ข้ามไปเนื้อหา

สถานีกรมป่าไม้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรมป่าไม้
N14

Royal Forest Department
สถานีกรมป่าไม้ มองจากสะพานลอยหน้ากรมป่าไม้
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ทางวิ่ง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีN14
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 มิถุนายน พ.ศ. 2563; 4 ปีก่อน (2563-06-05)
ผู้โดยสาร
2564644,804
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
บางบัว
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่

สถานีกรมป่าไม้ (อังกฤษ: Royal Forest Department station; รหัส: N14) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธินในพื้นที่เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2563[1][2]

ที่ตั้ง

[แก้]
ถนนพหลโยธินมองไปทางทิศใต้ กรมป่าไม้อยู้มุมขวาล่าง

ถนนพหลโยธิน บริเวณด้านหน้ากรมป่าไม้และโรงเรียนสารวิทยา ในพื้นที่แขวงลาดยาวและแขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

แผนผังของสถานี

[แก้]
U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (บางบัว)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, ถนนพหลโยธิน, ซอยพหลโยธิน 45, กรมป่าไม้, ศูนย์บริการสาธารณสุข 24 บางเขน,
ไปรษณีย์ไทย สาขาจตุจักร, โรงเรียนสารวิทยา, กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก

รายละเอียดของสถานี

[แก้]

รูปแบบของสถานี

[แก้]

เป็นแบบชานชาลาด้านข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้าง 22.15 เมตร (ระยะรวมหลังคา 27.8 เมตร) ระดับชานชาลาสูงจากพื้นดิน 18 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง โดยใช้กระจกเชื่อมปิดหลังคาทั้งหมด[3]

สัญลักษณ์ของสถานี

[แก้]

ใช้สีเขียวเข้มตกแต่งรั้วและเสาบริเวณชานชาลา ป้ายทางเข้าและทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีฝั่งพหลโยธินเหนือ

ทางเข้า-ออก

[แก้]

ประกอบด้วยทางขึ้น-ลงปกติ และทางเดินใต้รางรถไฟฟ้าเชื่อมสะพานลอยเดิม ได้แก่

  • 1 กรมป่าไม้ (บันไดเลื่อน)
  • 2 กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก (บันไดเลื่อน)
  • 3 ที่ทำการไปรษณีย์จตุจักร (ลิฟต์)
  • 4 โรงเรียนสารวิทยา (ลิฟต์)
  • ทางเดินยกระดับ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก, โรงเรียนสารวิทยา, ซอยพหลโยธิน 47

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 บริเวณหน้ากรมวิทยาศาสตร์ทหารบก และทางออก 3 บริเวณหน้าที่ทำการไปรษณีย์บางเขน

เวลาให้บริการ

[แก้]
ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[4]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.33 23.34
E15 สำโรง 23.48
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.19
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.23 00.28

การเชื่อมต่อรถโดยสารประจำทาง

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
26 (1-36) Handicapped/disabled access (1) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม–น้ำเงิน
4.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
ขสมก.
59 (1-8) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
เส้นทาง ผ่านดินแดง และถนนราชดำเนินนอก
59 (เดิม) (3) รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง 1.เส้นทาง ผ่านสะพานควาย และซอยกิ่งเพชร
2.เส้นทางบรรเทาความเดือดร้อน ตามมาตรา 41
107 (1-12E) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่คลองเตย รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
129 (1-14E) Handicapped/disabled access (1) สำโรง รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
206 (3-30) Handicapped/disabled access (3) เมกาบางนา รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
522 (1-22E) Handicapped/disabled access (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
543ก (1-34) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน ท่าน้ำนนทบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม–น้ำเงิน

รถเอกชน

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
34 (1-3) Handicapped/disabled access บางเขน การขนส่งระบบราง สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
39 (1-5) Handicapped/disabled access รังสิต รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.หลีกภัยขนส่ง
(เครือไทยสมายล์บัส)
126 (1-13) คลองตัน ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
126 (1-13) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
524 (1-23) Handicapped/disabled access หลักสี่ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524
(เครือไทยสมายล์บัส)
1-32E Handicapped/disabled access บางเขน ตลาดพลู บจก.ไทยสมายล์บัส รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านประชาอุทิศ ลงด่านสุรวงศ์)
มีรถให้บริการน้อย
  • ถนนพหลโยธิน รถขสมก. สาย 26 34 39 59 107 114 129 185 503 522 543(ท่าน้ำนนท์) รถเอกชน สาย 39 51 126 524 มินิบัส สาย 34 39

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "BTS เปิดให้บริการเพิ่ม 4 สถานี จากกรมป่าไม้ -วัดพระศรีมหาธาตุฯ". Manager Online. 5 June 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. "5 มิ.ย.63 BTS เปิดวิ่งฟรี 4 สถานี ส่วนต่อขยาย หมอชิต-สะพานใหม่-คูคต". Thairath. 4 June 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. "รายงานการเปลี่ยนแปลงรายละเอียด โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครส่วนต่อขยายพหลโยธิน (หมอชิต–สะพานใหม่–ลำลูกกา) ของกรุงเทพมหานคร เฉพาะช่วงสะพานใหม่–ลำลูกกา (ปัจจุบัน รฟม. เป็นผู้ดำเนินการ) กรณียกเลิกการติดตั้งแผงบังสายตาบริเวณพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ". บทที่ 1 บทนำ. โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครส่วนต่อขยายพหลโยธิน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2019-02-28. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-05. สืบค้นเมื่อ 2020-04-22.
  4. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.