ฟุตบอลโลก 2022
كأس العالم لكرة القدم 2022 Kaʾs al-ʿālam li-kurrat al-qadam 2022 Qatar 2022 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | กาตาร์ |
วันที่ | 20 พฤศจิกายน – 18 ธันวาคม 2022 [1][2] [3] |
ทีม | 32 (จาก 5 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 8 (ใน 5 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | อาร์เจนตินา (สมัยที่ 3) |
รองชนะเลิศ | ฝรั่งเศส |
อันดับที่ 3 | โครเอเชีย |
อันดับที่ 4 | โมร็อกโก |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 64 |
จำนวนประตู | 172 (2.69 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 3,404,252 (53,191 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | กีลียาน อึมบาเป (8 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ลิโอเนล เมสซิ |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | เอมิเลียโน มาร์ติเนซ |
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม | เอนโซ เฟร์นันเดซ |
รางวัลแฟร์เพลย์ | อังกฤษ |
ฟุตบอลโลก 2022 (อังกฤษ: 2022 FIFA World Cup; อาหรับ: 2022 كأس العالم لكرة القدم, Kaʾs al-ʿālam li-kurat al-qadam 2022) เป็นกำหนดการแข่งขันฟุตบอลโลก ครั้งที่ 22 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายทีมชาติของทุกชาติสมาชิกฟีฟ่าที่จะจัดขึ้นทุกสี่ปี โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ประเทศกาตาร์ ตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน ถึง 18 ธันวาคม 2022 นี่จะเป็นฟุตบอลโลกครั้งแรกที่จัดในโลกอาหรับและโลกมุสลิม[4] และเป็นครั้งที่สองที่จัดในทวีปเอเชียต่อจากฟุตบอลโลก 2002 ที่เกาหลีใต้และญี่ปุ่น[a] นอกจากนี้ ยังเป็นครั้งสุดท้ายที่มีทีมร่วมแข่งขัน 32 ทีม เนื่องจากจะมีการเพิ่มขึ้นเป็น 48 ทีมในฟุตบอลโลก 2026 ทีมชาติฝรั่งเศสเป็นแชมป์เก่าจากการแข่งขันครั้งที่ผ่านมา[5] เนื่องด้วยสภาพอากาศที่ร้อนจัดในฤดูร้อนของประเทศกาตาร์ ฟุตบอลโลกครั้งนี้จะจัดขึ้นตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนธันวาคม ทำให้เป็นครั้งแรกที่จะไม่จัดในช่วงกลางปี โดยกรอบเวลาของการแข่งขันจะลดลงเหลือ 29 วัน[6]
มีการกล่าวหาว่ามีการทุจริตเกี่ยวกับการที่ประเทศกาตาร์ได้รับสิทธิ์เป็นเจ้าภาพ การสอบสวนภายในและรายงานของฟีฟ่าทำให้ประเทศกาตาร์พ้นต่อความผิดใด ๆ แต่มิเชล เจ. การ์ซิอา หัวหน้าเจ้าพนักงานสืบสวน ก็ได้อธิบายรายงานของฟีฟ่าเกี่ยวกับการไต่สวนของเขาว่ามี "การเป็นตัวแทนที่ไม่สมบูรณ์และผิดพลาดจำนวนมาก"[7] เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2015 อัยการสมาพันธรัฐสวิสได้เปิดการสอบสวนเรื่องการทุจริตและการฟอกเงินที่เกี่ยวข้องกับการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2018 และ 2022[8][9] เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2018 เซ็พ บลัทเทอร์ อดีตประธานฟีฟ่า อ้างว่าประเทศกาตาร์ใช้ "ปฏิบัติการดำ" โดยชี้ว่าคณะกรรมการประมูลโกงเพื่อชิงสิทธิ์การเป็นเจ้าภาพ[10] นอกจากนี้ ประเทศกาตาร์เผชิญคำวิจารณ์หนักจากการปฏิบัติต่อแรงงานต่างด้าวที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมตัวจัดการแข่งชัน แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ระบุว่ามีการบังคับแรงงาน และมีแรงงานข้ามชาติหลายร้อยหรือหลายพันคนเสียชีวิตอันเป็นผลมาจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน และสภาพการทำงานที่ประมาทและไร้มนุษยธรรม แม้ว่าจะมีการร่างมาตรฐานสวัสดิการแรงงานในปี 2014
การคัดเลือกเจ้าภาพ
[แก้]ทีม
[แก้]ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
[แก้]หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บเป็นตำแหน่งสุดท้ายในอันดับโลกฟีฟ่าก่อนการแข่งขัน[11]
เอเอฟซี (6)
ซีเอเอฟ (5) |
คอนคาแคฟ (4) คอนเมบอล (4)
โอเอฟซี (0)
|
ยูฟ่า (13) |
|
การจับสลาก
[แก้]การจับสลากรอบสุดท้ายจัดขึ้นที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุมโดฮา ในกรุงโดฮา ประเทศกาตาร์[12] เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2022[13] เวลา 19:00 น. (เวลามาตรฐานอาระเบีย) ก่อนที่จะการแข่งขันรอบคัดเลือกจะเสร็จสิ้น ผู้ชนะสองทีมจากเพลย์ออฟระหว่างสมาพันธ์และผู้ชนะจากสายเอของเพลย์ออฟโซนยุโรปจึงยังไม่เป็นที่ทราบกันขณะจับสลาก[14]
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
กาตาร์ (51) (เจ้าภาพ) |
เม็กซิโก (9) |
เซเนกัล (20) |
แคเมอรูน (37) |
ผู้เล่น
[แก้]ผู้ตัดสิน
[แก้]เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ฟีฟ่าได้ประกาศรายชื่อผู้ตัดสิน 36 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน 69 คน และผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ 24 คนสำหรับการแข่งขัน[15][16] เป็นครั้งแรกที่ผู้ตัดสินหญิงจะเป็นผู้ตัดสินเกมในการแข่งขันรายการใหญ่ชาย
Stéphanie Frappart จากฝรั่งเศส, Salima Mukansanga จากรวันดา และ Yoshimi Yamashita จากญี่ปุ่น กลายเป็นผู้ตัดสินหญิงคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งให้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกชาย Frappart ดูแลการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงปี 2019 รอบชิงชนะเลิศ[17]
สนามแข่งขัน
[แก้]ลูซัยล์ | อัลเคาร์ | โดฮา | |
---|---|---|---|
สนามกีฬานานาชาติลูซัยล์ | สนามกีฬาอัลบัยต์ | สนามกีฬา 974 | สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ |
ความจุ: 80,000 ที่นั่ง |
ความจุ: 60,000 ที่นั่ง[18] | ความจุ: 40,000 ที่นั่ง[19] |
ความจุ: 40,000 ที่นั่ง[20] |
เมืองเจ้าภาพในกาตาร์ | สนามกีฬาในพื้นที่โดฮา | ||
อัรร็อยยาน | อัลวักเราะฮ์ | ||
สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์ | สนามกีฬานครการศึกษา | สนามกีฬาอะห์มัด บิน อะลี[e] | สนามกีฬาอัลญะนูบ |
ความจุ: 45,416 ที่นั่ง[21] | ความจุ: 45,350 ที่นั่ง[22] | ความจุ: 44,740 ที่นั่ง[23] | ความจุ: 40,000 ที่นั่ง[24] |
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]กลุ่มเอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เนเธอร์แลนด์ | 3 | 2 | 1 | 0 | 5 | 1 | +4 | 7 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | เซเนกัล | 3 | 2 | 0 | 1 | 5 | 4 | +1 | 6 | |
3 | เอกวาดอร์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 3 | +1 | 4 | |
4 | กาตาร์ (H) | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 7 | −6 | 0 |
เนเธอร์แลนด์ | 2–0 | กาตาร์ |
---|---|---|
|
รายงาน |
กลุ่มบี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อังกฤษ | 3 | 2 | 1 | 0 | 9 | 2 | +7 | 7 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | สหรัฐ | 3 | 1 | 2 | 0 | 2 | 1 | +1 | 5 | |
3 | อิหร่าน | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 7 | −3 | 3 | |
4 | เวลส์ | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 6 | −5 | 1 |
กลุ่มซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อาร์เจนตินา | 3 | 2 | 0 | 1 | 5 | 2 | +3 | 6 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | โปแลนด์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | |
3 | เม็กซิโก | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 3 | −1 | 4 | |
4 | ซาอุดีอาระเบีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 5 | −2 | 3 |
โปแลนด์ | 2–0 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
อาร์เจนตินา | 2–0 | เม็กซิโก |
---|---|---|
|
รายงาน |
โปแลนด์ | 0–2 | อาร์เจนตินา |
---|---|---|
รายงาน |
|
กลุ่มดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ฝรั่งเศส | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 3 | +3 | 6 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | ออสเตรเลีย | 3 | 2 | 0 | 1 | 3 | 4 | −1 | 6 | |
3 | ตูนิเซีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 0 | 4 | |
4 | เดนมาร์ก | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 3 | −2 | 1 |
ตูนิเซีย | 0–1 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
รายงาน |
|
กลุ่มอี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ญี่ปุ่น | 3 | 2 | 0 | 1 | 4 | 3 | +1 | 6 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | สเปน | 3 | 1 | 1 | 1 | 9 | 3 | +6 | 4 | |
3 | เยอรมนี | 3 | 1 | 1 | 1 | 6 | 5 | +1 | 4 | |
4 | คอสตาริกา | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 11 | −8 | 3 |
สเปน | 7–0 | คอสตาริกา |
---|---|---|
รายงาน |
กลุ่มเอฟ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โมร็อกโก | 3 | 2 | 1 | 0 | 4 | 1 | +3 | 7 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | โครเอเชีย | 3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 1 | +3 | 5 | |
3 | เบลเยียม | 3 | 1 | 1 | 1 | 1 | 2 | −1 | 4 | |
4 | แคนาดา | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 7 | −5 | 0 |
กลุ่มจี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บราซิล | 3 | 2 | 0 | 1 | 3 | 1 | +2 | 6 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | สวิตเซอร์แลนด์ | 3 | 2 | 0 | 1 | 4 | 3 | +1 | 6 | |
3 | แคเมอรูน | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 4 | 0 | 4 | |
4 | เซอร์เบีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 5 | 8 | −3 | 1 |
บราซิล | 2–0 | เซอร์เบีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
แคเมอรูน | 3–3 | เซอร์เบีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
เซอร์เบีย | 2–3 | สวิตเซอร์แลนด์ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
แคเมอรูน | 1–0 | บราซิล |
---|---|---|
|
รายงาน |
กลุ่มเอช
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โปรตุเกส | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 4 | +2 | 6 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | เกาหลีใต้ | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 4 | 0 | 4 | |
3 | อุรุกวัย | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | |
4 | กานา | 3 | 1 | 0 | 2 | 5 | 7 | −2 | 3 |
เกาหลีใต้ | 2–3 | กานา |
---|---|---|
|
รายงาน |
กานา | 0–2 | อุรุกวัย |
---|---|---|
รายงาน |
|
เกาหลีใต้ | 2–1 | โปรตุเกส |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายการแข่งขัน
[แก้]รอบ 16 ทีม | รอบก่อนรองฯ | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ | |||||||||||
3 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (เคาะลีฟะฮ์) | ||||||||||||||
เนเธอร์แลนด์ | 3 | |||||||||||||
9 ธันวาคม – ลูซัยล์ | ||||||||||||||
สหรัฐ | 1 | |||||||||||||
เนเธอร์แลนด์ | 2 (3) | |||||||||||||
3 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (อะห์มัด บิน อะลี) | ||||||||||||||
อาร์เจนตินา (ลูกโทษ) | 2 (4) | |||||||||||||
อาร์เจนตินา | 2 | |||||||||||||
13 ธันวาคม – ลูซัยล์ | ||||||||||||||
ออสเตรเลีย | 1 | |||||||||||||
อาร์เจนตินา | 3 | |||||||||||||
5 ธันวาคม – อัลวักเราะฮ์ | ||||||||||||||
โครเอเชีย | 0 | |||||||||||||
ญี่ปุ่น | 1 (1) | |||||||||||||
9 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (นครการศึกษา) | ||||||||||||||
โครเอเชีย (ลูกโทษ) | 1 (3) | |||||||||||||
โครเอเชีย (ลูกโทษ) | 1 (4) | |||||||||||||
5 ธันวาคม – โดฮา (974) | ||||||||||||||
บราซิล | 1 (2) | |||||||||||||
บราซิล | 4 | |||||||||||||
18 ธันวาคม – ลูซัยล์ | ||||||||||||||
เกาหลีใต้ | 1 | |||||||||||||
อาร์เจนตินา (ลูกโทษ) | 3 (4) | |||||||||||||
4 ธันวาคม – อัลเคาร์ | ||||||||||||||
ฝรั่งเศส | 3 (2) | |||||||||||||
อังกฤษ | 3 | |||||||||||||
10 ธันวาคม – อัลเคาร์ | ||||||||||||||
เซเนกัล | 0 | |||||||||||||
อังกฤษ | 1 | |||||||||||||
4 ธันวาคม – โดฮา (อัษษุมามะฮ์) | ||||||||||||||
ฝรั่งเศส | 2 | |||||||||||||
ฝรั่งเศส | 3 | |||||||||||||
14 ธันวาคม – อัลเคาร์ | ||||||||||||||
โปแลนด์ | 1 | |||||||||||||
ฝรั่งเศส | 2 | |||||||||||||
6 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (นครการศึกษา) | ||||||||||||||
โมร็อกโก | 0 | ชิงที่สาม | ||||||||||||
โมร็อกโก (ลูกโทษ) | 0 (3) | |||||||||||||
10 ธันวาคม – โดฮา (อัษษุมามะฮ์) | 17 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (เคาะลีฟะฮ์) | |||||||||||||
สเปน | 0 (0) | |||||||||||||
โมร็อกโก | 1 | โครเอเชีย | 2 | |||||||||||
6 ธันวาคม – ลูซัยล์ | ||||||||||||||
โปรตุเกส | 0 | โมร็อกโก | 1 | |||||||||||
โปรตุเกส | 6 | |||||||||||||
สวิตเซอร์แลนด์ | 1 | |||||||||||||
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
[แก้]เนเธอร์แลนด์ | 3–1 | สหรัฐ |
---|---|---|
รายงาน |
|
อาร์เจนตินา | 2–1 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
รายงาน |
|
บราซิล | 4–1 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]เนเธอร์แลนด์ | 2–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | อาร์เจนตินา |
---|---|---|
|
รายงาน | |
ลูกโทษ | ||
3–4 |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]รอบชิงอันดับที่ 3
[แก้]รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]รางวัล
[แก้]รางวัลด้านล่างนี้ได้มอบให้หลังได้บทสรุปของการแข่งขัน. รางวัลรองเท้าทองคำ, ลูกบอลทองคำ และ ถุงมือทองคำ ได้รับการสนับสนุนจาก อาดิดาส.[25][26]
ลูกบอลทองคำ | ลูกบอลเงิน | ลูกบอลทองแดง |
---|---|---|
ลิโอเนล เมสซิ | กีลียาน อึมบาเป | ลูคา มอดริช |
รองเท้าทองคำ | รองเท้าเงิน | รองเท้าทองแดง |
กีลียาน อึมบาเป | ลิโอเนล เมสซิ | ออลีวีเย ฌีรู |
8 ประตู, 2 แอสซิสต์ 597 นาทีที่ลงเล่น |
7 ประตู, 3 แอสซิสต์ 690 นาทีที่ลงเล่น |
4 ประตู, 0 แอสซิสต์ 423 นาทีที่ลงเล่น |
ถุงมือทองคำ | ||
เอมิเลียโน มาร์ติเนซ | ||
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม | ||
เอนโซ เฟร์นันเดซ | ||
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์ | ||
อังกฤษ |
สถิติ
[แก้]ผู้ทำประตู
[แก้]มีการทำประตู 172 ประตู จากการแข่งขัน 64 นัด เฉลี่ย 2.69 ประตูต่อนัด
การทำประตู 8 ครั้ง
การทำประตู 7 ครั้ง
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
- เนย์มาร์
- แว็งซ็อง อาบูบาการ์
- อันเดรย์ กรามาริช
- แฮร์รี เคน
- นิคคลัส ฟึลครูค
- ไค ฮาเวิทซ์
- โมแฮมเมด คูดุส
- เมฮ์ดี ทอเรมี
- ริตสึ โดอัง
- ยูซุฟ อันนุศ็อยรี
- เวาต์ เวคอสต์
- รอแบร์ต แลวันดอฟสกี
- บรูนู ฟือร์นังดึช
- ราฟาแอล ลีเยา
- ซาลิม อัดเดาซะรี
- อาเล็กซานดาร์ มิตรอวิช
- โช กยู-ซ็อง
- เฟร์รัน ตอร์เรส
- เบรล เอ็มโบโล
- ยอร์ยัน เด อาร์รัสกาเอตา
การทำประตู 1 ครั้ง
- อังเฆล ดิ มาริอา
- เอนโซ เฟร์นันเดซ
- อาเลกซิส มัก อาลิสเตร์
- นาเวล โมลินา
- มิตเชลล์ ดูก
- เครก กู๊ดวิน
- แมทิว เล็กกี
- มีชี บัตชัวยี
- กาเซมีรู
- ลูกัส ปาเกตา
- วีนีซียุส ฌูนีโยร์
- ฌ็อง-ชาร์ล กัสเตเลโต
- เอริก มักซิม ชูโป-โมติง
- อัลฟอนโซ เดวีส์
- เกย์เชร์ ฟูเลร์
- เยลต์ซิน เตเฮดา
- ฮวน ปาโบล บาร์กัส
- ย็อชกอ กวาร์ดิออล
- มาร์กอ ลิวายา
- ลอวรอ มาเยร์
- มิสลัฟ ออร์ชิช
- อิวัน เปริชิช
- บรูนอ เปตกอวิช
- แอนเตรแอส เครสเตินเซิน
- มอยเซส ไกเซโด
- จูด เบลลิงแฮม
- ฟิล โฟเดน
- แจ็ก กรีลิช
- จอร์แดน เฮนเดอร์สัน
- ราฮีม สเตอร์ลิง
- เตโอ แอร์น็องแดซ
- ร็องดาล กอโล มัวนี
- อาดรีแย็ง ราบีโย
- โอเรเลียง ชัวเมนี
- แซร์ช กนาบรี
- อิลไค กึนโดอัน
- อานเดร อายูว์
- ออสมาน บูคารี
- โมแฮมเมด ซาลีซู
- รูซเบ เชชมี
- รอมีน เรซอยยอน
- ทากูมะ อาซาโนะ
- ไดเซ็ง มาเอดะ
- อาโอะ ทานากะ
- ลุยส์ ชาเบซ
- เฆนริ มาร์ติน
- ซะกะรียา อะบูคลาล
- อัชร็อฟ ดารี
- รอแม็ง ซาอิส
- ฮะกีม ซิยาช
- เดลีย์ บลินด์
- แม็มฟิส เดอไป
- แด็นเซิล ดึมฟรีส
- แฟร็งกี เดอ โยง
- เดวี กลาสเซิน
- ปียอตร์ แชลิญสกี
- ฌูเวา แฟลิกส์
- ราฟาแอล กึไรรู
- รีการ์ดู ออร์ตา
- เปปี
- คริสเตียโน โรนัลโด
- มุฮัมมัด มูนตารี
- ศอเลียะห์ อัชชะฮ์รี
- บูลาย ดียา
- ฟามารา ดีเยดียู
- บามบา เดียง
- กาลีดู กูลีบาลี
- อิสมาอีลา ซาร์
- เซร์เกย์ มิลีงกอวิช-ซาวิช
- สตราคิญา ปาฟลอวิช
- ดูชัน วลาคอวิช
- ฮวัง ฮี-ชัน
- คิม ย็อง-กว็อน
- แพ็ก ซึง-โฮ
- มาร์โก อาเซนซิโอ
- กาบิ
- ดานิ โอลโม
- การ์โลส โซเลร์
- มานูเอ็ล อาคันจี
- เรโม ฟร็อยเลอร์
- แจร์ดัน ชาชีรี
- วะฮ์บี ค็อซรี
- คริสเตียน พะลิซิก
- ทิโมที เวอาห์
- ฮาจี ไรต์
- แกเร็ท เบล
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- เอนโซ เฟร์นันเดซ (ในนัดที่พบกับ ออสเตรเลีย)
- นายิฟ อะกัรด์ (ในนัดที่พบกับ แคนาดา)
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
การตลาด
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สิทธิการออกอากาศ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ ฟุตบอลโลก 2018 ในรัสเซียมีสนามในทวีปเอเชียสองหากอ้างอิงจากขอบเขตทางภูมิศาสตร์ระหว่างเอเชียและยุโรป ได้แก่ เยคาเตรินบุร์ก และโซชิ
- ↑ ผู้ชนะจากสายเอของเพลย์ออฟโซนยุโรป โดยยังไม่ทราบตัวตน ณ เวลาของการจับสลาก
- ↑ ผู้ชนะจากเพลย์ออฟ คอนคาแคฟ–โอเอฟซี โดยยังไม่ทราบตัวตน ณ เวลาของการจับสลาก
- ↑ ผู้ชนะจากเพลย์ออฟ เอเอฟซี–คอนเมบอล โดยยังไม่ทราบตัวตน ณ เวลาของการจับสลาก
- ↑ สนามกีฬาอะห์มัด บิน อะลีอยู่ในเมืองอัรร็อยยาน แต่อยู่นอกเขตของแผนที่พื้นที่โดฮา
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ‘ฟีฟ่า’ยันบอลโลก2022บู๊ฤดูหนาวยก’รัสเซีย2018’เจ๋งสุด
- ↑ เอาแล้วไง! ฟีฟ่าแถลงบอลโลก 2022 เปลี่ยนแปลงใหญ่ ไทยมีลุ้นไปครั้งแรก
- ↑ FIFA เผยกำหนดการฟุตบอลโลก 2022 เตรียมลงแข่งช่วงฤดูหนาวเป็นครั้งแรกที่กาตาร์
- ↑ "Amir: 2022 World Cup Qatar a tournament for all Arabs". Gulf Times. 15 July 2018. สืบค้นเมื่อ 7 September 2018.
- ↑ Taylor, Daniel (15 July 2018). "France seal second World Cup triumph with 4–2 win over brave Croatia". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 7 September 2018.
- ↑ "FIFA Executive Committee confirms November/December event period for Qatar 2022". FIFA. 19 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-10. สืบค้นเมื่อ 2021-07-13.
- ↑ "Fifa report 'erroneous', says lawyer who investigated corruption claims". BBC Sport. 13 November 2014. สืบค้นเมื่อ 24 February 2015.
- ↑ "Criminal investigation into 2018 and 2022 World Cup awards opened". ESPN FC. ESPN. 27 May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2015. สืบค้นเมื่อ 27 May 2015.
- ↑ "The Office of the Attorney General of Switzerland seizes documents at FIFA". The Federal Council. The Swiss Government. 27 May 2015. สืบค้นเมื่อ 27 May 2015.
- ↑ "Sepp Blatter says Qatar cheated to host World Cup". 5 August 2018.
- ↑ ""FIFA/Coca-Cola World Ranking"". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 6 October 2022. สืบค้นเมื่อ 7 October 2022.
- ↑ "FIFA Council endorses global summit to discuss the future of football". FIFA. 20 October 2021. สืบค้นเมื่อ 20 October 2021.
- ↑ "2022 European football calendar: Match and draw dates for all UEFA competitions". UEFA. 1 January 2022. สืบค้นเมื่อ 5 January 2022.
- ↑ "Procedures for the Final Draw for the FIFA World Cup Qatar 2022 released". FIFA. 22 March 2022. สืบค้นเมื่อ 22 March 2022.
- ↑ "36 referees, 69 assistant referees and 24 video match officials appointed for FIFA World Cup Qatar 2022". FIFA. 2022-05-19. สืบค้นเมื่อ 2022-05-19.
- ↑ "FIFA World Cup Qatar 2022 – List of appointed FIFA Match Officials" (PDF). FIFA. 2022-05-19. สืบค้นเมื่อ 2022-05-19.
- ↑ "Frappart: Final role a huge source of pride". FIFA.com.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "Al Bayt Stadium: A uniquely Qatari stadium, to rival the best in the world". 8 January 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-10. สืบค้นเมื่อ 2021-06-10.
- ↑ "Qatar Foundation Stadium: An amazing experience for fans & a bright future for football". 8 January 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 January 2018. สืบค้นเมื่อ 8 January 2018.
- ↑ "Al Thuymama Stadium: A tribute to our region". 8 January 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-31. สืบค้นเมื่อ 2021-06-10.
- ↑ "Khalifa International Stadium: Qatar's most historic stadium & a crucial player for 2022". 8 January 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 December 2019. สืบค้นเมื่อ 8 January 2018.
- ↑ "Ras Abu Aboud Stadium: A legacy for the community". 8 January 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 July 2019. สืบค้นเมื่อ 8 January 2018.
- ↑ "Al Rayyan Stadium: The gateway to the desert opens its doors to the world". 8 January 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 July 2019. สืบค้นเมื่อ 8 January 2018.
- ↑ "Tradition and innovation come together as striking Al Janoub Stadium in Al Wakrah City is opened". 16 May 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2019. สืบค้นเมื่อ 23 May 2019.
- ↑ "Messi makes Golden Ball history". FIFA. 18 December 2022. สืบค้นเมื่อ 18 December 2022.
- ↑ "Mbappe pips Messi to Golden Boot". FIFA. 18 December 2022. สืบค้นเมื่อ 18 December 2022.