อักษรครันถะ
หน้าตา
อักษรครันถะ | |
---|---|
คำว่า "ครันถะ" ในอักษรครันถะ | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | คริสต์ศตวรรษที่ 7 - ปัจจุบัน[1][2] (ไม่รวมปัลลวะครันถะ) |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | ภาษาทมิฬและภาษาสันสกฤต |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | อักษรพราหมี
|
ระบบลูก | มลยาฬัม ดิเวส อกุรุ เสาราษฏร์ Tigalari[4] |
ระบบพี่น้อง | ทมิฬ, มอญเก่า, เขมร, จาม, กวิ |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Gran (343), Grantha |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Grantha |
ช่วงยูนิโคด | U+11300–U+1137F |
อักษรครันถะ (𑌗𑍍𑌰𑌨𑍍𑌥, เทวนาครี: ग्रन्थ หมายถึง "หนังสือ" หรือ "จารึก") หรือ อักษรคฤนถ์ [5] หรือ อักษรคฤณถ์ [6] พัฒนามาจากอักษรพราหมี เริ่มปรากฏเมื่อราวพ.ศ. 1043 อักษรส่วนใหญ่ที่ใช้ในอินเดียใต้ มาจากอักษรปัลลวะ และมีอิทธิพลต่ออักษรสิงหล และอักษรไทยด้วย ชาวทมิฬใช้อักษรนี้เขียนภาษาสันสกฤต และยังคงใช้ในโรงเรียนสอนคัมภีร์พระเวท ของศาสนาฮินดูในปัจจุบัน
อักษร
[แก้]พยัญชนะ
[แก้]ตัวเดี่ยว
[แก้]ประกอบรวม
[แก้]สระ
[แก้]ตัวเลข
[แก้]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Grantha alphabet (writing system) – Britannica Online Encyclopedia". Britannica.com. สืบค้นเมื่อ 2012-03-11.
- ↑ Diringer, David (1948). Alphabet a key to the history of mankind. p. 411.
- ↑ Handbook of Literacy in Akshara Orthography, R. Malatesha Joshi, Catherine McBride(2019),p.28
- ↑ Grantha, Omniglot (2014)
- ↑ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
- ↑ ธวัช ปุณโณทก. อักษรไทยโบราณ ลายสือไทย และวิวัฒนาการของชนชาติไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 34
ข้อมูล
[แก้]- Grünendahl, Reinhold. (2001). South Indian Scripts in Sanskrit Manuscripts And Prints. Wiesbaden, Germany: Harrassowitz Verlag. ISBN 3-447-04504-3
- Venugopalan, K. (1983). A primer in Grantha characters.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ อักษรครันถะ