ข้ามไปเนื้อหา

อิสยาห์ 3

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อิสยาห์ 3
ม้วนหนังสืออิสยาห์ ม้วนคัมภีร์ไบเบิลที่พบที่คุมรานตั้งแต่ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาลที่เก็บรักษาอย่างดีที่สุด มีทุกวรรคของบทนี้
หนังสือหนังสืออิสยาห์
ภาคในคัมภีร์ฮีบรูเนวีอีม
ลำดับในภาคของคัมภีร์ฮีบรู5
หมวดหมู่ผู้เผยพระวจนะยุคหลัง
ภาคในคัมภีร์ไบเบิลคริสต์พันธสัญญาเดิม
ลำดับในภาคของคัมภีร์ไบเบิลคริสต์23

อิสยาห์ 3 (อังกฤษ: Isaiah 3) เป็นบทที่ 3 ของหนังสืออิสยาห์ในคัมภีร์ฮีบรูหรือพันธสัญญาเดิมในคัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์[1] หนังสืออิสยาห์ประกอบด้วยเนื้อหาคำเผยพระวจนะซึ่งถือกันว่าเป็นผลงานของผู้เผยพระวจนะอิสยาห์ และเป็นหนังสือเล่มหนึ่งในหมวดหนังสือผู้เผยพระวจนะ[2] บทที่ 3 ของหนังสืออิสยาห์อธิบายว่าผู้นำที่ทุจริตนำการล่มสลายของสภาพสังคมของเยรูซาเล็มมาได้อย่างไร[3] และมีคำเผยพระวจนะของอิสยาห์ที่ว่า "เพราะบาปของประชาชน พระเจ้าจะทรงนำผู้มีปัญญาออกไป และมอบเจ้านายที่โง่เขลาให้พวกเขา"[4]

ต้นฉบับ[แก้]

บทนี้เดิมเขียนด้วยภาษาฮีบรู บทแบ่งออกเป็น 26 วรรค

พยานต้นฉบับ[แก้]

บางสำเนาต้นฉบับในยุคต้นที่มีข้อความของบทนี้เป็นภาษาฮีบรูมีลักษณะเป็นต้นฉบับเมโซเรติก (Masoretic Text) ได้แก่ ฉบับไคโร (Codex Cairensis; ค.ศ. 895) หนังสือผู้เผยพระวจนะฉบับปีเตอส์เบิร์ก (Petersburg Codex of the Prophets; ค.ศ. 916) ฉบับอะเลปโป (Aleppo Codex; ศตวรรษที่ 10) และฉบับเลนินกราด (Leningrad Codex; ค.ศ. 1008)[5]

ชิ้นส่วนที่มีข้อความบางส่วนของบทนี้ในภาษาฮีบรูถูกพบในม้วนหนังสือเดดซี (ศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลหรือหลังจากนั้น) ได้แก่:

ยังมีฉบับแปลเป็นภาษากรีกคอยนีที่รู้จักในชื่อเซปทัวจินต์ (ทำขึ้นในช่วงไม่กี่ศตวรรษสุดท้ายก่อนคริสตกาล) บางสำเนาต้นฉบับที่หลงเหลือในเซปทัวจินต์ ได้แก่ ฉบับวาติกัน (Codex Vaticanus; B; B; ศตวรรษที่ 4) ฉบับซีนาย (Codex Sinaiticus; S; BHK: S; ศตวรรษที่ 4) ฉบับอะเล็กซานเดรีย (Codex Alexandrinus; A; A; ศตวรรษที่ 5) และฉบับมาร์ชาล (Codex Marchalianus; Q; Q; ศตวรรษที่ 6)[9]

การพิพากษาเยรูซาเล็มและยูดาห์ (3:1–15)[แก้]

คำเตือนถึงธิดาแห่งศิโยน (3:16–26)[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Coggins 2007, p. 439.
  2. Coggins 2007, pp. 433–436.
  3. Motyer 2015, p. 59.
  4. Chapter heading, Geneva Bible (1599), Isaiah chapter 3
  5. Würthwein 1995, pp. 35–37.
  6. Jull, Timothy A. J.; Donahue, Douglas J.; Broshi, Magen; Tov, Emanuel (1995). "Radiocarbon Dating of Scrolls and Linen Fragments from the Judean Desert". Radiocarbon. 37 (1): 14. สืบค้นเมื่อ 11 July 2017.
  7. Fitzmyer, Joseph A. (2008). A Guide to the Dead Sea Scrolls and Related Literature. Grand Rapids, MI: William B. Eerdmans Publishing Company. p. 36. ISBN 9780802862419. สืบค้นเมื่อ February 15, 2019.
  8. Ulrich, Eugene, บ.ก. (2010). The Biblical Qumran Scrolls: Transcriptions and Textual Variants. Brill. pp. 469. ISBN 9789004181830. สืบค้นเมื่อ May 15, 2017.
  9. Würthwein 1995, pp. 73–74.

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ศาสนายูดาห์[แก้]

ศาสนาคริสต์[แก้]