ข้ามไปเนื้อหา

อักษรลัณฑา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรลัณฑา
ชนิด
ช่วงยุค
คริสต์ศตวรรษที่ 10
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
อักษรคุรมุขี, ขุทาพาที, โขชกี, มหาชนี, Multani
ระบบพี่น้อง
ฏากรี
[a] ต้นกำเนิดอักษรพราหมีจากเซมิติกไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ
ตารางอักษรลัณฑา

อักษรลัณฑา (लण्डा; Laṇḍā; แปลว่า "ไม่มีหาง") เป็นศัพท์ภาษาปัญจาบที่สื่อถึงระบบการเขียนที่เคยใช้ในแคว้นปัญจาบและพื้นที่ใกล้เคียงในอนุทวีปอินเดียเหนือ[1] ในภาษาสินธีมีชื่อเรียกว่า 'Waniko' หรือ 'Baniyañ'[2] อักษรนี้พัฒนามาจากอักษรศารทาเมื่อราว พ.ศ. 1500 ใช้เขียนภาษาปัญจาบ โดยชาวปัญจาบและชาวสินธ์ แต่ไม่เหมาะสม เพราะภาษาปัญจาบมีเสียงเพิ่มเติมขึ้น จนราว พ.ศ. 2100 อักษรนี้เป็นแม่แบบ ในการประดิษฐ์อักษรใหม่คือ อักษรคุรมุขีที่เหมาะกับภาษาปัญจาบมากกว่า เมื่อประมาณ พ.ศ. 2390 นำอักษรลัณฑะมาใช้เขียนภาษาสินธี ในช่วงสั้น ๆ ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ อักษรเทวนาครีและอักษรอาหรับดัดแปลงแทนในอีก 50 ปีต่อมา

อ้างอิง

[แก้]
  1. 中西 亮(Nakanishi, Akira) (1980-01-01). Writing systems of the world: alphabets, syllabaries, pictograms (ภาษาอังกฤษ). Rutland, Vt.; Tokyo, Japan: C.E. Tuttle Co. pp. 50-51. ISBN 0804812934.
  2. Pollock, Sheldon; Raghunathan, Arvind (2003). Literary Cultures in History: Reconstructions from South Asia. University of California Press. p. 623. ISBN 9780520228214.

อ่านเพิ่ม

[แก้]