สุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
สุริยุปราคา 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 | |
---|---|
ประเภท | |
ประเภท | ผสม |
แกมมา | 0.3272 |
ความส่องสว่าง | 1.0159 |
บดบังมากที่สุด | |
ระยะเวลา | 100 วินาที (1 นาที 40 วินาที) |
พิกัด | 3°30′N 11°42′W / 3.5°N 11.7°W |
ความกว้างของเงามืด | 58 กิโลเมตร |
เวลา (UTC) | |
(P1) เริ่มอุปราคาบางส่วน | 10:04:34 |
(U1) เริ่มอุปราคาเงามืด | 11:05:17 |
บดบังมากที่สุด | 12:47:36 |
(U4) สิ้นสุดอุปราคาเงามืด | 14:27:42 |
(P4) สิ้นสุดอุปราคาบางส่วน | 15:28:21 |
แหล่งอ้างอิง | |
แซรอส | 143 (23 จาก 72) |
บัญชี # (SE5000) | 9538 |
สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 และกลายเป็นอุปราคาบางส่วนของดวงอาทิตย์ด้วยแมกนิจูด 1.0159 ส่วนเล็กของมหาสมุทรแอตแลนติกตะวันตกสังเกตได้ตอนดวงอาทิตย์ขึ้น เป็นสุริยุปราคาวงแหวน และแคบลงเป็นสุริยุปราคาเต็มดวง
สังเกต
[แก้]คราสเต็มดวงสังเกตได้จากมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ (ทางตะวันออกของรัฐฟลอริดา) ถึงแอฟริกา (กาบอง, สาธารณรัฐคองโก, สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, อูกันดา, เซาท์ซูดาน, เคนยา, เอธิโอเปีย และโซมาเลีย) ด้วยระยะเวลาเต็มดวงนาน 1 นาที 39 วินาที ซึ่งสังเกตได้จากมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ ที่โกตดิวัวร์และกานา[1]
พื้นที่ที่เห็นสุริยุปราคาบางส่วนคือ ชายฝั่งตะวันออกของอเมริกาเหนือ, กรีนแลนด์ใต้, เบอร์มิวดา, หมู่เกาะแคริบเบียน, คอสตาริกา, ปานามา, อเมริกาใต้ตอนเหนือ, ส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา, คาบสมุทรไอบีเรีย, อิตาลี, กรีซ, มัลตา, รัสเซียใต้, คอเคซัส, ตุรกี และตะวันออกกลาง
จากอวกาศ
[แก้]-
การจำลองการผ่านของเงา
ระเบียงภาพ
[แก้]-
เวลา 10:40 UTC จาก อาร์ลิงตันเคาน์ตี, รัฐเวอร์จิเนีย
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- สถิติอุปราคาและแผนที่การมองเห็นบนโลก การทำนายอุปราคาโดยเฟรด เอสเปนาก นาซา/ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด
- อุปราคาเหนือนิวยอร์ก (แบบบางส่วน) แอสทรอโนมีพิคเจอร์ออฟเดอะเดย์ 11/4/2556
- อุปราคาที่ความสูง 44,000 ฟุต แอสทรอโนมีพิคเจอร์ออฟเดอะเดย์ 11/7/2556, คราสเต็มดวงเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก 600 ไมล์ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเบอร์มิวดา
- สุริยุปราคาจากอูกันดา แอสทรอโนมีพิคเจอร์ออฟเดอะเดย์ 11/8/2556, คราสเต็มดวงจากพอกเวโร, เขตเนบบี, ภูมิภาคนอร์ทเทิร์น, อูกันดา
- กิจกรรมของดวงอาทิตย์ระหว่างสุริยุปราคาเต็มดวง แอสทรอโนมีพิคเจอร์ออฟเดอะเดย์ 11/11/2556, การรวมกันของดวงอาทิตย์ในการบันทึกแสงอัลตราไวโอเลตโดยเครื่องตรวจวัดสแวป บนยานPROBA2, สุริยุปราคาเต็มดวงจากกาบอง และโคโรนาสุริยะ ถ่ายโดย ลาสโก เครื่องตรวจวัดบนยานโซโฮ