ฟุตบอลทีมชาติอิหร่าน
![]() | |||
ฉายา | Team Melli (เปอร์เซีย: تیم ملی) ขุนพบแห่งเตหะราน (ฉายาในภาษาไทย) ชื่อเล่นอื่น ๆ | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลอิหร่าน | ||
สมาพันธ์ย่อย | CAFA (เอเชียกลาง) | ||
สมาพันธ์ | เอเอฟซี (เอเชีย) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Vítězslav Lavička | ||
กัปตัน | เอฮ์ซอน ฮอจแซฟี | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | แจวอด เนโคว์นอม (151) | ||
ทำประตูสูงสุด | แอลี ดอยี (109) | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬาอะซาดี | ||
รหัสฟีฟ่า | IRN | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 18 ![]() | ||
อันดับสูงสุด | 15 (สิงหาคม ค.ศ. 2005[2]) | ||
อันดับต่ำสุด | 122 (พฤษภาคม ค.ศ. 1996[3]) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
![]() ![]() (คาบูล ราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน; 25 สิงหาคม ค.ศ. 1941) | |||
ชนะสูงสุด | |||
![]() ![]() (แทบรีซ ประเทศอิหร่าน; 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000)[4] | |||
แพ้สูงสุด | |||
![]() ![]() (อิสตันบูล ประเทศตุรกี; 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1950)[5] ![]() ![]() (โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น; 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1958)[6] | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 6 (ครั้งแรกใน 1978) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบแบ่งกลุ่ม (1978, 1998, 2006, 2014, 2018, 2022) | ||
โอลิมปิก | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 1964) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบรองชนะเลิศ (1976) | ||
เอเชียนคัพ | |||
เข้าร่วม | 15 (ครั้งแรกใน 1968) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1968, 1972, 1976) | ||
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันตก | |||
เข้าร่วม | 7 (ครั้งแรกใน 2000) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (2000, 2004, 2007, 2008) |
ฟุตบอลทีมชาติอิหร่าน (เปอร์เซีย: تیم ملی فوتبال مردان ایران, อักษรโรมัน: Tīm-e Melli-e Fūtbāl-e Mardān-e Īrān) ทางฟีฟ่ายอมรับในฐานะ ไออาร์อิหร่าน (IR Iran)[7] เป็นทีมฟุตบอลประจำชาติอิหร่านที่ลงแข่งขันมาตั้งแต่ ค.ศ. 1941 บริหารโดยสหพันธ์ฟุตบอลอิหร่าน (FFIRI) และอยู่ภายใต้การบริหารของฟีฟ่าที่ทำหน้าที่ดูแลฟุตบอลทั่วโลก และเอเอฟซีที่ทำหน้าที่ดูแลฟุตบอลในทวีปเอเชีย สนามเหย้าของทีมชาติคือสนามกีฬาอะซาดีในเตหะราน
อิหร่านเคยชนะเลิศเอเชียนคัพสามสมัยในปี 1968, 1972 และ 1976 ในขณะที่ผลงานที่ดีที่สุดในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกคือการเข้าถึงรอบก่อนรองชนะเลิศในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 ที่มอนทรีออล สำหรับในการแข่งขันฟุตบอลโลก อิหร่านเคยเข้าร่วมการแข่งขันรอบสุดท้ายทั้งหมด 6 ครั้ง (1978, 1998, 2006, 2014, 2018 และ 2022) แต่พวกเขากลับไม่เคยผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกได้เลยแม้แต่ครั้งเดียว พวกเขาชนะคู่แข่งขันในฟุตบอลโลกเพียงสามครั้งในการพบกับสหรัฐเมื่อปี 1998, โมร็อกโกเมื่อปี 2018 และเวลส์เมื่อปี 2022 อิหร่านเคยเป็นทีมชาติที่มีอันดับสูงสุดในเอเชียระหว่างเดือนธันวาคม ค.ศ. 2014 ถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2018[8]
ผลงาน
[แก้]สถิติในฟุตบอลโลก | สถิติในรอบคัดเลือก | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ปี | รอบ | อันดับ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ผู้เล่น | ผู้จัดการ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ||||
![]() |
ไม่ใช่สมาชิกฟีฟ่า | ไม่มีการคัดเลือก | ||||||||||||||||||
![]() |
ไม่ใช่สมาชิกฟีฟ่า | |||||||||||||||||||
![]() | ||||||||||||||||||||
![]() |
ไม่ได้เข้าร่วม | ไม่ได้เข้าร่วม | ||||||||||||||||||
![]() | ||||||||||||||||||||
![]() | ||||||||||||||||||||
![]() | ||||||||||||||||||||
![]() | ||||||||||||||||||||
![]() | ||||||||||||||||||||
![]() |
ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | 8 | 5 | 1 | 2 | 9 | 6 | |||||||||||||
![]() |
รอบแรก | อันดับที่ 14 | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 8 | ผู้เล่น | Mohajerani | 12 | 10 | 2 | 0 | 20 | 3 | ||||
![]() |
ถอนตัว | ถอนตัว | ||||||||||||||||||
![]() |
ไม่ได้คัดเลือก | ไม่ได้คัดเลือก | ||||||||||||||||||
![]() |
ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | 6 | 5 | 0 | 1 | 12 | 5 | |||||||||||||
![]() |
11 | 5 | 3 | 3 | 23 | 13 | ||||||||||||||
![]() |
รอบแบ่งกลุ่ม | อันดับที่ 20 | 3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 4 | ผู้เล่น | Talebi | 17 | 8 | 6 | 3 | 57 | 17 | ||||
![]() ![]() |
ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | 14 | 9 | 3 | 2 | 36 | 9 | |||||||||||||
![]() |
รอบแบ่งกลุ่ม | อันดับที่ 25 | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 6 | ผู้เล่น | Ivanković | 12 | 9 | 1 | 2 | 29 | 7 | ||||
![]() |
ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | 14 | 5 | 8 | 1 | 15 | 9 | |||||||||||||
![]() |
รอบแบ่งกลุ่ม | อันดับที่ 28 | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 4 | ผู้เล่น | ไกรอช | 16 | 10 | 4 | 2 | 30 | 7 | ||||
![]() |
อันดับที่ 18 | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | ผู้เล่น | 18 | 12 | 6 | 0 | 36 | 5 | ||||||
![]() |
อันดับที่ 26 | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 7 | ผู้เล่น | 18 | 14 | 1 | 3 | 49 | 8 | ||||||
![]() ![]() ![]() |
รอแข่งขัน | รอแข่งขัน | ||||||||||||||||||
รวมทั้งหมด | รอบแรก/รอบแบ่งกลุ่ม | 6/22 | 18 | 3 | 4 | 11 | 13 | 31 | — | — | 146 | 92 | 35 | 19 | 316 | 89 |
สถิติของอิหร่านในฟุตบอลโลก | |
---|---|
นัดแรก | |
ชนะสูงสุด | |
แพ้สูงสุด | |
ประตูที่เร็วที่สุด | |
ประตูที่ช้าที่สุด |
- 1956 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1960 - รอบแรก
- 1964 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1968 - ชนะเลิศ
- 1972 - ชนะเลิศ
- 1976 - ชนะเลิศ
- 1980 - อันดับสาม
- 1984 - อันดับสี่
- 1988 - อันดับสาม
- 1992 - รอบแรก
- 1996 - อันดับสาม
- 2000 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2004 - อันดับสาม
- 2007 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2011 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2015 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2019 - รอบรองชนะเลิศ
- 2023 - รอบรองชนะเลิศ
อดีตผู้เล่นคนสำคัญ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 19 ธันวาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2024.
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking - Ranking Table". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2015.
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking - Ranking Table". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2016.
- ↑ "Biggest margin victories/losses (Fifa fact-Sheet)" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 May 2013. สืบค้นเมื่อ 27 November 2013.
- ↑ "Iran: Fixtures and Results". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 June 2007.
- ↑ "Asian Games 1958 (Tokyo, Japan)". rsssf. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2018. สืบค้นเมื่อ 17 December 2010.
- ↑ "Member Association - IR Iran". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 May 2019. สืบค้นเมื่อ 22 June 2021.
- ↑ "Iran: FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2007. สืบค้นเมื่อ 23 December 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Official Website of IR Iran Football Federation เก็บถาวร 2020-09-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ในภาษาเปอร์เซียและอังกฤษ)
- Iran profile at FIFA.com
- Extensive archive of Team's results, squads, campaigns and players
- Players Profile, Articles, Statistics and Gallery of National Team
- RSSSF archive of results since 1941
- RSSSF archive of most capped players and top goalscorers