เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์
เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ เป็นเรือบรรทุกอากาศยานที่มีหน้าที่หลักในการใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหลัก นอกจากนี้เครื่องบินบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ยังได้ถูกใช้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานต่อต้านเรือดำน้ำและเรือโจมตีสะเทินน้ำสะเทินบกอีกด้วย
เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์สามารถมีความยาวของดาดฟ้าเรือเต็มที่ได้เท่ากับเรือรบหลวงโอเชี่ยนของราชนาวีอังกฤษ[1]หรือมีลานจอดขนาดใหญ่สำหรับเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งส่วนมากจะอยู่ที่กราบเรือ เหมือนกับเรือชั้นมอสคาว่าของกองทัพเรือโซเวียตหรือเรืออาร์กัสของกองเรือหลวงสนับสนุนของราชนาวีอังกฤษ ดาดฟ้าเรือที่มีความยาวเต็มที่นั้นออกแบบมาเพื่อให้มีพื้นที่ในการลงจอดสำหรับเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งการออกแบบดังกล่าวยังถูกนำเอาไปใช้ในโรงเก็บอากาศยานบนเรืออีกด้วย
การนิยามเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์แบบแท้จริงในศตวรรษที่ 21 นั้นนับว่าเป็นเรื่องยาก นั้นก็เพราะมีการสร้างอากาศยานปีกนิ่งที่ลงจอดในแนวดิ่งขึ้นมา เช่น แฮริเออร์จัมพ์เจ็ท ซึ่งมีการจัดชนิดที่ซับซ้อน ตัวอย่างเช่น ในกรณีของเรือโจมตีสะเทื้อนน้ำสะเทื้อนบกชั้นวาสป์ของนาวิกโยธินสหรัฐ ที่บรรทุกเครื่องบินแฮริเออร์ 6-8 ลำ พร้อมกับเฮลิคอปเตอร์อีก 30 ลำ ดังนั้นจึงมีแค่เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเล็กที่ไม่สามารถบรรทุกเครื่องบินแฮริเออร์และเรือบรรทุกอากาศยานยุคก่อนการสร้างเครื่องบินแฮริเออร์เท่านั้นที่จัดได้ว่าเป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์อย่างแท้จริง ในหลายกรณี เรือบรรทุกอากาศยานที่สามารถบรรทุกเครื่องบินปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งได้นั้นจะถูกจัดเป็นเรือบรรทุกอากาศยานขนาดเล็ก เรือแบบอื่นๆ อย่างเรือชั้นวาสป์นั้นสามารถบรรทุกทหารราบและส่งพวกเขาขึ้นบกได้ เรือดังกล่าวจึงถูกจัดว่าเป็นเรือโจมตีสะเทินน้ำสะเทินบก
เรือรบหลวงเฮอร์เมสและเรือพี่น้องของมันอีกสองลำเป็นกองเรือบรรทุกอากาศยานขนาด 20,000 ตันที่ถูกเปลี่ยนให้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานคอมมานโดที่บรรทุกเพียงแต่เฮลิคอปเตอร์เท่านั้น ต่อมาเรือเฮอร์เมสได้ถูกเปลี่ยนเป็นเรือบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งแทน
เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์แบ่งตามประเทศ
[แก้]ประเทศ | นาวี | ประจำการ | ปลดประจำการ | อยู่ระหว่างการก่อสร้าง |
---|---|---|---|---|
ออสเตรเลีย | ราชนาวีออสเตรเลีย | 2 | 0 | 0 |
อียิปต์ | กองทัพเรืออียิปต์ | 2 | 0 | 0 |
ฝรั่งเศส | กองทัพเรือฝรั่งเศส | 3 | 0 | 0 |
อินเดีย | กองทัพเรืออินเดีย | 2 | 0 | 0 (+ 4 planned) |
ญี่ปุ่น | กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น | 4 | 0 | 0 |
เกาหลีใต้ | กองทัพเรือสาธารณรัฐเกาหลี | 1 | 0 | 1 |
สเปน | กองทัพเรือสเปน | 1 | 0 | 0 |
ตุรกี | กองทัพเรือตุรกี | 0 | 0 | 1 |
สหราชอาณาจักร | ราชนาวี | 2 | 0 | 0 |
สหรัฐอเมริกา | กองทัพเรือสหรัฐ | 9 | 3 | 1 (+ 10 planned) |
เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์
[แก้]เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ปัจจุบันที่ใช้
[แก้]ประเทศ | ชื่อ (รหัส) | ความยาว | ระวางขับน้ำ (ตัน) | ชั้น | พลังงาน | ประเภท | การจัดแบ่งประเภท | เสร็จสมบูรณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ออสเตรเลีย | Canberra (L02) | 230.82 m (757.3 ft) | 27,500 mt | Canberra (modified Juan Carlos I) |
Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 28 November 2014 |
ออสเตรเลีย | Adelaide (L01) | 230.82 m (757.3 ft) | 27,500 mt | Canberra (modified Juan Carlos I) |
Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 4 December 2015 |
อียิปต์ | Gamal Abdel Nasser (L1010) | 199 m (653 ft) | 21,300 mt | Mistral | Conventional | VTOL | Landing Helicopter Dock | 2 June 2016 [2] |
อียิปต์ | Anwar El Sadat (L1020) | 199 m (653 ft) | 21,300 mt | Mistral | Conventional | VTOL | Landing Helicopter Dock | 16 September 2016 |
ฝรั่งเศส | Mistral (L9013) | 199 m (653 ft) | 21,300 mt | Mistral | Conventional | VTOL | Landing Helicopter Dock | December 2005 |
ฝรั่งเศส | Tonnerre (L9014) | 199 m (653 ft) | 21,300 mt | Mistral | Conventional | VTOL | Landing Helicopter Dock | December 2006 |
ฝรั่งเศส | Dixmude (L9015) | 199 m (653 ft) | 21,300 mt | Mistral | Conventional | VTOL | Landing Helicopter Dock | December 2011 |
ญี่ปุ่น | JS Kaga (DDH-184) | 248 m (814 ft) | 27,000 mt | Izumo | Conventional | VTOL | Helicopter destroyer | 22 March 2017 |
ญี่ปุ่น | JS Izumo (DDH-183) | 248 m (814 ft) | 27,000 mt | Izumo | Conventional | VTOL | Helicopter destroyer | 25 March 2015 |
ญี่ปุ่น | JS Hyūga (DDH-181) | [3] | 197 m (646 ft)19,000 mt | Hyūga | Conventional | VTOL | Helicopter destroyer | 18 March 2009 |
ญี่ปุ่น | JS Ise (DDH-182) | [3] | 197 m (646 ft)19,000 mt | Hyūga | Conventional | VTOL | Helicopter destroyer | 16 March 2011 |
เกาหลีใต้ | Dokdo (LPH-6111) | 199 m (653 ft) | 18,800 mt | Dokdo | Conventional | VTOL | Landing Platform Helicopter | 3 July 2007 |
สเปน | Juan Carlos I (L-61) | 230.82 m (757.3 ft) | 27,079 mt | Juan Carlos I | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 30 September 2010 |
สหราชอาณาจักร | Ocean (L12) | 203.4 m (667 ft) | 21,500 mt | Ocean | Conventional | VTOL | Landing Platform Helicopter | 30 September 1998 |
สหราชอาณาจักร | Argus (A135)[4] | 175.1 m (574 ft) | 20,081 mt | Unique merchant conversion | Conventional | VTOL | Aviation Training Ship | 1 June 1988 |
สหรัฐอเมริกา | America (LHA-6) | 257.3 m (844 ft) | 45,000 mt | America[5] | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Assault | 11 October 2014[6] |
สหรัฐอเมริกา | Wasp (LHD-1) | 257 m (843 ft) | 40,532 mt | Wasp[5] | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 29 July 1989 |
สหรัฐอเมริกา | Essex (LHD-2) | 257 m (843 ft) | 40,650 mt | Wasp | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 17 October 1992 |
สหรัฐอเมริกา | Kearsarge (LHD-3) | 257 m (843 ft) | 40,500 mt | Wasp | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 16 October 1993 |
สหรัฐอเมริกา | Boxer (LHD-4) | 257 m (843 ft) | 40,722 mt | Wasp | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 11 February 1995 |
สหรัฐอเมริกา | Bataan (LHD-5) | 257 m (843 ft) | 40,358 mt | Wasp | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 20 September 1997 |
สหรัฐอเมริกา | Bonhomme Richard (LHD-6) | 257 m (843 ft) | 40,500 mt | Wasp | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 15 August 1998 |
สหรัฐอเมริกา | Iwo Jima (LHD-7) | 257 m (843 ft) | 40,530 mt | Wasp | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 30 June 2001 |
สหรัฐอเมริกา | Makin Island (LHD-8) | 258 m (846 ft) | 41,649 mt | Wasp | Conventional | STOVL | Landing Helicopter Dock | 24 October 2009 |
ปลดเป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์
[แก้]- USS Iwo Jima (United States Navy) - the lead ship of the Iwo Jima class
- HMS Bulwark, HMS Albion, (Royal Navy) - helicopter carriers of the 1960s-1980s
- Moskva class (Soviet Navy)
- Vittorio Veneto class (Italian Marina Militare)
- Jeanne d'Arc (French Navy, decommissioned in 2010)
- USCGC Cobb (WPG-181) (US Coast Guard, decommissioned in 1946) - World's first helicopter carrier.
- HMS Illustrious (Royal Navy) An Invincible-class light aircraft carrier, which operated as a helicopter carrier when HMS Ocean was being refitted.[7]
เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
[แก้]- Mistral class amphibious assault ship. Two ships under construction for the Russian Navy. More ordered.
- เรือพิฆาตบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้นอิซูโมะ (JMSDF).
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ http://www.naval-technology.com/projects/ocean/
- ↑ "DCNS DELIVERS THE SECOND MISTRAL-CLASS HELICOPTER CARRIER TO THE EGYPTIAN NAVY, THE LHD ANWAR EL SADAT". 16 September 2016.
- ↑ 3.0 3.1 "Hyuga Class". JMSDF Gallery(Japanese). JMSDF. สืบค้นเมื่อ 27 February 2015.
- ↑ B. Ireland and F. Crosby (2011). The Illustrated Encyclopaedia of Aircraft Carriers And Naval Aircraft. Hermes House. p. 189.
{{cite book}}
: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) - ↑ 5.0 5.1 World Wide Aircraft Carriers
- ↑ "America 'Sails Away' for Maiden Transit to San Diego Homeport". United States Navy. 10 October 2014.
- ↑ "BBC News - Warship HMS Illustrious starts sea trials". Bbc.co.uk. 2011-06-17. สืบค้นเมื่อ 2014-04-20.