ข้ามไปเนื้อหา

การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศเกาหลีใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศเกาหลีใต้
แผนที่เมืองพิเศษและเทศบาลที่มีผู้ติดเชื้อยืนยันหรือสงสัย (ณ วันที่ 21 ธันวาคม 2563):
  ยืนยัน 1–9 คน
  ยืนยัน 10–99 คน
  ยืนยัน 100–499 คน
  ยืนยัน 500–999 คน
  ยืนยัน 1000–9999 คน
  ยืนยันมากกว่าหรือเท่ากับ 10000 คน
โรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สถานที่ประเทศเกาหลีใต้
การระบาดครั้งแรกอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน
ผู้ป่วยต้นปัญหาท่าอากาศยานอินช็อน
วันแรกมาถึง20 มกราคม พ.ศ. 2563 (4 ปี 9 เดือน 24 วัน)
ผู้ป่วยยืนยันสะสม70,212 คน
ผู้ป่วยปัจจุบัน14,391 คน
ผู้ต้องสงสัยป่วย182,914 คน
อาการร้ายแรง0 คน
หาย54,636 คน
เสียชีวิต1,185 คน
อัตราการเสียชีวิต1.36%
เว็บไซต์ของรัฐบาล
ncov.mohw.go.kr/en
ผู้ป่วยต้องสงสัยยังไม่ได้รับยืนยันว่าเกิดขึ้นจากสายพันธุ์นี้จากการทดสอบทางห้องปฏิบัติการ แม้อาจแยกสายพันธุ์อื่นออกไปบ้างแล้ว

การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศเกาหลีใต้ ดำเนินอยู่ในประเทศเกาหลีใต้ ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นวันที่พบผู้ติดเชื้อรายแรกในประเทศ[1] โดยจำนวนผู้ติดเชื้อในประเทศเกาหลีใต้ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ เพิ่มขึ้น 20 ราย และวันที่ 20 กุมภาพันธ์ เพิ่มขึ้น 58[2] จนในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 มีผู้ติดเชื้อรวม 346 ราย ซึ่งบันทึกโดยสำนักงานควบคุมและป้องกันโรคแห่งเกาหลี (KCDC) และสถานการณ์เลวร้ายขึ้นจากกิจกรรม แพเชิน 31 ซึ่งเป็นกิจกรรมทางศาสนาคริสต์ที่คริสตจักรพระเยซูชินซ็อนจิในแทกู[3][4]

ท่ามกลางความตระหนกว่าจะมีผู้ติดเชื้อเพิ่มมากกว่านี้ทำให้กิจกรรมที่มีผู้ชุมนุมเป็นจำนวนมากหลายกิจกรรมต้องถูกยกเลิกไป และเริ่มมีมาตการปิดกั้นในเมืองต่างๆ ของประเทศ และทหาร 300 นายในแทกูก็ถูกแยกตัวออกมาและกักตัว[5][6] ทั้งนี้ยังปฏเสธการเข้าประเทศของชาวต่างประเทศที่มาจากมณฑลหูเป่ย ประเทศจีนอีกด้วย[7][8]

ในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2563 ในประเทศเกาหลีใต้มีผู้ติดเชื้อถึง 10,423 รายและเสียชีวิต 204 ราย[9] และอีก 494,711 รายอยู่ระหว่างการตรวจรักษา ซึ่งอัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อในประเทศเกาหลีใต้เฉลี่ยที่ 1.95 เปอร์เซ็นต์[10] เกาหลีใต้จัดเป็นประเทศที่มีการแพร่ระบาดร้ายแรงที่สุดประเทศหนึ่งและควบคุมการระบาดได้ดีที่สุดประเทศหนึ่งร่วมกับประเทศไต้หวันและประเทศเวียดนาม[11][12]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 신종 코로나바이러스 한국인 첫환자 확인. MK (ภาษาเกาหลี). 서진우. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 January 2020. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020.
  2. "Archived copy" 31번 환자 연관 신천지교회 대남병원서 확진자 58명, 1명 사망. 20 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 February 2020. สืบค้นเมื่อ 21 February 2020.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ThomReut_SKorea_zombie
  4. "Coronavirus: South Korea reports 161 new cases, bringing total to 763; 7th death reported". The Straits Times. 24 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2020. สืบค้นเมื่อ 24 February 2020.
  5. "Seoul city to ban rallies, Shincheonji church services to curb virus". YNA. 21 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 February 2020. สืบค้นเมื่อ 21 February 2020.
  6. "Soldiers in Daegu areas banned from leaving bases, meeting visitors". YNA. 21 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 February 2020. สืบค้นเมื่อ 21 February 2020.
  7. Park, Rosyn (4 February 2020). "S. Korea Bars Foreigners Traveling from Hubei Province". TBS. Seoul. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 August 2020.
  8. "As Virus Spreads, Koreans Blame Refusal to Stop Chinese Visitors". Bloomberg. 2020-02-28. สืบค้นเมื่อ 2020-04-06.
  9. "Coronavirus South Korea". Worldometer. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 March 2020. สืบค้นเมื่อ 18 March 2020.
  10. "COVID-19 Realtime Dashboard". COVID-19 Realtime Dashboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.
  11. "Taiwan Has Been Shut Out of Global Health Discussions". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.
  12. "Coronavirus Lessons from Singapore, Taiwan and Hong Kong". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ COVID-19 pandemic in South Korea
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Press releases about the COVID-19 pandemic by Ministry of Health and Welfare (South Korea)