ข้ามไปเนื้อหา

สถานีกรมทหารราบที่ 11

พิกัด: 13°52′3″N 100°35′31″E / 13.86750°N 100.59194°E / 13.86750; 100.59194
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรมทหารราบที่ 11
N16

11th Infantry Regiment
สถานี มองจากถนนพหลโยธินฝั่งขาออกเมือง
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนพหลโยธิน เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°52′3″N 100°35′31″E / 13.86750°N 100.59194°E / 13.86750; 100.59194
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ทางวิ่ง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีN16
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 มิถุนายน พ.ศ. 2563; 4 ปีก่อน (2563-06-05)
ผู้โดยสาร
2564918,910
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
วัดพระศรีมหาธาตุ
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท บางบัว
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่

สถานีกรมทหารราบที่ 11 (อังกฤษ: 11th Infantry Regiment station; รหัส: N16) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธินในพื้นที่เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2563[1][2]

ที่ตั้ง

[แก้]

ถนนพหลโยธิน บริเวณด้านหน้ากรมทหารราบที่ 11 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ ในพื้นที่แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร

แผนผังของสถานี

[แก้]
U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (บางบัว)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (วัดพระศรีมหาธาตุ)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก , ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, ถนนพหลโยธิน, ซอยพหลโยธิน 53, กรมทหารราบที่ 11 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

รายละเอียดของสถานี

[แก้]

รูปแบบของสถานี

[แก้]

เป็นแบบชานชาลาด้านข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้าง 22.15 เมตร (ระยะรวมหลังคา 27.8 เมตร) ระดับชานชาลาสูงจากพื้นดิน 18 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง โดยใช้กระจกเชื่อมปิดหลังคาทั้งหมด[3] โดยสถานีแห่งนี้เป็นสถานีต้นแบบในการก่อสร้างสถานีต่าง ๆ ของส่วนต่อขยายสายสีเขียว ช่วงหมอชิต–สะพานใหม่–คูคต[4]

ในส่วนของทางวิ่งและชานชาลาฝั่งตะวันออก (ปลายทางสถานีเคหะ) ได้มีการติดตั้งแผงกั้นระดับสายตา เนื่องจากทิวทัศน์ฝั่งนั้นเป็นพื้นที่ของกรมทหารราบที่ 11 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์

สัญลักษณ์ของสถานี

[แก้]

ใช้สีเขียวเข้มตกแต่งรั้วและเสาบริเวณชานชาลา ป้ายทางเข้าและทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีฝั่งพหลโยธินเหนือ

ทางเข้า-ออก

[แก้]

ประกอบด้วยทางขึ้น-ลงปกติ และทางเดินใต้รางรถไฟฟ้าเชื่อมสะพานลอยเดิม ได้แก่

  • 1 สถานีบริการน้ำมัน ปตท.
  • 2 กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ (บันไดเลื่อน)
  • 3 เขตการเดินรถที่ 1 องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บันไดเลื่อนและทางเดินลอยฟ้า)
  • 4 กองการบิน ศูนย์การเคลื่อนย้ายกองทัพบก
  • ทางเดินยกระดับ กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์, เขตการเดินรถที่ 1 องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ, ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สาขาบางเขน

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 1 บริเวณสถานีบริการน้ำมัน ปตท. และทางออก 4 ใกล้ประตูกองการบิน ศูนย์การเคลื่อนย้ายกองทัพบก

เวลาให้บริการ

[แก้]
ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[5]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.30 23.30
E15 สำโรง 23.45
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.15
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.26 00.31

การเชื่อมต่อรถโดยสารประจำทาง

[แก้]

อู่บางเขน (เขตการเดินรถที่ 1)

[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด เส้นทาง คันแรก คันสุดท้าย ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
95
(1-10) (1)
รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน สถานีรถไฟฟ้าหัวหมาก

95 (1-10)
บางเขน
รามอินทรา กม.1–4
นวมินทร์
บางกะปิ
สถานีรถไฟฟ้าหัวหมาก

04:15 น. 22:00 น. 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
95ก
(1-11) (3)
แฮปปี้แลนด์

95ก (1-11)
บางเขน
รามอินทรา กม.1–4
นวมินทร์
ปัฐวิกรณ์
แฮปปี้แลนด์

04:00 น. XX:XX น. เส้นทางเสริม
95ข
(1-29) (1)
ท่านํ้านนทบุรี

95 (1-29)
บางเขน
รามอินทรา กม.1-4
เลียบด่วนรามอินทรา
บางกะปิ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

04:30 น. 21:25 น. 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

107
(1-12E) (1)
รถโดยสารประจำทาง อู่คลองเตย

107 (1-12E)
บางเขน
เกษตร
เมเจอร์รัชโยธิน
เซ็นทรัลลาดพร้าว
หอการค้า
ทางด่วน
ท่าเรือคลองเตย
กรมศุลกากร
อู่คลองเตย

04:50 น. 21:45 น. 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

129
(1-14E) (1)
รถโดยสารประจำทาง อู่ช้างเอราวัณ

1-14E
(129 เดิม)
บางเขน
เกษตร
เซ็นทรัลลาดพร้าว
สุทธิสาร
บางนา
สำโรง

04:00 น. 23:00 น. 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

543
(1-25) (1)
ตลาดใหญ่ลำลูกกา คลอง 7

543 (1-25)
บางเขน
ลำลูกกาคลอง 7

04:00 น. 22:00 น. 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

กรมการปกครอง คลอง 9

543
(เสริมพิเศษ)
บางเขน
ลำลูกกาคลอง 7
กรมการปกครองคลอง 9

07:00 น. 14:00 น.
543ก (1-34) (1) ท่านํ้านนทบุรี

543ก (1-34)
อู่บางเขน
เกษตร
แยกรัชโยธิน
แยกวงศ์สว่าง
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ
ท่าเรือนนทบุรี

05:00 น. 21:30 น. 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
สถานีกรมทหารราบที่ 11 สามารถเชื่อมต่อกับรถโดยสารประจำทางได้สะดวก เนื่องจากตั้งอยู่ใกล้กับเขตการเดินรถที่ 1 (อู่รถเมล์บางเขน) รถขสมก. สาย 95 107 129 543(ท่าน้ำนนท์) 543 รถเอกชน สาย 126

ถนนพหลโยธิน

[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
26 (1-36) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก.
1-8 (59) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

พระราม 8 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
107 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน รถโดยสารประจำทาง อู่คลองเตย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

114 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน ท่านํ้านนทบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

1-14E (129) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน สำโรง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

185 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต รถโดยสารประจำทาง อู่คลองเตย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
503 (3) สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
1-22E (522) (1) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

543 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน ท่านํ้านนทบุรี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

รถเอกชน

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
34 (1-3) Handicapped/disabled access รังสิต บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
39 (1-5) Handicapped/disabled access อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

126 Handicapped/disabled access

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 คลองตัน บจก.สมาร์ทบัส
524 (1-23) Handicapped/disabled access หลักสี่ สถานีขนส่งผู้โดยสารสายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน)
1-32E Handicapped/disabled access บางเขน ตลาดพลู บจก.ไทยสมายล์บัส
ถนนพหลโยธิน รถขสมก. สาย 26 34 39 59 107 114 129 185 503 522 543(ท่าน้ำนนท์) รถเอกชน สาย 39 51 126 524 มินิบัส สาย 34 39

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "BTS เปิดให้บริการเพิ่ม 4 สถานี จากกรมป่าไม้ -วัดพระศรีมหาธาตุฯ". Manager Online. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-05.
  2. "5 มิ.ย.63 BTS เปิดวิ่งฟรี 4 สถานี ส่วนต่อขยาย หมอชิต-สะพานใหม่-คูคต". Thairath. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-04.
  3. "รายงานการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครส่วนต่อขยายพหลโยธิน (หมอชิต–สะพานใหม่–ลำลูกกา) ของกรุงเทพมหานคร เฉพาะช่วงสะพานใหม่–ลำลูกกา (ปัจจุบัน รฟม. เป็นผู้ดำเนินการ) กรณียกเลิกการติดตั้งแผงบังสายตาบริเวณพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ". บทที่ 1 บทนำ. โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครส่วนต่อขยายพหลโยธิน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2019-02-28. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-05. สืบค้นเมื่อ 2020-04-22.
  4. ดีเดย์ 30 ก.ย.เปิดเชื่อมด่วน2-แจ้งวัฒนะ-“บิ๊กตู่” ตัดริบบิ้นอุโมงค์รัช​โยธิน​ พ.ย.นี้
  5. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.