ข้ามไปเนื้อหา

สถานีพระโขนง

พิกัด: 13°42′54.70″N 100°35′28.62″E / 13.7151944°N 100.5912833°E / 13.7151944; 100.5912833
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระโขนง
E8

Phra Khanong
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนสุขุมวิท เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°42′54.70″N 100°35′28.62″E / 13.7151944°N 100.5912833°E / 13.7151944; 100.5912833
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ทางวิ่ง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีE8
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 ธันวาคม พ.ศ. 2542; 25 ปีก่อน (2542-12-05)
ผู้โดยสาร
25641,804,128
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
เอกมัย
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท อ่อนนุช
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่
ชานชาลาสถานี

สถานีพระโขนง (อังกฤษ: Phra Khanong station; รหัส: E8) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิทบริเวณย่านพระโขนง ในพื้นที่เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

ที่ตั้ง

[แก้]

ด้านทิศตะวันตกของทางแยกพระโขนง [จุดบรรจบระหว่างถนนสุขุมวิท ถนนพระรามที่ 4 และถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)] ระหว่างซอยสุขุมวิท 44/1–46 กับซอยสุขุมวิท 67–69 ในพื้นที่แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา และแขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

สถานีพระโขนงเป็นสถานีที่อยู่ใกล้ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) ซึ่งเป็นเส้นทางต่อเนื่องกับถนนรามคำแหง จึงสามารถเชื่อมต่อรถประจำทางไปสู่ย่านคลองตัน มหาวิทยาลัยรามคำแหง และบางกะปิ ซึ่งเป็นย่านการค้าและที่พักอาศัยที่สำคัญของกรุงเทพมหานครด้านตะวันออกและยังสามารถต่อเส้นทางไปยังสถานีรามคำแหง ของโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้ที่บริเวณป้ายหยุดรถรามคำแหง (หรือป้ายหยุดรถสุขุมวิท 71 เดิม) ได้อีกด้วย

แผนผังของสถานี

[แก้]
U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (อ่อนนุช)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (เอกมัย)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, อาคารไทซิน, ที่ทำการไปรษณีย์พระโขนง
โรงเรียนศรีวิกรม์ โรงเรียนศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ และโรงเรียนศรีวิกรม์คอมพิวเตอร์และภาษา

รูปแบบของสถานี

[แก้]

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา

สัญลักษณ์ของสถานี

[แก้]

ใช้สีเขียวตกแต่งเสาและรั้วบนชั้นชานชาลา ชั้นจำหน่ายตั๋ว ป้ายทางเข้า และบริเวณทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีด้านตะวันออก

ทางเข้า-ออก

[แก้]
  • 1 โรงแรมจัสมิน รีสอร์ท แอนด์ ปาร์ค โฮเทล, อาคารไทซิน
  • 2 ริทึ่ม สุขุมวิท 44/1, ซอยสุขุมวิท 44/1 (พิชัยสวัสดิ์), ป้ายรถประจำทางไปเอกมัย (ลิฟต์)
  • 3 ซอยสุขุมวิท 69 (สาลีนิมิตร), ที่ทำการไปรษณีย์พระโขนง, เวลท์ส เรสซิเดนซ์, ป้ายรถประจำทางไปอ่อนนุช (บันไดเลื่อน) ซัมเมอร์พอยด์
  • 4 ถนนพระรามที่ 4, อีเกิ้ล สโตร์ สุขุมวิท-พระราม 4, ซอยสุขุมวิท 46 (ภูมิจิตร)

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 บริเวณหน้าปากซอยสุขุมวิท 44/1 และทางออก 4 หน้าอีเกิ้ล สโตร์ สุขุมวิท-พระราม 4

เวลาให้บริการ

[แก้]
ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[1]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.44 00.16
E15 สำโรง 00.29
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.28 23.46
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.01

จุดเชื่อมต่อการเดินทางในอนาคต

[แก้]

รถไฟฟ้าสายสีเทา เชื่อมต่อที่ สถานีทองหล่อ (โครงการ)

รถโดยสารประจำทาง

[แก้]

ถนนสุขุมวิท

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
23 (3-5) Handicapped/disabled access (1) ปู่เจ้าสมิงพราย เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
ขสมก.
501 (1-53) (1) หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ท่าช้าง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม–น้ำเงิน
511 Handicapped/disabled access (2) รถโดยสารประจำทาง ปากน้ำ (อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
519 (1-57) (3) มีนบุรี ท่าเรือคลองเตย 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม–น้ำเงิน
2.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถเอกชน

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 (3-1) Handicapped/disabled access ปากน้ำ เรือข้ามฟาก สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส มีรถให้บริการตลอดคืน
25 (3-6) Handicapped/disabled access โรงเรียนปทุมคงคา สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) บจก.สาย 25 ร่วมใจ
(เครือไทยสมายล์บัส)
1.วิ่งเฉพาะ ฝั่งขากลับ
2.มีรถให้บริการตลอดคืน
38 (3-8) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขามหาวิทยาลัยรามคำแหง 2) รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
48 (3-11) Handicapped/disabled access วัดโพธิ์
71 (1-39) Handicapped/disabled access สวนสยาม คลองเตย บจก.ไทยสมายล์บัส มีรถให้บริการตลอดคืน
71 ตลาดปัฐวิกรณ์ วัดธาตุทอง รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.บ้านโป่งบัสบอดี้
บจก.รูท 45
บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ
บจก.สามัคคีบัส
บจก.วินวินเอ็นจีวี
บจก.มินิบัสไทยสายสิบเอ็ด
วิ่งเฉพาะ ฝั่งขากลับ
98 อุดมสุข อโศก รถโดยสารประจำทางสีขาว–น้ำเงิน บริษัท สหศรีสุพรรณยานยนต์ จำกัด 1.ช่วงเช้า รถบางคันเดินรถถึงห้วยขวาง
2.เส้นทางไม่อยู่ในแผนปฏิรูป
133 (3-15) Handicapped/disabled access เคหะบางพลี บีทีเอสเอกมัย รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สันติมิตร
(เครือไทยสมายล์บัส)
วิ่งเฉพาะ ฝั่งขากลับ
3-32 Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) สวนสยาม บจก.ไทยสมายล์บัส วิ่งเฉพาะ ฝั่งขาไป
3-44 Handicapped/disabled access ท่าเรือคลองเตย รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

ถนนพระรามที่ 4

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
22 (3-40) (2) ถนนตก แฮปปี้แลนด์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม–น้ำเงิน ขสมก.

รถเอกชน

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
25 (3-6) Handicapped/disabled access โรงเรียนปทุมคงคา สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส 1.วิ่งเฉพาะ ฝั่งขาไปเอกมัย
2.มีรถให้บริการตลอดคืน
46 (3-10) รามคำแหง 2 เรือข้ามฟาก ท่านํ้าสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีส้ม
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
บจก.สิทธิชาญชัย
71 ตลาดปัฐวิกรณ์ วัดธาตุทอง รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.บ้านโป่งบัสบอดี้
บจก.รูท 45
บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ
บจก.สามัคคีบัส
บจก.วินวินเอ็นจีวี
บจก.มินิบัสไทยสายสิบเอ็ด
วิ่งเฉพาะ ฝั่งขาไปเอกมัย

115 (1-45) Handicapped/disabled access

สวนสยาม บางรัก รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
วิ่งเฉพาะ ฝั่งขาไปเอกมัย

133 (3-15) Handicapped/disabled access

เคหะบางพลี บีทีเอสเอกมัย บจก.สันติมิตรขนส่ง
(เครือไทยสมายล์บัส)
วิ่งเฉพาะ ฝั่งขาไปเอกมัย
507 (3-13) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้ใหม่) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
3-32 Handicapped/disabled access สวนสยาม บจก.ไทยสมายล์บัส

ถนนสุขุมวิท

  • รถขสมก. สาย รถขสมก. สาย 2 23 25 71 501 508 51
  • รถเอกชน สาย 38 40 48 71 98 133 มินิบัส สาย 71(จอดเฉพาะขาไปอ่อนนุช)
  • รถกะป๊อ บีทีเอสพระโขนง - ท่าเรือคลองตัน [2]

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

[แก้]
  • ตลาดพระโขนง
  • ที่ทำการไปรษณีย์พระโขนง
  • สมาคมอัสสัมชัญ
  • โรงพยาบาลกล้วยน้ำไท
  • สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาลประจำประเทศไทย
  • สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรียประจำประเทศไทย
  • สุเหร่าบางมะเขือ
  • โรงเรียนพระแม่มารีพระโขนง
  • ซัมเมอร์ ฮิลล์ และซัมเมอร์ พอยต์
  • ดับเบิลยู ดิสทริค

อาคารสำนักงาน

[แก้]
  • อาคารไทซิน
  • อาคารสหไทย
  • อาคารซัมเมอร์ฮับ ออฟฟิศเซส

อ้างอิง

[แก้]
  1. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.
  2. "This is it เป็นอยู่คือ "พระโขนง" ดินแดนแห่งไลฟ์สไตล์สุดฮิปที่ใครๆ ก็หลงรัก". Estopolis.