สุริยุปราคา 7 มีนาคม พ.ศ. 2140
สุริยุปราคา 7 มีนาคม พ.ศ. 2140 | |
---|---|
ประเภท | |
ประเภท | เต็มดวง |
แกมมา | 0.8893 |
ความส่องสว่าง | 1.0214 |
บดบังมากที่สุด | |
ระยะเวลา | 93 วินาที (1 นาที 33 วินาที) |
พิกัด | 47°42′N 8°12′W / 47.7°N 8.2°W |
ความกว้างของเงามืด | 156 กิโลเมตร |
เวลา (UTC) | |
บดบังมากที่สุด | 10:10:01 |
แหล่งอ้างอิง | |
แซรอส | 133 (22 จาก 72) |
บัญชี # (SE5000) | 8536 |
สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2140 ตามปฏิทินสุริยคติไทยตรงกับเดือนมีนาคม ค.ศ. 1598 สุริยุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ โคจรผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ โดยวิธีนั้นจะเห็นสุริยุปราคาแบบเต็มดวงและแบบบางส่วนเมื่อมองจากโลก สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นเมื่อขนาดเชิงมุมของดวงจันทร์ มีขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์ โดยจะบดบังแสงโดยตรงทั้งหมดจากดวงอาทิตย์ ทำให้เวลากลางวันเข้าสู่ความมืด สุริยุปราคาแบบเต็มดวงเกิดขึ้นในแนวแคบผ่านบนพื้นผิวโลก และสุริยุปราคาบางส่วนสามารถมองเห็นได้เหนือบริเวณรอบ ๆ ภูมิภาคนั้นกว้างหลายพันกิโลเมตร
การสังเกต
[แก้]สุริยุปราคาเต็มดวงเห็นได้ในสหราชอาณาจักร เป็นแนวทแยงจากคอร์นวอลล์ในตะวันตกเฉียงใต้ไปยังแอเบอร์ดีนในตะวันออกเฉียงเหนือของสกอตแลนด์
และยังถูกสังเกตโดยทือโก ปราเออ ในเยอรมนีด้วย[1]
อุปราคาที่เกี่ยวข้อง
[แก้]สุริยุปราคาครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 133
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Monthly Notices of the Royal Astronomical Society, Volume 54; Volumes 1893-1894 J. L. E. Dreyer, 1894, p.439 Note on the solar eclipse of 1598 [1]
- แผนภาพกราฟิกโดยนาซา (อังกฤษ)
- แผนที่กูเกิล (อังกฤษ)
- เบสเซเลียนเอลีเมนท์ (อังกฤษ)
สุริยุปราคา | ||||
---|---|---|---|---|
สุริยุปราคาครั้งก่อนหน้า: 11 กันยายน 2140 ( สุริยุปราคาวงแหวน) |
สุริยุปราคา 7 มีนาคม พ.ศ. 2140 | สุริยุปราคาครั้งถัดไป: 31 สิงหาคม 2141 ( สุริยุปราคาวงแหวน) | ||
สุริยุปราคาเต็มดวงครั้งก่อนหน้า: 22 กันยายน 2139 |
สุริยุปราคาเต็มดวง |
สุริยุปราคาเต็มดวงครั้งถัดไป: 10 กรกฎาคม 2143 |