ฟุตบอลทีมชาติจอร์แดน
หน้าตา
ฉายา | النشامى (อัศวิน)[1] | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลจอร์แดน | |||||||||||
สมาพันธ์ย่อย | สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) | |||||||||||
สมาพันธ์ | สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) | |||||||||||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Hussein Ammouta | |||||||||||
กัปตัน | บะฮาอ์ อับดุรเราะห์มาน | |||||||||||
ติดทีมชาติสูงสุด | อามิร ชะเฟียะอ์ (176)[2][3] | |||||||||||
ทำประตูสูงสุด | ฮัมซะฮ์ อัดดัรดูร (33) | |||||||||||
สนามเหย้า | สนามกีฬานานาชาติอัมมาน สนามกีฬาสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 | |||||||||||
รหัสฟีฟ่า | JOR | |||||||||||
| ||||||||||||
อันดับฟีฟ่า | ||||||||||||
อันดับปัจจุบัน | 64 (19 ธันวาคม 2024)[4][5] | |||||||||||
อันดับสูงสุด | 37 (สิงหาคม – กันยายน 2004) | |||||||||||
อันดับต่ำสุด | 152 (กรกฎาคม 1996) | |||||||||||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | ||||||||||||
ซีเรีย 3–1 จอร์แดน (อะเล็กซานเดรีย อียิปต์: 30 กรกฎาคม 1953) | ||||||||||||
ชนะสูงสุด | ||||||||||||
จอร์แดน 9–0 เนปาล (อัมมาน จอร์แดน: 23 กรกฎาคม 2011) | ||||||||||||
แพ้สูงสุด | ||||||||||||
จีน 6–0 จอร์แดน (กวางโจว จีน: 15 กันยายน 1984) ญี่ปุ่น 6–0 จอร์แดน (ไซตามะ ญี่ปุ่น: 8 มิถุนายน 2012) | ||||||||||||
เอเชียนคัพ | ||||||||||||
เข้าร่วม | 5 (ครั้งแรกใน 2004) | |||||||||||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ (2023) | |||||||||||
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันตก | ||||||||||||
เข้าร่วม | 9 (ครั้งแรกใน 2000) | |||||||||||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ (2002, 2008, 2014) | |||||||||||
ฟีฟ่าอาหรับคัพ | ||||||||||||
เข้าร่วม | 9 (ครั้งแรกใน 1963) | |||||||||||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 3 (2002) | |||||||||||
เกียรติยศ
| ||||||||||||
เว็บไซต์ | jfa.jo |
ฟุตบอลทีมชาติจอร์แดน (อาหรับ: المنتخب الأردني لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศจอร์แดน อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลจอร์แดน ทีมชาติจอร์แดนไม่เคยผ่านเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย แต่เคยเข้าร่วมเอเชียนคัพ 5 ครั้ง โดยทำผลงานที่ดีที่สุดด้วยการเป็นรองชนะเลิศในปี 2023
จอร์แดนชนะเลิศแพนอาหรับเกมสองสมัยในปี 1997 และ 1999 และเคยเป็นเจ้าภาพฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันตกสามครั้งในปี 2000, 2007 และ 2010 เป็นเจ้าภาพอาหรับคัพในปี 1988 และแพนอาหรับเกมส์ในปี 1999
ผลงาน
[แก้]- 2011 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2015 - รอบแบ่งกลุ่ม
- 2019 - รอบ 16 ทีม
- 2023 - รองชนะเลิศ
ดูเพิ่ม
[แก้]- ฟุตบอลทีมชาติจอร์แดนรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
- ฟุตบอลทีมชาติจอร์แดนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
- ฟุตบอลทีมชาติจอร์แดนรุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี
- ฟุตบอลหญิงทีมชาติจอร์แดน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Smale, Simon. "Who the Socceroos are facing as the Asian Cup kicks off, and when to watch". ABC News. Australian Broadcasting Corporation. สืบค้นเมื่อ 6 January 2019.
- ↑ Amer Shafi Sabbah Mahmoud – Century of International Appearances
- ↑ FIFA Century Club
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 19 ธันวาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2024.
- ↑ FIFA.com. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking - Associations - Jordan - Men's". FIFA.com (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 February 2015. สืบค้นเมื่อ 2019-02-22.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ฟุตบอลทีมชาติจอร์แดน