เอเชียนคัพ 2019
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
วันที่ | 5 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 |
ทีม | 24 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 8 (ใน 4 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | กาตาร์ (สมัยที่ 1) |
รองชนะเลิศ | ญี่ปุ่น |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 39 |
จำนวนประตู | 103 (2.64 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 392,518 (10,065 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | อัลโมซ อาลี (9 ประตู) |
เอเชียนคัพ 2019 (อาหรับ: كأس آسيا 2019) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายชิงแชมป์เอเชีย (เอเชียนคัพ) ครั้งที่ 17 ภายใต้การควบคุมของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ได้รับคัดเลือกให้เป็นเจ้าภาพเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งก่อนหน้านั้นเคยเป็นเจ้าภาพมาแล้วในเอเชียนคัพ 1996
ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่เอเชียนคัพเพิ่มจำนวนทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจาก 16 เป็น 24 ทีม[1] การแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม จะมี 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม
ในรอบคัดเลือก เจ้าภาพได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ ส่วนทีมที่เหลือต้องแข่งขันกันไปเรื่อย ๆ จนได้ 23 ทีม โดยเริ่มแข่งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 ไปจนถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 ในรอบคัดเลือก 2 รอบแรก จะดำเนินการแข่งร่วมกับฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย
ในการแข่งขันเอเชียนคัพครั้งนี้ ออสเตรเลียจะเป็นทีมที่ป้องกันตำแหน่งแชมป์ หลังจากที่ชนะเลิศในเอเชียนคัพ 2015 ที่ประเทศออสเตรเลีย แต่ทีมชนะเลิศเอเชียนคัพ 2019 ครั้งนี้ จะไม่ได้เข้าแข่งขันกับทีมชนะเลิศจากทวีปอื่น ๆ ในฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2021 เหมือนทุกปีที่ผ่านมา เนื่องจากรายการดังกล่าวถูกยุบโดยสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ และนำฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกมาแข่งขันแทน[2]
การคัดเลือก
[แก้]ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
[แก้]เอเชียนคัพ 2019 ได้ปรับเปลี่ยนจำนวนทีมในรอบสุดท้ายจาก 16 ทีม เป็น 24 ทีม โดยทีมที่ผ่านถึงรอบที่ 3 ของฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย รวมทั้งสิ้น 12 ทีมจะเข้าสู่รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติและจะทำการคัดเลือกทีมที่เหลือให้ได้ครบ 24 ทีม ซึ่งการแข่งขันในรอบคัดเลือกได้สิ้นสุดเมื่อ 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 โดยได้ 24 ทีมผ่านเข้ารอบสุดท้ายที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ในที่นี้มีจำนวน 3 ชาติที่เพิ่งผ่านเข้ารอบสุดท้ายได้เป็นครั้งแรก ประกอบไปด้วย ฟิลิปปินส์, เยเมน และคีร์กีซสถาน สำหรับทีมชาติไทยเป็นการเข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายเป็นครั้งที่ 7
ทีม | วิธีการเข้ารอบ | วันที่ผ่านเข้ารอบ | ผลงานที่ดีที่สุด |
---|---|---|---|
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | เจ้าภาพ | 9 มีนาคม พ.ศ. 2558 | รองชนะเลิศ (1996) |
ซาอุดีอาระเบีย | ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอ | 24 มีนาคม พ.ศ. 2559 | ชนะเลิศ (1984, 1988, 1996) |
ออสเตรเลีย | ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มบี | 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 | ชนะเลิศ (2015) |
กาตาร์ | ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มซี | 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (2000, 2011) |
อิหร่าน | ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มดี | 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 | ชนะเลิศ (1968, 1972, 1976) |
ญี่ปุ่น | ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มอี | 24 มีนาคม พ.ศ. 2559 | ชนะเลิศ (1992,2000,2004,2011) |
ไทย | ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอฟ | 24 มีนาคม พ.ศ. 2559 | อันดับที่สาม (1972) |
เกาหลีใต้ | ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มจี | 13 มกราคม พ.ศ. 2559 | ชนะเลิศ (1956, 1960) |
อุซเบกิสถาน | ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอช | 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 | อันดับที่สี่ (2011) |
อิรัก | ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอฟ | 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 | ชนะเลิศ (2007) |
ซีเรีย | ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มอี | 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 | รอบแบ่งกลุ่ม (1980, 1984, 1988, 1996, 2011) |
จีน | ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มซี | 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 | รองชนะเลิศ (1984, 2004) |
อินเดีย | ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอ | 11 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | 3 (1964, 1984, 2011) |
คีร์กีซสถาน | ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอ | 22 มีนาคม พ.ศ. 2561 | 0 (ครั้งแรก) |
เลบานอน | ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มบี | 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | 1 (2000) |
เกาหลีเหนือ | ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มบี | 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 | 4 (1980, 1992, 2011, 2015) |
จอร์แดน | ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มซี | 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | 3 (2004, 2011, 2015) |
เวียดนาม | ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มซี | 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | 3 (19562, 19602, 2007) |
ปาเลสไตน์ | ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มดี | 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | 1 (2015) |
โอมาน | ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มดี | 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 | 3 (2004, 2007, 2015) |
บาห์เรน | ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มอี | 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | 5 (1988, 2004, 2007, 2011, 2015) |
เติร์กเมนิสถาน | ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มอี | 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 | 1 (2004) |
ฟิลิปปินส์ | ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอฟ | 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 | 0 (ครั้งแรก) |
เยเมน | ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอฟ | 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 | 0 (ครั้งแรก) |
สนาม
[แก้]รายชื่อสนามที่ใช้แข่งขันทั้งหมด[3]
อาบูดาบี | ||
---|---|---|
สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี | สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด | สนามกีฬาอัลนะฮ์ยาน |
ความจุ: 43,630 ที่นั่ง | ความจุ: 42,056 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) | ความจุ: 12,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) |
ดูไบ | ||
สนามกีฬามักตูม รอชิด อาล มักตูม | ||
ความจุ: 12,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) | ||
ดูไบ | ||
สนามกีฬาอาลมักตูม | ||
ความจุ: 15,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) | ||
อัลอัยน์ | ชาร์จาห์ | |
สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด | สนามกีฬาเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด | สนามกีฬาชาร์จาห์ |
ความจุ: 25,965 ที่นั่ง | ความจุ: 16,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) | ความจุ: 11,073 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) |
การจับสลากแบ่งกลุ่ม
[แก้]การจับสลากสำหรับฟุตบอลเอเชียนคัพรอบสุดท้ายได้จัดขึ้นในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ที่อาร์มานีโฮเทลในดูไบ ในฐานะเจ้าภาพ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์จะได้เป็นทีมวางอยู่ในโถที่ 1 ทีมอื่น ๆ อีก 23 ทีมจะได้รับการจัดสรรตามอันดับฟีฟ่าของพวกเขาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2561 ทั้ง 24 ทีมจะได้รับการจับสลากแบ่งในกลุ่ม 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยชาติเจ้าภาพอยู่ในตำแหน่งเอ 1
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
|
|
ผู้ตัดสิน
[แก้]5 ธันวาคม 2561 สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ได้ประกาศรายชื่อผู้ตัดสินจำนวน 60 ราย ที่จะลงทำหน้าที่ตัดสินในเกมการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 ระหว่างวันที่ 5 มกราคม 2562 – 1 กุมภาพันธ์ 2562 ที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทั้งประเภทที่ทำหน้าที่ในสนาม และผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ โดยแยกเป็นผู้ตัดสิน 30 ราย และผู้ช่วยผู้ตัดสินอีก 30 ราย
- Chris Beath
- Peter Green
- Nawaf Shukralla
- Fu Ming
- Ma Ning
- Liu Kwok Man
- Alireza Faghani
- Ali Sabah
- Mohanad Qasim Eesee Sarray
- Jumpei Iida
- Hiroyuki Kimura
- Ryuji Sato
- Ahmed Al-Ali
- Adham Makhadmeh
- Kim Dong-jin
- Ko Hyung-jin
- Mohd Amirul Izwan Yaacob
- César Arturo Ramos
- Ahmed Al-Kaf
- Abdulrahman Al-Jassim
- Khamis Al-Kuwari
- Khamis Al-Marri
- Turki Al-Khudhayr
- Muhammad Taqi
- Hettikamkanamge Perera
- Ammar Al-Jeneibi
- Mohammed Abdulla Hassan Mohamed
- Ravshan Irmatov
- Valentin Kovalenko
- Ilgiz Tantashev
- Matthew Cream
- Anton Shchetinin
- Mohamed Salman
- Yaser Tulefat
- Cao Yi
- Huo Weiming
- Mohammadreza Mansouri
- Reza Sokhandan
- Jun Mihara
- Hiroshi Yamauchi
- Mohammad Al-Kalaf
- Ahmad Al-Roalle
- Kim Young-ha
- Yoon Kwang-yeol
- Sergei Grishchenko
- Mohd Yusri Muhamad
- Mohamad Zainal Abidin
- Miguel Hernández
- Alberto Morín
- Abu Bakar Al-Amri
- Rashid Al-Ghaithi
- Saud Al-Maqaleh
- Taleb Al-Marri
- Mohammed Al-Abakry
- Ronnie Koh Min Kiat
- Palitha Hemathunga
- Mohamed Al-Hammadi
- Hasan Al-Mahri
- Abdukhamidullo Rasulov
- Jakhongir Saidov
ผู้เล่น
[แก้]แต่ละทีมจะต้องส่งรายชื่อผู้เล่น 23 คน หรือขั้นต่ำ 18 คน โดยต้องมีผู้เล่นตำแหน่งผู้รักษาประตู 3 คน
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]กลุ่มเอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (H) | 3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 2 | +2 | 5 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ไทย | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 5 | −2 | 4[a] | |
3 | บาห์เรน | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4[a] | |
4 | อินเดีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 4 | 0 | 3 |
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 1–1 | บาห์เรน |
---|---|---|
เคาะลีล 88' (ลูกโทษ) | รายงาน | อัรรุมัยฮี 78' |
อินเดีย | 0–2 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
---|---|---|
รายงาน | ค็อล. มุบาร็อก 41' มับคูต 88' |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 1–1 | ไทย |
---|---|---|
มับคูต 7' | รายงาน | ฐิติพันธ์ 41' |
กลุ่มบี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | จอร์แดน | 3 | 2 | 1 | 0 | 3 | 0 | +3 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ออสเตรเลีย | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 3 | +3 | 6 | |
3 | ปาเลสไตน์ | 3 | 0 | 2 | 1 | 0 | 3 | −3 | 2 | |
4 | ซีเรีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 5 | −3 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ออสเตรเลีย | 0–1 | จอร์แดน |
---|---|---|
รายงาน | บะนี ยาซีน 26' |
จอร์แดน | 2–0 | ซีเรีย |
---|---|---|
อัตตะอ์มะรี 26' ค็อฏฏอบ 43' |
รายงาน |
ปาเลสไตน์ | 0–3 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
รายงาน | แม็กคลาเรน 18' มาบิล 20' จิอันนู 90' |
ออสเตรเลีย | 3–2 | ซีเรีย |
---|---|---|
มาบิล 41' ออยโคโนมิดิส 54' โรกิช 90+3' |
รายงาน | ค็อรบีน 43' อัสซูมะฮ์ 80' (ลูกโทษ) |
กลุ่มซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เกาหลีใต้ | 3 | 3 | 0 | 0 | 4 | 0 | +4 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | จีน | 3 | 2 | 0 | 1 | 5 | 3 | +2 | 6 | |
3 | คีร์กีซสถาน | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 4 | 0 | 3 | |
4 | ฟิลิปปินส์ | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 7 | −6 | 0 |
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
จีน | 2–1 | คีร์กีซสถาน |
---|---|---|
มาเตียช 50' (เข้าประตูตัวเอง) ยฺหวี ต้าเป่า 78' |
รายงาน | อิสราอีลอฟ 42' |
เกาหลีใต้ | 1–0 | ฟิลิปปินส์ |
---|---|---|
ฮวัง อึย-โจ 67' | รายงาน |
ฟิลิปปินส์ | 0–3 | จีน |
---|---|---|
รายงาน | อู๋ เหล่ย์ 40', 66' ยฺหวี ต้าเป่า 80' |
คีร์กีซสถาน | 0–1 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
รายงาน | คิม มิน-แจ 41' |
เกาหลีใต้ | 2–0 | จีน |
---|---|---|
ฮวัง อึย-โจ 14' (ลูกโทษ) คิม มิน-แจ 51' |
รายงาน |
คีร์กีซสถาน | 3–1 | ฟิลิปปินส์ |
---|---|---|
ลุคส์ 24', 51', 77' | รายงาน | ชเริค 80' |
กลุ่มดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อิหร่าน | 3 | 2 | 1 | 0 | 7 | 0 | +7 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | อิรัก | 3 | 2 | 1 | 0 | 6 | 2 | +4 | 7 | |
3 | เวียดนาม | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 5 | −1 | 3 | |
4 | เยเมน | 3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 10 | −10 | 0 |
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
อิรัก | 3–2 | เวียดนาม |
---|---|---|
อาลี 35' ทาริก 60' อัดนาน 90' |
รายงาน | ฟาเอซ อาติยาห์ 24' (เข้าประตูตัวเอง) เหงียน กง เฝื่อง 42' |
เวียดนาม | 2–0 | เยเมน |
---|---|---|
เหวียน กวาง ไฮ 38' เก ง็อค ไฮ 64' (ลูกโทษ) |
รายงาน |
กลุ่มอี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กาตาร์ | 3 | 3 | 0 | 0 | 10 | 0 | +10 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ซาอุดีอาระเบีย | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 2 | +4 | 6 | |
3 | เลบานอน | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 5 | −1 | 3 | |
4 | เกาหลีเหนือ | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 14 | −13 | 0 |
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ซาอุดีอาระเบีย | 4–0 | เกาหลีเหนือ |
---|---|---|
บาฮ์บรี 28' อัล-ฟาติล 37' อัล-ดอว์ซารี่ 70' อัล-มูวัลลาด 87' |
รายงาน |
กาตาร์ | 2–0 | เลบานอน |
---|---|---|
อัล ราวี 65' อัลโมซ อาลี 79' |
รายงาน |
เลบานอน | 0–2 | ซาอุดีอาระเบีย |
---|---|---|
รายงาน | อัล-มูวัลลาด 12' อัล-โมกาห์วี 67' |
เกาหลีเหนือ | 0–6 | กาตาร์ |
---|---|---|
รายงาน | อัลโมซ อาลี 9', 11', 55', 60' คูกี 43' ฮัสซัน 68' |
ซาอุดีอาระเบีย | 0–2 | กาตาร์ |
---|---|---|
รายงาน | อัลโมซ อาลี 45+1', 80' |
เลบานอน | 4–1 | เกาหลีเหนือ |
---|---|---|
มีแชล 27' เอล-เฮลเว 65', 90+8' มาตุ๊ก 80' (ลูกโทษ) |
รายงาน | พัก กวาง-รยอง 9' |
กลุ่มเอฟ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ญี่ปุ่น | 3 | 3 | 0 | 0 | 6 | 3 | +3 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | อุซเบกิสถาน | 3 | 2 | 0 | 1 | 7 | 3 | +4 | 6 | |
3 | โอมาน | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 4 | 0 | 3 | |
4 | เติร์กเมนิสถาน | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 10 | −7 | 0 |
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
อุซเบกิสถาน | 2–1 | โอมาน |
---|---|---|
อาห์เมดอฟ 34' โชมูโรดอฟ 85' |
รายงาน | อัล กัสซานี 72' |
เติร์กเมนิสถาน | 0–4 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
รายงาน | ซิดิคอฟ 17' โชมูโรดอฟ 24', 42' มาชาริปอฟ 40' |
โอมาน | 3–1 | เติร์กเมนิสถาน |
---|---|---|
คาโน 20' อัล กัสซานี 84' อัล-มูซาลามี่ 90+3' |
รายงาน | อันนาดูร์ดืยเยฟ 41' |
ญี่ปุ่น | 2–1 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
มูโตะ 43' ชิโอตานิ 58' |
รายงาน | เอลดอร์ โชมูโรดอฟ 40' |
การจัดอันดับที่ 3
[แก้]อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เอ | บาห์เรน | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ซี | คีร์กีซสถาน | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 4 | 0 | 3 | |
3 | เอฟ | โอมาน | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 4 | 0 | 3 | |
4 | ดี | เวียดนาม | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 5 | −1 | 3 | |
5 | อี | เลบานอน | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 5 | −1 | 3 | |
6 | บี | ซีเรีย | 3 | 0 | 2 | 1 | 2 | 5 | −3 | 2 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ประตูได้เสีย; 3) ประตูได้; 4) คะแนนวินัย; 5) จับฉลากเข้ารอบ[4]
รอบแพ้คัดออก
[แก้]รอบ 16 ทีม | รอบ 8 ทีม | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||||||||
20 มกราคม – สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด | ||||||||||||||
ไทย | 1 | |||||||||||||
24 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด | ||||||||||||||
จีน | 2 | |||||||||||||
จีน | 0 | |||||||||||||
20 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด | ||||||||||||||
อิหร่าน | 3 | |||||||||||||
อิหร่าน | 2 | |||||||||||||
28 มกราคม – สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด | ||||||||||||||
โอมาน | 0 | |||||||||||||
อิหร่าน | 0 | |||||||||||||
20 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด | ||||||||||||||
ญี่ปุ่น | 3 | |||||||||||||
จอร์แดน | 1 (2) | |||||||||||||
24 มกราคม – สนามกีฬาอาลมักตูม | ||||||||||||||
เวียดนาม (ลูกโทษ) | 1 (4) | |||||||||||||
เวียดนาม | 0 | |||||||||||||
21 มกราคม – สนามกีฬาชาร์จาห์ | ||||||||||||||
ญี่ปุ่น | 1 | |||||||||||||
ญี่ปุ่น | 1 | |||||||||||||
1 กุมภาพันธ์ – สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี | ||||||||||||||
ซาอุดีอาระเบีย | 0 | |||||||||||||
ญี่ปุ่น | 1 | |||||||||||||
22 มกราคม – สนามกีฬามักตูม รอชิด อาล มักตูม | ||||||||||||||
กาตาร์ | 3 | |||||||||||||
เกาหลีใต้ | 2 | |||||||||||||
25 มกราคม – สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี | ||||||||||||||
บาห์เรน | 1 | |||||||||||||
เกาหลีใต้ | 0 | |||||||||||||
22 มกราคม – สนามกีฬาอัลนะฮ์ยาน | ||||||||||||||
กาตาร์ | 1 | |||||||||||||
กาตาร์ | 1 | |||||||||||||
29 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด | ||||||||||||||
อิรัก | 0 | |||||||||||||
กาตาร์ | 4 | |||||||||||||
21 มกราคม – สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี | ||||||||||||||
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 0 | |||||||||||||
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 3 | |||||||||||||
25 มกราคม – สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด | ||||||||||||||
คีร์กีซสถาน | 2 | |||||||||||||
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 1 | |||||||||||||
21 มกราคม – สนามกีฬาเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด | ||||||||||||||
ออสเตรเลีย | 0 | |||||||||||||
ออสเตรเลีย | 0 (4) | |||||||||||||
อุซเบกิสถาน (ลูกโทษ) | 0 (2) | |||||||||||||
รอบ 16 ทีม
[แก้]ไทย | 1–2 | จีน |
---|---|---|
ศุภชัย 31' | รายงาน | Xiao Zhi 67' Gao Lin 71' (ลูกโทษ) |
ออสเตรเลีย | 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
มิลลิกัน เบอิช ครูส จิอันนู เล็กกี |
4–2 | ชูคูรอฟ ตูฮ์ตาโฮจาเอฟ อะลีบาเอฟ บิคมาเอฟ |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 3–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | คีร์กีซสถาน |
---|---|---|
อิสมาอีล 14' มับคูต 64' เคาะลีล 103' (ลูกโทษ) |
รายงาน | มูร์ซาเอฟ 26' รุสตามอฟ 90+1' |
เกาหลีใต้ | 2–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | บาห์เรน |
---|---|---|
ฮวัง ฮี-ชัน 43' คิม จิน-ซู 105+2' |
รายงาน | อัร รุมัยฮี 77' |
รอบ 8 ทีม
[แก้]เวียดนาม | 0–1 | ญี่ปุ่น |
---|---|---|
รายงาน | โดอัง 57' (ลูกโทษ) |
จีน 0-3 อิหร่าน
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]
สถิติ
[แก้]ผู้ทำประตูสูงสุด
[แก้]การแข่งขันเอเชียนคัพในครั้งนี้มีการทำประตูได้ทั้งหมด 96 ประตู โดยเป็นประตูที่ทำได้ใน 36 นัด สำหรับค่าเฉลี่ยในการทำประตูในแต่ละนัดคือ 2.67 ประตูต่อนัด.
- 9 ประตู
- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- อพอสโตลอส จิอันนู
- คริสโตเฟอร์ ออยโคโนมิดิส
- เจมี่ แม็คคลาเรน
- ทอม โรกิช
- จามาล ราชิด
- โมฮาเหม็ด อัล โรไมฮี
- เจเจ ลัลเพคลัว
- อนิรุธ ฐาปา
- อัสคัน เดกายาห
- ซามาน ก๊อดดอส
- อลา อับบาส
- อาลี อัดนาน
- บาสฮาร์ ราซาน
- ฮูมัม ทาริก
- ริตสึ โดอัน
- เก็งกิ ฮารากูชิ
- โยชิโนริ มูโตะ
- ที.มิโนะ
- สึคาสะ ชิโอตานิ
- มูซา อัล-ทามารี
- ทาเร็ก คัตตาบ
- อนาส บานี่ ยาซีน
- อัคห์ลิดิน อิสราอิลอฟ
- ฮัสซัน มาตุ๊ก
- เฟลิกซ์ มีแชล
- พัก กวาง-รยอง
- โมฮัมเหม็ด อัล-มูซาลามี่
- อาห์เหม็ด คาโน
- สเตฟาน ชร็อค
- ซาเลม อัล-ดอว์ซารี่
- โมฮัมเหม็ด อัล-ฟาติล
- ฮูเซน อัล-โมกาห์วี
- ฮัททาน บาฮ์บรี
- อับเดลคาริม ฮัสซัน
- บัสซาม ฮิชัม อัล ราวี
- บูอาเล็ม คูกี
- โอมาร์ อัล โซมาห์
- โอมาร์ คริบิน
- ชนาธิป สรงกระสินธ์
- ธีรศิลป์ แดงดา
- ฐิติพันธ์ พ่วงจันทร์
- ศุภชัย ใจเด็ด
- อาร์สลันมีรัต อามานอฟ
- อัลตืยมืยรัต อันนาดูร์ดืยเยฟ
- อาห์เมต อาตาเยฟ
- โอดิล อาห์เมดอฟ
- จาโลลิดดิน มาชาริปอฟ
- ยาโวคีร์ ซิดิคอฟ
- อาห์เหม็ด คาลิล
- คาลฟาน มูบารัค
- เหงียน กง เฝื่อง
- เหวียน กวาง ไฮ
- เก ง็อค ไฮ
- การทำเข้าประตูตัวเอง
- อาลี ฟาเอซ อาติยาห์ (ในนัดที่พบกับ เวียดนาม)
- ปาเวล มาติอัช (ในนัดที่พบกับ จีน)
การตลาด
[แก้]สัญลักษณ์
[แก้]ตุ๊กตาสัญลักษณ์
[แก้]ถ้วยรางวัล
[แก้]ถ้วยรางวัลแบบใหม่ออกแบบโดยโทมัส ไลต์ จากประเทศอังกฤษ ถ้วยทำด้วยเงินมีความสูง 72 เซนติเมตร กว้าง 42 เซนติเมตร หนัก 15 กิโลกรัม โดยออกแบบถ้วยเป็นดอกบัว 5 ชั้น ซึ่งแสดงถึงห้าภูมิภาคของเอเอฟซี ได้แก่ เอเชียตะวันตก (ดับเบิลยูเอเอฟเอฟ), เอเชียกลาง (ซีเอเอฟเอ), เอเชียใต้ (เอสเอเอฟเอฟ), เอเชียตะวันออก (อีเอเอฟเอฟ) และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เอเอฟเอฟ) ซึ่งดอกบัวมีความหมายถึงสันติสุขและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และฐานด้านล่างถ้วยรางวัลจารึกแชมป์เอเชียนคัพตั้งแต่ปี 1956 จนถึงครั้งล่าสุดเมื่อปี 2015
ลูกฟุตบอล
[แก้]ลูกฟุตบอลอย่างเป็นทางการที่ใช้ในการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 คือ "มอลเทน อเซนเทค" ผลิตและออกแบบโดย บริษัท มอลเทน คอร์ปอเรชั่น
เงินรางวัล
[แก้]เงินรางวัลสำหรับการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 รวมทั้งสิ้น 14,800,000 เหรียญสหรัฐ แบ่งออกเป็น
- 5 ล้านเหรียญสหรัฐ – สำหรับทีมชนะเลิศ
- 3 ล้านเหรียญสหรัฐ – สำหรับทีมรองชนะเลิศ
- 1 ล้านเหรียญสหรัฐ – สำหรับทีมที่เข้ารอบรองชนะเลิศ
- 2 แสนเหรียญสหรัฐ – สำหรับทีมที่เข้ารอบแบ่งกลุ่ม (24 ทีม)
การถ่ายทอดสด
[แก้]ปัญหา
[แก้]ตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน 2017 หลังจากประเทศกาตาร์ถูกตัดความสัมพันธ์ทางการทูตโดยประเทศซาอุดีอาระเบีย และยังรวมถึงประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทำให้ประเทศกาตาร์ถูกตัดการติดต่อระหว่างพรมแดนทางบก ทางทะเล และทางอากาศ และห้ามประชาชนกาตาร์เข้ามาในประเทศ แต่ในภายหลังรัฐบาลอนุญาตให้ชาวกาตาร์เข้ามาในประเทศได้ แต่ยังไม่ชัดเจนว่าประชาชนที่เดินทางจากกาตาร์จะได้รับอนุญาตให้เข้าประเทศได้หรือไม่
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ExCo approves expanded AFC Asian Cup finals". AFC. 16 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 25 August 2014.
- ↑ ฟีฟ่า (16 มีนาคม 2562). "อวสานคอนเฟด! ฟีฟ่าเสนอจัดชิงแชมป์สโมสรโลกทุก 4 ปี". www.foxsports.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-22. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "UAE to host AFC Asian Cup 2019 in eight stadiums in four cities". the-afc.com. สืบค้นเมื่อ 23 February 2016.
- ↑ "AFC Asian Cup 2019 Competition Regulations". AFC.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC Asian Cup, the-AFC.com