เฟแล็งกซ์ซีวิซ
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ระบบป้องกันระยะประชิดฟาลังซ์)
เฟแล็งกซ์ซีวิซ | |
---|---|
เฟแล็งกซ์ (บล็อก 1เอ) ขณะทดสอบครั้งแรก | |
ชนิด | ระบบอาวุธต่อตีประชิด |
แหล่งกำเนิด | สหรัฐอเมริกา |
บทบาท | |
ประจำการ | พ.ศ. 2523-ปัจจุบัน |
ผู้ใช้งาน | ดูที่ operators |
สงคราม | สงครามอ่าวเปอร์เซีย |
ประวัติการผลิต | |
ผู้ออกแบบ | เจเนอรัลไดนามิค (ปัจจุบันคือ เรย์เทียน) |
บริษัทผู้ผลิต | เจเนอรัลไดนามิค (ปัจจุบันคือ เรย์เทียน) |
ช่วงการผลิต | พ.ศ. 2521 |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | 12,500 lb (5,700 kg), รูปแบบต่อมา 13,600 lb (6,200 kg) |
ความยาวลำกล้อง | • บล็อก 0 & 1 (กระบอกปืน L76): 1,520 มม. • บล็อก 1บี (กระบอกปืน L99): 1,981 มม.[1] |
ความสูง | 4.7 เมตร |
ลูกเรือ | อัตโนมัติ, ตรวจการณ์เกินระยะตรวจจับโดยมนุษย์ |
ปลอกกระสุน | • ทางทะเล: กระสุนเจาะเกราะ ทังสเตน penetrator rounds with discarding ซาบอท • ทางบก: กระสุนระเบิดเพลิงแรงสูง กระสุนส่องวิถี, ระบบทำลายตนเอง |
ขนาดลำกล้องปืน | 20×102 มม. |
ความยาวลำกล้อง | 6 |
มุมกระดก | • บล็อก 0: -10°/+80° • บล็อก 1: -20°/+80° (ระดับมุมเงย: 86°/วินาที สำหรับบล็อก 0/1) • บล็อก 1บี: -25°/+85° (ระดับมุมเงย: 115°/วินาที)[1] |
มุมทิศ | • 150° ทั้งสองทิศทางจากจุดศูนย์กลาง (ระดับการหมุน: 100°/วินาที สำหรับบล็อก 0 & 1, 116°/วินาที สำหรับบล็อก 1บี)[1] |
อัตราการยิง | 3,000-4,500 นัด/นาที [ปรับแต่งได้] (50-75 นัด/วินาที). |
ความเร็วปากกระบอก | 1,100 เมตร/วินาที (3,600 ฟุต/วินาที)[1] |
ระยะหวังผล | 3.6 กม. (2.2 ไมล์)[1] |
พิสัยไกลสุด | ไม่ระบุ[2] |
อาวุธหลัก | 1× 22 มม. (0.79 นิ้ว) ปืนใหญ่แกตลิ่ง 6 ลำกล้อง เอ็ม 61 |
ระบบนำวิถี | เรดาร์ย่านความถี่เคยูแบนด์ และ เฟลอร์[3] |
เฟแล็งกซ์ซีวิซ (Phalanx CIWS) เป็นระบบอาวุธต่อตีประชิด ซึ่งติดตั้งบนเรือรบผิวน้ำและฐานยิงบนบก พัฒนาและผลิตโดยบริษัทเจเนอรัลไดนามิค แผนกโพโนมา[4] (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึงของเรย์เทียน) ประกอบไปด้วยเรดาร์ตรวจจับชี้เป้า และปืนกลแกตลิ่ง 20 มม. ติดตั้งบนฐานหมุน
เฟแล็งกซ์ซีวิซติดตั้งบนเรือรบผิวน้ำของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาทุกชั้น กองเรือยามฝั่งสหรัฐอเมริกา และกองทัพเรือพันธมิตรอีก 23 ประเทศ ในส่วนของระบบเฟแล็งกซ์รุ่นฐานยิงบนบกนั้น เรียกอีกชื่อว่า ซี-แรม ติดตั้งเป็นระบบป้องกันอาวุธนำวิถีระยะใกล้ จรวด และกระสุนปืนใหญ่[5]
เฟแล็งกซ์ซีวิซสามารถตั้งค่าอัตราการยิงได้สองอัตรา คือ 3,000 รอบ หรือ 4,500 รอบต่อนาที การทำงานแต่ละวินาทีจึงมีต้นทุนค่าเครื่องกระสุนกว่า 3,500 ดอลลาร์ต่อวินาที[6]
ประเทศผู้ใช้งาน
[แก้]- ออสเตรเลีย[7]
- บาห์เรน[7]
- แคนาดา[7]
- กรีซ[8]
- อียิปต์[9]
- อิสราเอล[7]
- ญี่ปุ่น[9]
- นิวซีแลนด์[7]
- ปากีสถาน[7]
- โปแลนด์[7]
- โปรตุเกส[9]
- ซาอุดีอาระเบีย[7]
- ไทย[10]
- ไต้หวัน[7]
- สหรัฐ[9]
- สหราชอาณาจักร[9]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ John Pike (2005-04-27). "MK 15 Phalanx Close-In Weapons System (CIWS)". Globalsecurity.org. สืบค้นเมื่อ 2010-04-13.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-10-07. สืบค้นเมื่อ 2011-07-19.
- ↑ Thomas, Vincent C. The Almanac of Seapower 1987 Navy League of the United States (1987) ISBN 0-9610724-8-2 หน้า.191
- ↑ "Murdoc online March 20, 2006 CIWS now does surface targets, too". Murdoconline.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-12. สืบค้นเมื่อ 2010-04-13.
- ↑ Joseph Trevithick. Phalanx CIWS Costs $3,500 Per Second In Ammo To Fire 13 มีนาคม 2024
- ↑ 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 7.6 7.7 7.8 "Mk 15 Phalanx Block 0 / CIWS, Close-In Weapon System". Deagel.com. 2010-03-07. สืบค้นเมื่อ 2010-04-13.
- ↑ "World Navies Today: Greece". Hazegray.org. 2002-03-24. สืบค้นเมื่อ 2010-04-13.
- ↑ 9.0 9.1 9.2 9.3 9.4 "Mk 15 Phalanx Block 1B / CIWS, Close-In Weapon System". Deagel.com. สืบค้นเมื่อ 2010-04-13.
- ↑ "World Navies Today: Thailand". Hazegray.org. 2002-03-25. สืบค้นเมื่อ 2010-04-13.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เฟแล็งกซ์ซีวิซ