ฟุตบอลทีมชาติกาตาร์
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ฉายา | العنابي (The Maroon) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลกาตาร์ | ||
สมาพันธ์ย่อย | WAFF (เอเชียตะวันตก) | ||
สมาพันธ์ | เอเอฟซี (เอเชีย) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Félix Sánchez | ||
กัปตัน | ฮะซัน อัลฮัยดูส[1] | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | ฮะซัน อัลฮัยดูส (170)[2] | ||
ทำประตูสูงสุด | มันศูร มุฟตาห์ กับ อัลมุอิซ อะลี (42) | ||
สนามเหย้า | หลายแห่ง | ||
รหัสฟีฟ่า | QAT | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 48 (19 ธันวาคม 2024)[3] | ||
อันดับสูงสุด | 42 (สิงหาคม ค.ศ. 2021) | ||
อันดับต่ำสุด | 113 (พฤศจิกายน ค.ศ. 2010) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
บาห์เรน 2–1 กาตาร์ (มะดีนะฮ์อีซา ประเทศบาห์เรน; 27 มีนาคม ค.ศ. 1970) | |||
ชนะสูงสุด | |||
กาตาร์ 15–0 ภูฏาน (โดฮา ประเทศกาตาร์; 3 กันยายน ค.ศ. 2015) | |||
แพ้สูงสุด | |||
คูเวต 9–0 กาตาร์ (ประเทศคูเวต; 8 มกราคม ค.ศ. 1973) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 1 (ครั้งแรกใน 2022) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบกลุ่ม (2022) | ||
เอเชียนคัพ | |||
เข้าร่วม | 11 (ครั้งแรกใน 1980) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (2019, 2023) | ||
อาหรับคัพ | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 1985) | ||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ (1998) | ||
คอนคาแคฟโกลด์คัพ | |||
เข้าร่วม | 1 (ครั้งแรกใน 2021) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบรองชนะเลิศ (2021) | ||
เว็บไซต์ | qfa.qa |
ฟุตบอลทีมชาติกาตาร์ (อาหรับ: منتخب قطر لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศกาตาร์ อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลกาตาร์และสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย
ทีมเคยเข้าร่วมแข่งขันในเอเชียนคัพ 11 ครั้ง โดยชนะเลิศสองสมัยในปี 2019 และ 2023 พวกเขาลงเล่นเกมเหย้าส่วนใหญ่ที่สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์และสนามกีฬาญัสซิม บิน ฮะมัด โดยสนามแห่งหลังถือว่าเป็นสนามเหย้าหลักของทีมชาติ[4]
กาตาร์ลงเล่นในฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายครั้งแรกในปี 2022 ซึ่งพวกเขาผ่านเข้ารอบได้ในฐานะเจ้าภาพ ถือเป็นครั้งแรกที่ชาติอาหรับเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก อย่างไรก็ตาม พวกเขาตกรอบแบ่งกลุ่มด้วยความพ่ายแพ้สามนัดรวด
ผลงาน
[แก้]ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม
ภาพรวม | ||||
---|---|---|---|---|
รายการแข่งขัน | อันดับที่ 1 | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 3 | |
อาหรับคัพ | 0 | 1 | 1 | |
เอเชียนคัพ | 1 | 0 | 0 | |
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันตก | 1 | 0 | 1 | |
กัลฟ์คัพ | 3 | 4 | 2 | |
เอเชียนเกมส์ | 1 | 0 | 0 | |
ทั้งหมด | 6 | 5 | 4 |
สถิติในฟุตบอลโลก | สถิติในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ปี | ผลงาน | อันดับ | แข่ง | ชนะ | เสมอ* | แพ้ | ได้ | เสีย | แข่ง | ชนะ | เสมอ* | แพ้ | ได้ | เสีย | |||
1930 | ยังไม่เป็นสมาชิกฟีฟ่า | ยังไม่เป็นสมาชิกฟีฟ่า | |||||||||||||||
1934 | |||||||||||||||||
1938 | |||||||||||||||||
1950 | |||||||||||||||||
1954 | |||||||||||||||||
1958 | |||||||||||||||||
1962 | |||||||||||||||||
1966 | ไม่ได้เข้าร่วม | ปฏิเสธการเข้าร่วม | |||||||||||||||
1970 | |||||||||||||||||
1974 | ถอนตัวจากรอบคัดเลือก | ถอนตัวจากการแข่งขัน | |||||||||||||||
1978 | ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | 4 | 1 | 0 | 3 | 3 | 9 | ||||||||||
1982 | 4 | 2 | 0 | 2 | 5 | 3 | |||||||||||
1986 | 4 | 2 | 0 | 2 | 6 | 3 | |||||||||||
1990 | 11 | 4 | 6 | 1 | 12 | 8 | |||||||||||
1994 | 8 | 5 | 1 | 2 | 22 | 8 | |||||||||||
1998 | 11 | 6 | 1 | 4 | 21 | 10 | |||||||||||
2002 | 14 | 7 | 4 | 3 | 24 | 13 | |||||||||||
2006 | 6 | 3 | 0 | 3 | 16 | 8 | |||||||||||
2010 | 16 | 6 | 4 | 6 | 16 | 20 | |||||||||||
2014 | 14 | 5 | 5 | 4 | 18 | 14 | |||||||||||
2018 | 16 | 9 | 1 | 6 | 35 | 14 | |||||||||||
2022 | รอบแบ่งกลุ่ม | อันดับที่ 32 | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 7 | ผ่านเข้ารอบในฐานะเจ้าภาพ | ||||||||
2026 | รอแข่งขัน | รอแข่งขัน | |||||||||||||||
รวมทั้งหมด | รอบแบ่งกลุ่ม | 1/22 | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 7 | 108 | 50 | 22 | 36 | 178 | 110 |
- 1956-1972 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1976 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1980-1992 - รอบแรก
- 1996 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 2000 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2004 - รอบแรก
- 2007 - รอบแรก
- 2011 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2019 - ชนะเลิศ
- 2023 - ชนะเลิศ
- 2000-2004 - ไม่ได้เข้าร่วม
กัลฟ์คัพ
[แก้]- ชนะเลิศ - 1992, 2004
เอเชียนเกมส์
[แก้]- เหรียญทอง - 2006
ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี
[แก้]- ชนะเลิศ - 1990
โอลิมปิกเกมส์
[แก้]- เข้ารอบสุดท้าย - 1984, 1992
อาหรับ คัพ ออฟ เนชั่นส์
[แก้]- รองชนะเลิศ - 1998
ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
[แก้]- รองชนะเลิศ - 1981
ผู้เล่นชุดปัจจุบัน
[แก้]ผู้เล่นทีมชาติกาตาร์ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบสุดท้ายที่พวกเขาเป็นเจ้าภาพ โดยประกาศรายชื่อผู้เล่นรอบสุดท้ายเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022[5]
# | ตำแหน่ง | ผู้เล่น | วันเกิด (อายุ) | ลงเล่น | ประตู | สโมสร |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | GK | ซะอด์ อัชชีบ | 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) | 76 | 0 | อัสซัดด์ |
2 | DF | รอ-รอ | 6 สิงหาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) | 80 | 1 | อัสซัดด์ |
3 | MF | อับดุลกะรีม ฮะซัน | 28 สิงหาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) | 130 | 15 | อัสซัดด์ |
4 | DF | มุฮัมมัด วะอด์ | 18 กันยายน ค.ศ. 1999 (อายุ 23 ปี) | 21 | 0 | อัสซัดด์ |
5 | DF | ฏอริก ซัลมาน | 5 ธันวาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 24 ปี) | 58 | 0 | อัสซัดด์ |
6 | MF | อับดุลอะซีซ ฮาติม | 28 ตุลาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) | 107 | 11 | อัรร็อยยาน |
7 | FW | อะห์มัด อะลาอุดดีน | 31 มกราคม ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) | 47 | 2 | อัลฆ็อรรอฟะฮ์ |
8 | MF | อะลี อะซะดุลลอฮ์ | 19 มกราคม ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) | 59 | 12 | อัสซัดด์ |
9 | FW | มุฮัมมัด มูนตารี | 20 ธันวาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 28 ปี) | 48 | 13 | อัดดุฮัยล์ |
10 | MF | ฮะซัน อัลฮัยดูส (กัปตัน) | 11 ธันวาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 31 ปี) | 169 | 36 | อัสซัดด์ |
11 | FW | อักร็อม อะฟีฟ | 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) | 89 | 26 | อัสซัดด์ |
12 | MF | กะรีม บูฎียาฟ | 16 กันยายน ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) | 115 | 6 | อัดดุฮัยล์ |
13 | DF | มุศอับ เคาะฎิร | 26 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) | 30 | 0 | อัสซัดด์ |
14 | DF | ฮุมาม อะห์มัด | 25 สิงหาคม ค.ศ. 1999 (อายุ 23 ปี) | 29 | 2 | อัลฆ็อรรอฟะฮ์ |
15 | DF | บัสซาม อัรรอวี | 16 ธันวาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 24 ปี) | 58 | 2 | อัดดุฮัยล์ |
16 | DF | บูอ์ลาม คูคี | 7 กันยายน ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) | 105 | 20 | อัสซัดด์ |
17 | DF | อิสมาอีล มุฮัมมัด | 5 เมษายน ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) | 70 | 4 | อัดดุฮัยล์ |
18 | FW | คอลิด มุนีร | 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี) | 2 | 0 | อัลวักเราะฮ์ |
19 | FW | อัลมุอิซซ์ อะลี | 19 สิงหาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) | 85 | 42 | อัดดุฮัยล์ |
20 | MF | ซาลิม อัลฮาจญ์รี | 10 เมษายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) | 22 | 0 | อัสซัดด์ |
21 | GK | ยูซุฟ ฮะซัน | 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) | 7 | 0 | อัลฆ็อรรอฟะฮ์ |
22 | GK | มัชอัล บัรชัม | 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี) | 20 | 0 | อัสซัดด์ |
23 | MF | อาศิม มาดีบู | 22 ตุลาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) | 43 | 0 | อัดดุฮัยล์ |
24 | MF | นายิฟ อัลฮัฎเราะมี | 18 กรกฎาคม ค.ศ. 2001 (อายุ 21 ปี) | 1 | 0 | อัรร็อยยาน |
25 | MF | ญาซิม ญาบิร | 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2002 (อายุ 20 ปี) | 0 | 0 | อัลอะเราะบี |
26 | MF | มุศเฏาะฟา มัชอัล | 28 มีนาคม ค.ศ. 2001 (อายุ 21 ปี) | 1 | 0 | อัสซัดด์ |
ชุดแข่งขัน
[แก้]ชุดเหย้าของกาตาร์เป็นสีแดงเลือดหมูล้วน ส่วนชุดเยือนเป็นสีขาวล้วน ผู้ผลิตชุดแข่งขันรายแรกสุดคืออัมโบรซึ่งผลิตชุดแข่งตั้งแต่ ค.ศ. 1984 ถึง 1989 ปัจจุบันชุดแข่งขันทั้งหมดของกาตาร์ผลิตโดยไนกี้
ผู้ผลิต | ช่วงปี |
---|---|
อัมโบร | 1984–1989 |
อาดิดาส | 1990–1996 |
แกรนด์สปอร์ต | 1997–2002 |
อาดิดาส | 2003–2008 |
Burrda | 2009–2011 |
ไนกี้ | 2012–ปัจจุบัน |
เกียรติประวัติ
[แก้]รายการหลัก
[แก้]- อาระเบียนกัลฟ์คัพ
- ชนะเลิศ (3): 1992, 2004, 2014
- ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันตก
- ชนะเลิศ (1): 2014
- เอเชียนเกมส์
- ชนะเลิศ (1): 2006
รายการอื่น ๆ
[แก้]- ฟุตบอลชิงแชมป์กระชับมิตรนานาชาติ
- ชนะเลิศ (1): 2018
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Al Haydos: It's an honour to captain my country". FIFA.com. 13 November 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2016. สืบค้นเมื่อ 25 December 2017.
- ↑ "Hassan Khalid Al-Haydos - Century of International Appearances".
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 19 ธันวาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2024.
- ↑ "Qatar stadia". qatarvisitor.com. สืบค้นเมื่อ 26 December 2014.
- ↑ "Coach Sanchez names Qatar squad for World Cup debut". Qatar Football Association. 11 November 2022. สืบค้นเมื่อ 12 November 2022.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Qatar Football Association (เว็บไซต์ทางการ)
- Qatar – FIFA profile
- Qatar – NFT profile