ข้ามไปเนื้อหา

สุริยุปราคา 1 กันยายน พ.ศ. 2559

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สุริยุปราคา 1 กันยายน พ.ศ. 2559
สุริยุปราคาจากลีตองซาลีในเรอูนียง
แผนที่
ประเภท
ประเภทวงแหวน
แกมมา-0.333
ความส่องสว่าง0.9736
บดบังมากที่สุด
ระยะเวลา157 วินาที (2 นาที 37 วินาที)
พิกัด10°42′S 37°48′E / 10.7°S 37.8°E / -10.7; 37.8
ความกว้างของเงามืด100 กิโลเมตร
เวลา (UTC)
(P1) เริ่มอุปราคาบางส่วน06:13:08
(U1) เริ่มอุปราคาเงามืด07:17:49
บดบังมากที่สุด09:06:53
(U4) สิ้นสุดอุปราคาเงามืด10:55:53
(P4) สิ้นสุดอุปราคาบางส่วน12:00:04
แหล่งอ้างอิง
แซรอส135 (39 จาก 71)
บัญชี # (SE5000)9544

สุริยุปราคาวงแหวนเกิดขึ้นในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2559 สุริยุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ โคจรผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ โดยวิธีนั้นจะเห็นสุริยุปราคาแบบเต็มดวงและแบบบางส่วนเมื่อมองจากโลก สุริยุปราคาวงแหวนเกิดขึ้นเมื่อขนาดเชิงมุมปรากฏของดวงจันทร์ มีขนาดเล็กกว่าดวงอาทิตย์ โดยจะบดบังแสงส่วนมากจากดวงอาทิตย์ ทำให้ดวงอาทิตย์มีลักษณะเหมือนแผ่นวงแหวน สุริยุปราคาวงแหวนจะปรากฏสุริยุปราคาบางส่วนสามารถมองเห็นได้เหนือบริเวณรอบ ๆ ภูมิภาคนั้นกว้างหลายพันกิโลเมตร ในครั้งนี้สุริยุปราคาสามารถมองเห็นได้จากกาบอง แทนซาเนีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก คองโก โมซัมบิก มาดากัสการ์ และ เรอูนียง

ภาพ

[แก้]

ภาพถ่ายช้า ๆ ของสุริยุปราคาสังเกตจากลีตองซาลีในเรอูวนียง

อุปราคาที่เกี่ยวข้อง

[แก้]

สุริยุปราคา พ.ศ. 2558–2561

[แก้]

อุปราคานี้เป็นสมาชิกของชุดเทอม โดยอุปราคาในชุดเทอมของสุริยุปราคาจะวนซ้ำโดยประมาณทุก ๆ 177 วัน 4 ชั่วโมง (เทอม) ที่การสลับโหนดของวงโคจรดวงจันทร์[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. van Gent, R.H. "Solar- and Lunar-Eclipse Predictions from Antiquity to the Present". A Catalogue of Eclipse Cycles. Utrecht University. สืบค้นเมื่อ 6 October 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]