สุริยุปราคา 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2574
สุริยุปราคา 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2574 | |
---|---|
ประเภท | |
ประเภท | ผสม |
แกมมา | 0.3078 |
ความส่องสว่าง | 1.0106 |
บดบังมากที่สุด | |
ระยะเวลา | 68 วินาที (1 นาที 8 วินาที) |
พิกัด | 0°36′S 137°36′W / 0.6°S 137.6°W |
ความกว้างของเงามืด | 38 กิโลเมตร |
เวลา (UTC) | |
(P1) เริ่มอุปราคาบางส่วน | 18:22:59 |
(U1) เริ่มอุปราคาเงามืด | 19:23:38 |
บดบังมากที่สุด | 21:06:03 |
(U4) สิ้นสุดอุปราคาเงามืด | 22:48:09 |
(P4) สิ้นสุดอุปราคาบางส่วน | 23:49:04 |
แหล่งอ้างอิง | |
แซรอส | 143 (24 จาก 72) |
บัญชี # (SE5000) | 9578 |
สุริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นในวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2574 โดยมีลักษณะเป็นแบบผสม คือแนวคราสเต็มดวงจะกลายเป็นแนวคราสแบบวงแหวนขณะดวงอาทิตย์ขึ้นและตก สุริยุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ โคจรผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ โดยวิธีนั้นจะเห็นสุริยุปราคาแบบเต็มดวงและแบบบางส่วนเมื่อมองจากโลก สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นเมื่อขนาดเชิงมุมของดวงจันทร์ มีขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์ โดยจะบดบังแสงโดยตรงทั้งหมดจากดวงอาทิตย์ ทำให้เวลากลางวันเข้าสู่ความมืด สุริยุปราคาแบบเต็มดวงเกิดขึ้นในแนวแคบผ่านบนพื้นผิวโลก และสุริยุปราคาบางส่วนสามารถมองเห็นได้เหนือบริเวณรอบ ๆ ภูมิภาคนั้นกว้างหลายพันกิโลเมตร
ภาพ
[แก้]อุปราคาที่เกี่ยวข้อง
[แก้]สุริยุปราคา พ.ศ. 2572–2575
[แก้]อุปราคานี้เป็นสมาชิกของชุดเทอม โดยอุปราคาในชุดเทอมของสุริยุปราคาจะวนซ้ำโดยประมาณทุก ๆ 177 วัน 4 ชั่วโมง (เทอม) ที่การสลับโหนดของวงโคจรดวงจันทร์[1]
หมายเหตุ: สุริยุปราคาบางส่วนในวันที่ 14 มกราคม 2572 และ 11 กรกฎาคม 2572 เกิดขึ้นในชุดปีทางจันทรคติก่อนหน้า
โหนดขึ้น | โหนดลง | |||
---|---|---|---|---|
118 | 12 มิถุนายน 2572 บางส่วน |
123 | 5 ธันวาคม 2572 บางส่วน | |
128 | 1 มิถุนายน 2573 วงแหวน |
133 | 25 พฤศจิกายน 2573 เต็มดวง | |
138 | 21 พฤษภาคม 2574 วงแหวน |
143 | 14 พฤศจิกายน 2574 ผสม | |
148 | 9 พฤษภาคม 2535 วงแหวน |
153 | 3 พฤศจิกายน 2575 บางส่วน |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ van Gent, R.H. "Solar- and Lunar-Eclipse Predictions from Antiquity to the Present". A Catalogue of Eclipse Cycles. Utrecht University. สืบค้นเมื่อ 6 October 2018.