ฟุตบอลทีมชาติภูฏาน
หน้าตา
Shirt badge/Association crest | |||
ฉายา | Bhutan Eleven ดินแดนสันโดษ (ฉายาในภาษาไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลภูฏาน | ||
สมาพันธ์ย่อย | สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียใต้ (SAFF) | ||
สมาพันธ์ | เอเอฟซี (ทวีปเอเชีย) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | โชคี นีมา | ||
ทำประตูสูงสุด | วังเก ดอร์จี พัสซัง เชอริง (5 ประตู) | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬาชางลิมิตัง | ||
รหัสฟีฟ่า | BHU | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 183 2 (20 มิถุนายน 2024)[1] | ||
อันดับสูงสุด | 187 (ธันวาคม พ.ศ. 2546, อีกครั้งใน พ.ศ. 2547, พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2551) | ||
อันดับต่ำสุด | 209 (พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
เนปาล 3 – 1 ภูฏาน (กาฐมาณฑุ, เนปาล; 1 เมษายน พ.ศ. 2525) | |||
ชนะสูงสุด | |||
ภูฏาน 6 – 0 กวม (ทิมพู, ภูฏาน; 23 เมษายน, พ.ศ. 2546) | |||
แพ้สูงสุด | |||
คูเวต 20 – 0 ภูฏาน (คูเวตซิตี, คูเวต; 14 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2543) | |||
South Asian Football Federation Cup | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน พ.ศ. 2546) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบรองชนะเลิศ, พ.ศ. 2551 |
ฟุตบอลทีมชาติภูฏาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศภูฏาน อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลภูฏาน เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) และเข้าร่วมกับฟีฟ่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ทีมชาติภูฏานชนะประเทศอื่นครั้งแรกในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 โดยแข่งกับทีมชาติมอนต์เซอร์รัตในเมืองทิมพูเมืองหลวงของภูฏาน และเกมการแข่งขันนี้ถูกสร้างไปเป็นหนังภาพยนตร์เรื่อง "The Other Final" ในเวลาต่อมา
ผลงาน
[แก้]- 1993-2006 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 2010–2022 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1956-1996 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 2000-2004 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 2007 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1993-1999 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 2003-2005 - รอบแรก
- 2006 - รอบแรก
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- รายละเอียด ทีมชาติภูฏาน เก็บถาวร 2006-09-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บฟีฟ่า (อังกฤษ)
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.