สุริยุปราคา 9 เมษายน พ.ศ. 2586
สุริยุปราคา 9 เมษายน พ.ศ. 2586 | |
---|---|
ประเภท | |
ประเภท | เต็มดวง |
แกมมา | 1.0033 |
ความส่องสว่าง | 1.0410 |
บดบังมากที่สุด | |
ระยะเวลา | 0 วินาที (0 นาที 0 วินาที) |
พิกัด | 61°18′N 152°12′E / 61.3°N 152.2°E |
ความกว้างของเงามืด | 0 กิโลเมตร |
เวลา (UTC) | |
(P1) เริ่มอุปราคาบางส่วน | 16:55:57 |
(U1) เริ่มอุปราคาเงามืด | 18:45:38 |
บดบังมากที่สุด | 18:56:11 |
(U4) สิ้นสุดอุปราคาเงามืด | 19:06:13 |
(P4) สิ้นสุดอุปราคาบางส่วน | 20:56:02 |
แหล่งอ้างอิง | |
แซรอส | 149 (22 จาก 71) |
บัญชี # (SE5000) | 9603 |
สุริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2586 สุริยุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ โคจรผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ โดยวิธีนั้นจะเห็นสุริยุปราคาแบบเต็มดวงและแบบบางส่วนเมื่อมองจากโลก สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นเมื่อขนาดเชิงมุมของดวงจันทร์ มีขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์ โดยจะบดบังแสงโดยตรงทั้งหมดจากดวงอาทิตย์ ทำให้เวลากลางวันเข้าสู่ความมืด สุริยุปราคาแบบเต็มดวงเกิดขึ้นในแนวแคบผ่านบนพื้นผิวโลก และสุริยุปราคาบางส่วนสามารถมองเห็นได้เหนือบริเวณรอบ ๆ ภูมิภาคนั้นกว้างหลายพันกิโลเมตร
สุริยุปราคาครั้งนี้สุริยุปราคาเต็มดวงที่ประหลาดที่สุด มันไม่ใช่สุริยุปราคากึ่งกลางคราส สุริยุปราคาแบบไม่กึ่งกลางคราส คืออุปราคาที่แนวกึ่งกลางคราสทั้งหมดไม่ได้ตัดลงบนพื้นผิวโลก โดยเส้นกึ่งกลางคราสนั้นตกถัดขึ้นไปจากผิวพื้นโลกแทน อุปราคาชนิดนี้เป็นอุปราคาที่เกิดขึ้นได้ยาก โดยจะมองเห็นเป็นสุริยุปราคาเต็มดวงเฉพาะตอนดวงอาทิตย์ขึ้นหรือในบริเวณขั้วโลกเท่านั้น
การมองเห็น
[แก้]สุริยุปราคาแบบเต็มดวงครั้งนั้มองเห็นเป็นแบบเต็มดวงได้ในคาบสมุทรคัมชัตคาของรัสเซีย และเห็นเป็นแบบบางส่วนได้ในแคนาดา กรีนแลนด์ และไอซ์แลนด์ ทางตะวันตกของสหรัฐรวมถึงรัฐฮาวายและรัฐอะแลสกาด้วย
ภาพ
[แก้]อุปราคาที่เกี่ยวข้อง
[แก้]สุริยุปราคา พ.ศ. 2583–2586
[แก้]อุปราคานี้เป็นสมาชิกของชุดเทอม โดยอุปราคาในชุดเทอมของสุริยุปราคาจะวนซ้ำโดยประมาณทุก ๆ 177 วัน 4 ชั่วโมง (เทอม) ที่การสลับโหนดของวงโคจรดวงจันทร์[1]
ชุดอนุกรมสุริยุปราคา ระหว่าง พ.ศ. 2583–2586 | ||||
---|---|---|---|---|
โหนดขึ้น | โหนดลง | |||
119 | 11 พฤษภาคม 2583 บางส่วน |
124 | 4 พฤศจิกายน 2583 วงแหวน | |
129 | 30 เมษายน 2584 เต็มดวง |
134 | 25 ตุลาคม 2584 วงแหวน | |
139 | 20 เมษายน 2585 เต็มดวง |
144 | 14 ตุลาคม 2585 วงแหวน | |
149 | 9 เมษายน 2586 เต็มดวง |
154 | 3 ตุลาคม 2586 วงแหวน |
ชุดเมตอน
[แก้]ชุดเมตอนการวนซ้ำของอุปราคาทุก ๆ 19 ปี (6939.69 วัน) สุดท้ายประมาณ 5 วัฏจักร โดยอุปราคาเกิดขึ้นในวันอันใกล้เคียงกันในปฏิทิน ในการเพิ่มขึ้นของตัวรองอนุกรมออคตอน ซึ่งวนซ้ำ 1/5 ของนั้นหรือทุก ๆ 3.8 ปี (1387.94 วัน) ทุกอุปราคาในตารางนี้เกิดขึ้นที่โหนดขึ้นของดวงจันทร์
21 เหตุการณ์อุปราคา ระหว่าง 21 มิถุนายน 2525 ถึง 21 มิถุนายน 2601 | ||||
---|---|---|---|---|
21 มิถุนายน | 8-9 เมษายน | 26 มกราคม | 13-14 พฤษภาคม | 1-2 กันยายน |
117 | 119 | 121 | 123 | 125 |
21 มิถุนายน 2525 |
8 เมษายน 2529 |
26 มกราคม 2533 |
13 พฤศจิกายน 2536 |
2 กันยายน 2540 |
127 | 129 | 131 | 133 | 135 |
21 มิถุนายน 2544 |
8 เมษายน 2548 |
26 มกราคม 2552 |
13 พฤศจิกายน 2555 |
1 กันยายน 2559 |
137 | 139 | 141 | 143 | 145 |
21 มิถุนายน 2563 |
8 เมษายน 2567 |
26 มกราคม 2571 |
14 พฤศจิกายน 2574 |
2 กันยายน 2578 |
147 | 149 | 151 | 153 | 155 |
21 มิถุนายน 2582 |
9 เมษายน 2586 |
26 มกราคม 2590 |
14 พฤศจิกายน 2593 |
2 กันยายน 2597 |
157 | ||||
21 มิถุนายน 2601 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ van Gent, R.H. "Solar- and Lunar-Eclipse Predictions from Antiquity to the Present". A Catalogue of Eclipse Cycles. Utrecht University. สืบค้นเมื่อ 6 October 2018.
- สถิติอุปราคาและแผนที่การมองเห็นบนโลก การทำนายอุปราคาโดยเฟรด เอสเปนาก นาซา/ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด
สุริยุปราคา | ||||
---|---|---|---|---|
สุริยุปราคาครั้งก่อนหน้า: 14 ตุลาคม 2585 ( สุริยุปราคาวงแหวน) |
สุริยุปราคา 9 เมษายน พ.ศ. 2586 | สุริยุปราคาครั้งถัดไป: 3 ตุลาคม 2586 ( สุริยุปราคาวงแหวน) | ||
สุริยุปราคาเต็มดวงครั้งก่อนหน้า: 20 เมษายน 2585 |
สุริยุปราคาเต็มดวง |
สุริยุปราคาเต็มดวงครั้งถัดไป: 23 สิงหาคม 2587 |