17. "Thai Shipyard Marsun to supply M58 Patrol Gun Boat for Royal Thai Navy". Navy Recognition. 2013-11-10. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 November 2013. สืบค้นเมื่อ 1 July 2016.
  18. "M58 Patrol Gun Boat". Marsun Shipbuilding. 2 July 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2016. สืบค้นเมื่อ 1 July 2016.
  19. "Royal Thai Navy - Detail History". www.fleet.navy.mi.th.
  20. 20.00 20.01 20.02 20.03 20.04 20.05 20.06 20.07 20.08 20.09 20.10 20.11 20.12 20.13 20.14 20.15 20.16 20.17 20.18 20.19 มาตรฐานงานช่าง กรมอู่ทหารเรือ. มอร. 200-0002-1148 การวิเคราห์การสั่นสะเทือนในเรือ. เก็บถาวร 2023-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน กองทัพเรือ, หน้า 38-43
  21. Sukom (วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560). "THAIDEFENSE-NEWS: เรือหลวงคลองใหญ่ (PGB-522) เรือตรวจการณ์ปืนแห่งราชนาวีไทย". THAIDEFENSE-NEWS. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  22. "ทร.รับมอบเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง 'ต.232'จำนวน6ลำ". dailynews. 2016-11-30.
  23. "ผบ.ทร.รับมอบเรือตรวจการณ์ชายฝั่ง ชุดเรือ ต.270-274 เข้าประจำการ 5 ลำ". www.thairath.co.th. 2018-11-22.
  24. "ShipTech3: Marson receiving order for 5 M21 boats". Thaiarmedforce.com. 3 March 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-03. สืบค้นเมื่อ 2016-07-01.
  25. Sukom (วันพุธที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2561). "THAIDEFENSE-NEWS: แนะนำเรือหลวงสิมิลัน (871)". THAIDEFENSE-NEWS. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  26. ""ผบ.ทร."รับมอบ "เรือหลวงมาตรา"". เนชั่นทีวี. 2014-06-27.
  27. "หมวกแก๊ปเรือหลวงมาตรา". NAVYCAPTHAI.
  28. "Royal Thai Navy | ยุทโธปกรณ์ในกองทัพเรือไทย". thaiarmedforce. 2019-05-02.
  29. Grindley, David (2014-11-11), Royal Thai Navy HTMS Samed (YO 835) Proet Class Fuel Barge Sattahip Naval Base Thailand, สืบค้นเมื่อ 2023-01-22
  30. "Oiler". www.wings-aviation.ch. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-01-22. สืบค้นเมื่อ 2023-01-26.
  31. "ทร.แจงอุบัติเหตุ 'รล.จวง' ถูก 'เรือบรรทุกสารเคมี' ชน". bangkokbiznews. 2019-03-01.
  32. Limited, Alamy. "GULF OF THAILAND (Feb. 19, 2019) – Lt. j.g. Thongtai Jaroenpas, assigned to the Royal Thai Navy minehunter coastal HTMS Nong Sarai (MHC 632), dons a fire fighting flash hood aboard the amphibious transport dock ship USS Green Bay (LPD 20) Stock Photo - Alamy". www.alamy.com (ภาษาอังกฤษ).{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  33. "Auxiliaries - Tug". wings-aviation.ch. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-01-20. สืบค้นเมื่อ 7 October 2022.
  34. "จังหวัดชลบุรี กองทัพเรือ จัดพิธีรับมอบเรือลากจูงขนาดกลาง ..." nbtworld.prd.go.th.[ลิงก์เสีย]
  35. หนึ่ง (2023-01-25). "ทร. จัดพิธีปล่อย 'เรือหลวงตาชัย' หนุนภารกิจเรือขนาดใหญ่-เรือดำน้ำ".
  36. 36.00 36.01 36.02 36.03 36.04 36.05 36.06 36.07 36.08 36.09 "World Air Forces 2021". FlightGlobal. 4 December 2020. สืบค้นเมื่อ 5 January 2021.
  37. 37.00 37.01 37.02 37.03 37.04 37.05 37.06 37.07 37.08 37.09 37.10 37.11 37.12 37.13 37.14 37.15 37.16 37.17 37.18 37.19 37.20 Oryx. "Thai Thunderbirds: Thailand's Expansive UAV Fleet". Oryx. สืบค้นเมื่อ 2022-09-17.
  38. "#กองทัพเรือ ส่งมอบ #อากาศยานไร้นักบิน แบบนารายณ์จำนวน 44 ระบบ". thaiarmedforce. 2020-06-29.
  39. 39.0 39.1 39.2 39.3 39.4 "World Navies Today: Thailand". Hazegray.org. 2002-03-25. สืบค้นเมื่อ 2010-04-13.
  40. 40.0 40.1 40.2 40.3 armedforce, thai (26 September 2019). "royal-thai-navy-ยุทโธปกรณ์ในกองทัพเรือ". thaiarmedforce.com. สืบค้นเมื่อ 1 November 2019.
  41. "Multiplying the Sources: Licensed and Unlicensed Military Production" (PDF). Geneva: Small Arms Survey. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 23 December 2016. สืบค้นเมื่อ 21 September 2016.
  42. Nanuam, Wassana (19 December 2022). "Navy ship sinks in storm, 31 sailors missing". Bangkok Post (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-12-21.
  43. "Naval vessels as built by Lurssen GmbH". Lurssen.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-19. สืบค้นเมื่อ 2011-05-03.
  44. "เรือหลวงตระเวณวารี – Seafarer Library" (ภาษาอังกฤษ).
  45. Parameswaran, Prashanth (2017-01-20). "When Are China's Submarines Coming to Thailand?". The Diplomat. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2018. สืบค้นเมื่อ 3 September 2018.
  46. Nanuam, Wassana (25 April 2017). "Submarine buy wins 'secret' nod". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 3 September 2018.
  47. "Royal Thai Navy announces plan to buy Chinese Yuan-class submarines". IHS Jane's 360. 3 July 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 June 2016. สืบค้นเมื่อ 20 May 2016.
  48. 48.0 48.1 Wassana, Nanuam (1 July 2016). "Navy submits B36bn plan to buy subs". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 2016-07-01.
  49. Voytenko, Mikhail (19 December 2017). "Chinese AIP submarines not the best choice". Maritime Bulletin. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 December 2017. สืบค้นเมื่อ 20 December 2017.
  50. Mark, Eugene (20 July 2016). "Does Thailand Really Need Submarines?". The Diplomat. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 July 2016. สืบค้นเมื่อ 23 July 2016.
  51. "Thailand approves $393-mln purchase of Chinese submarines". Reuters. 24 April 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 May 2017. สืบค้นเมื่อ 24 April 2017.
  52. Macan-Markar, Marwaan (2 February 2017). "Thailand and China: Brothers in arms". Nikkei Asian Review. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2017. สืบค้นเมื่อ 2 February 2017.
  53. 53.0 53.1 Nanuam, Wassana (7 March 2017). "Navy wants 3 dockyards for submarines". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 7 March 2017.
  54. Nanuam, Wassana (18 July 2018). "PM approves 'midget' subs for navy". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 18 July 2018.