การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศบังกลาเทศ
การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศบังกลาเทศ พ.ศ. 2563 | |
---|---|
แผนที่จำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสมรายท้องที่ (ณ 8 มิถุนายน)
ไม่มีรายงานผู้ติดเชื้อ
ยืนยันผู้ติดเชื้อ 1-9 คน
ยืนยันผู้ติดเชื้อ 10-99 คน
ยืนยันผู้ติดเชื้อ 100-999 คน
ยืนยันผู้ติดเชื้อ 1000-9999 คน
ยืนยันผู้ติดเชื้อมากกว่าหรือเท่ากับ 10000 คน | |
โรค | โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 |
สถานที่ | ประเทศบังกลาเทศ |
การระบาดครั้งแรก | อู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน ร่วมกับ อิตาลี, สหราชอาณาจักร |
ผู้ป่วยต้นปัญหา | ธากา |
วันแรกมาถึง | 8 มีนาคม พ.ศ. 2563 (4 ปี 9 เดือน 18 วัน) |
ผู้ป่วยยืนยันสะสม | 78,050 คน[1][2] |
หาย | 16,747 คน |
เสียชีวิต | 1,049 คน[3] |
corona |
การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562–2563 โดยได้รับการยืนยันว่าเริ่มต้นขึ้นที่ประเทศบังกลาเทศ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2563[5]
ภูมิหลัง
[แก้]เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ยืนยันว่าไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยทางเดินหายใจในกลุ่มคนในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน ซึ่งรายงานต่อองค์การอนามัยโลกในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562[6][7]
อัตราป่วยตายของผู้ป่วยสำหรับโควิด-19 นั้นต่ำกว่าโรคซาร์ส พ.ศ. 2546 มาก[8][9] แต่การแพร่เชื้อมีความหมายมากกว่า ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตที่มีนัยสำคัญ[8][10]
เส้นเวลา
[แก้]มีนาคม
[แก้]มีการเตรียมหมายเลขฉุกเฉิน, ที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และหน้าเพจเฟซบุ๊กของสถาบันศึกษาระบาดวิทยา, การควบคุมโรค และการค้นคว้าวิจัย (IEDCR) สำหรับการตอบคำถามอันมีผู้สงสัยเกี่ยวกับโควิด-19 ต้องการข้อมูลอันนำไปสู่ความเข้าใจที่ถูกต้อง[14]
เมื่อวันที่ 7 มีนาคม มีผู้ติดเชื้อเป็นกรณีแรก จากการตรวจผลพบเป็นบวกในการตรวจหาเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ โดยมีการแถลงข่าวอย่างเป็นทางการในวันถัดมา[15]
วันที่ 8 มีนาคม ผู้อำนวยการสถาบันศึกษาระบาดวิทยา, การควบคุมโรค และการค้นคว้าวิจัย ได้แถลงข่าวต่อสื่อมวลชนที่กรุงธากาว่า พบผู้ติดเชื้อกรณีแรกเป็นชายสองคน และหญิงหนึ่งคน โดยจากการตรวจหาเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่พบเป็นบวก โดยผู้ติดเชื้อมีอายุระหว่าง 20-35 ปี ผู้ติดเชื้อหญิงนั้น ติดเชื้อจากชายซึ่งเป็นสมาชิกของครอบครัว โดยการสัมผัส ซึ่งผู้ติดเชื้อชายดังกล่าวได้กลับมาจากประเทศอิตาลีก่อนจะเข้ามายังประเทศบังกลาเทศ
วันที่ 16 มีนาคม ทางการได้ประกาศพบผู้ติดเชื้อเพิ่มเป็น 3 รายในประเทศบังกลาเทศ โดยหนึ่งในกลุ่มนั้นมีเด็กเป็นจำนวนทั้งสิ้น 2 ราย[16] ต่อมา กระทรวงศึกษาธิการบังกลาเทศได้สั่งระงับการเปิดโรงเรียนตั้งแต่นี้ จนถึงวันที่ 31 มีนาคม และมหาวิทยาลัยกรุงธากาตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม จนถึง 28 มีนาคม พ.ศ. 2563[17][18]
วันที่ 17 มีนาคม พบผู้ติดเชื้อเพิ่มอีก 2 ราย โดยหนึ่งในสองเป็นชาวบังกลาเทศที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศเป็นเวลานาน และอีกคนหนึ่งพำนักอยู่ใกล้เขตกักกันโรค
วันที่ 18 มีนาคม ทางการบังกลาเทศประกาศพบผู้เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 เป็นชายวัยสูงอายุอายุ 70 ปี โดยได้เสียชีวิตในวันพุธ และมีอาการเสริมอันเป็นเหตุให้เสียชีวิต คือ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง และระบบหัวใจ นอกจากนี้ ยังสามารถรักษาจนหายทั้งหมด 3 ราย
วันที่ 19 มีนาคม พบผู้ติดเชื้อเพิ่มอีก 3 ราย โดยทั้งหมดเป็นสมาชิกครอบครัวของผู้กลับมาจากประเทศอิตาลีหนึ่งราย โดยแบ่งเป็นผู้ติดเชื้อชายอายุ 32 ปี และ 65 ปี เป็นจำนวนสองราย กับหญิงอายุ 22 ปี เป็นจำนวนหนึ่งราย
วันที่ 20 มีนาคม มีรายงานพบผู้ติดเชื้อเป็น 3 ราย แบ่งเป็นหญิง 1 ราย และชาย 2 ราย หนึ่งในนั้นเป็นชาวบังกลาเทศที่กลับมาจากการไปประเทศอิตาลี โดยผู้ติดเชื้อคนอื่นอยู่ในห้องดูแลผู้ป่วยหนัก (ไอซียู) และอายุพวกเขาอายุเกิน 70 ปีขึ้นไป[19] ซ่องโสเภณีที่ใหญ่ที่สุดในโลกภายในประเทศได้ถูกสั่งระงับลงเพื่อการไม่แพร่ระบาดของไวรัส[20]
วันที่ 21 มีนาคม พบผู้ติดเชื้อเพิ่มอีก 4 ราย นอกเหนือจาก การเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อชายสูงวัยอายุ 70 ปี ที่อยู่ในห้องดูแลผู้ป่วยหนัก (ไอซียู) ซึ่ง ณ ขณะวันนี้ มีผู่ต้องถูกกันกันตัวตรวจหาโรคเป็นจำนวนทั้งสิ้น 50 ราย[21]
รัฐบาลได้รับการช่วยเหลือทางด้านการแพทย์และบุคลากรจากประเทศจีน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขบังกลาเทศ ได้ชี้แจงผ่านสื่อมวลชนว่า ทางการจีนได้ส่งหน้ากากอนามัย ชุดป้องกันการติดเชื้อโรค และเวชภัณฑ์อันมีความจำเป็นต่อการใช้งานทางด้านสาธารณสุข
วันที่ 22 มีนาคม พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 3 ราย ซึ่งเป็นชาวบังกลาเทศสองรายเดินทางมาจากต่างประเทศ และอีกหนึ่งรายติดเชื้อจากการสนทนากับผู้ติดเชื้อก่อนหน้า ในครั้งนี้ มีผู้ติดเชื้อจากก่อนหน้านี้หายเป็นจำนวนทั้งสิ้นเพิ่มอีก 2 ราย[22] การทดสอบวิชาการระดับมัธยมศึกษา (ทดสอบ เฮชเอสซี) โดยมีกำหนดการเดิมจะจัดสอบในวันที่ 1 เมษายน ได้ถูกเลื่อนไปอย่างไม่มีกำหนด จนกว่าจะมีประกาศอย่างเป็นทางการอีกครั้งหนึ่ง[23]
วันที่ 23 มีนาคม พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 6 ราย (ชาย 3 ราย, หญิง 3 ราย) พบเป็นแพทย์ 1 ราย และพยาบาล 2 ราย และเสียชีวิต 1 รายตามการรายงาน[24] รัฐบาลสั่งประกาศปิดสถานที่ราชการ, ห้างสรรพสินค้า, ร้านค้า, ตลาดจนไปถึงระบบขนส่งมวลชนตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม จนถึง 4 เมษายน และจะมีการประกาศให้วันปกติเป็นวันหยุดชั่วคราว ซึ่งต้องรอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี[25]
วันที่ 24 มีนาคม พบผู้ติดเชื้อเพิ่มอีก 6 ราย หนึ่งในนั้นเป็นผู้ถูกส่งตัวกลับมายังประเทศ[5] และมีผู้สูงวัยอายุ 70 ปีขึ้นไป เสียชีวิตจากโรคโควิด-19
วันที่ 25 มีนาคม ไม่พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม รวมพบผู้ทดสอบเชื้อเป็นบวก 39 ราย[5] พบผู้เสียชีวิตจากโรคโควิด-19 ในประเทศบังกลาเทศ ไม่ทราบเพศ อายุ 65 ปี เป็นญาติของผู้ทดสอบเชื้อเป็นบวก โดยเขา/เธอได้รับการตรวจหาเชื้อพบเป็นบวก และเข้ารับการรักษาเมื่อวันที่ 19 มีนาคม เมื่ออาการแย่ลง จึงนำตัวส่งไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลคูเวตเฟรนชิฟ ผู้ติดเชื้อมีโรคประจำตัว คือ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ต่อมา ได้เสียชีวิตในช่วงเช้าของวันที่ 25 มีนาคม[26] นอกจากนี้ การบินทั่วประเทศทุกระงับลงชั่วคราว[27]
วันที่ 26 มีนาคม พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 5 ราย รักษาหายเพิ่มอีก 6 ราย รวมพบผู้ติดเชื้อทั้งหมด 49 ราย[28] โดยผู้ติดเชื้อเพิ่มมาห้ารายนั้น อยู่ในกลุ่มอายุ 30-40 ปีพบสองราย อายุ 40-50 ปีพบสองราย และหนึ่งรายอายุมากกว่า 60 ปี[29] จากการรายงานของนังสือพิมพ์ ได้รายงานว่า หนึ่งในผู้ติดเชื้อนั้น เป็นข้าราชการในกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีผลการทดลองเป็นบวก[30] ทางการบังกลาเทศยกเลิกกิจกรรมในส่วนของภาครัฐบาลเนื่องในโอกาสวันฉลองอิสรภาพ 50 ปี ลง เนื่องจากเหตุการแพร่ระบาดอันเป็นการลดการรวมตัวกันเป็นหมู่คณะ อย่างไรก็ดี ยังมีการประดับประดาไปด้วยแสงไฟตามริมถนน และการประดับธงชาติตามโครงสร้างอาคารต่าง ๆ[31] วันนี้ถือเป็นวันแรกของการประกาศชัตดาวน์เป็นเวลาสิบวันของรัฐบาล[32][33]
วันที่ 27 มีนาคม พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 4 ราย รวมมีผู้ติดเชื้อ 48 ราย ในผู้ติดเชื้อเพิ่มใหม่ทั้งหมด แบ่งเป็นหญิง 3 ราย และชาย 1 ราย โดยเป็นแพทย์ที่รักษาผู้ติดเชื้อโควิด-19 สองราย และสองรายอยู่ในธากา กีบอีกสองรายนั้นอยู่นอกธากา ผู้ติดเชื้อสามในสี่นั้นติดเชื้อจากการพบปะและรักษากับผู้ที่ติดเชื้อ ส่วนอีกรายไม่ทราบแหล่งที่มาที่อันแน่ชัด[34][35][36][37] ทางการได้ประกาศว่า นอกเหนือจากการตรวจหาเชื้อที่สถาบันศึกษาระบาดวิทยา, การควบคุมโรค และการค้นคว้าวิจัยนั้น สามมารถไปตรวจหาเชื้อได้อีกสามแห่งทั่วประเทศจากสถาบันสาธารณสุข (IPH) โรงพยาบาลธากาชิชุ และสถาบันศึกษาโรคเขตร้อน และเชื้อโรคติดต่อแห่งบังกลาเทศ (BITID)[38] ณ ขณะนี้ มีรายงานว่าผู้เสียชีวิตจากโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่มาจากเมืองคอก' บาซาร์, เจซอด, ครากราชารลี, นอรคารลี, ราชหิ เป็นต้น[34][39][40][41] ทางการบังกลาเทศประกาศยัยยั้งการบินภายในและภายนอกประเทศระหว่างวันที่ 30 มีนาคม ถึงวันที่ 7 เมษายน โดยตอนนี้มีสายการบินในวันที่ 29 มีนาคม ไปยังลอนดอนและแมนเชตเตอร์ และขากลับมายังธากาในวันที่ 30 มีนาคม[42] แม้จะมีการล็อกดาวน์ แต่ชาวมุสลิมยังคงกระทำนมาซวันศุกร์ในประจำวันศุกร์[43][44] รัฐบาลได้รับอุปกรณ์ทางการแพทย์ 300,000 ชิ้นจากมูลนิธิแจ็ก หม่าของอาลีบาบา[45][46]
วันที่ 28 มีนาคม ไม่พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม รักษาหายเพิ่มขึ้นมา 4 ราย[47][48] โดยมีผู้เข้ารับได้ตรวจหาผลทดลองทั้งหมด 1,076 ราย พบผลทดลองเป็นบวกทั้งหมด 48 ราย เสียชีวิตทั้งหมด 5 ราย รักษาหายทั้งหมด 15 ราย อย่างไรก็ดี ผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวว่ายังมีคนจำนวนมากที่ยังไม่ได้รับการตรวจสอบในการหาโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่[49]
เมษายน
[แก้]เมื่อวันที่ 1 เมษายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขกล่าวในที่ประชุมผ่านวิดีทัศน์ว่า พบผู้ติดเชื้อเพิ่มสามราย และเสียชีวิตหนึ่งราย รวมติดเชื้อทั้งหมด 54 ราย และเสียชีวิตรวม 9 ราย[50]
วันที่ 2 เมษายน มีการตรวจหาเชื้อเพิ่มทั้งหมด 141 ราย พบผลเป็นบวกจึงติดเชื้อเป็นจำนวน 2 ราย หนึ่งในนั้นอายุระหว่าง 30-40 ปี และอีกรายอายุระหว่าง 70-80 ปี[51]
วันที่ 3 เมษายน มีการตรวจหาเชื้อเพิ่มทั้งหมด 513 ราย พบผลเป็นบวกจึงติดเชื้อเพิ่ม 5 ราย รวมติดเชื้อจำนวนทั้งหมด 61 ราย[52] มีหนึ่งร้อยครอบครัวต้องถูกกักกันตัวทั้งหมด เนื่องจากสถาบันศึกษาระบาดวิทยา, การควบคุมโรค และการค้นคว้าวิจัย (IEDCR) ได้ประกาศพบหญิงเสียชีวิตหนึ่งรายจากโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ที่เมืองนารายัณคัญช์[53]
วันที่ 4 เมษายน มีการตรวจหาเชื้อเพิ่มทั้งหมด 434 ราย พบผลเป็นบวกจึงติดเชื้อเพิ่ม 9 ราย รวมติดเชื้อจำนวนทั้งหมด 70 ราย เสียชีวิตเพิ่ม 2 ราย รวมเสียชีวิตจำนวนทั้งหมด 8 ราย[54]
วันที่ 5 เมษายน มีการตรวจหาเชื้อเพิ่มทั้งหมด 367 ราย[55] พบผลเป็นบวกจึงติดเชื้อเพิ่ม 18 ราย รวมติดเชื้อจำนวนทั้งหมด 88 ราย เสียชีวิตเพิ่ม 1 ราย รวมเสียชีวิตจำนวนทั้งหมด 9 ราย[56]
วันที่ 14 เมษายน เจ็ดรายเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง ปัจจุบัน มีผู้เสียชีวิตรวม 24 ราย นอกจากนี้ ผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นมา 209 ราย รวมผู้ติดเชื้อสะสมทั้งหมด 1,022 ราย[57]
วันที่ 20 เมษายน มีผู้ติดเชื้อเพิ่ม 492 ราย เสียชีวิตเพิ่ม 10 ราย ทางการได้ออกมาตรการเยียวยาในส่วนของธนาคารประเทศบังกลาเทศ โดยมีงบประมาณเป็นจำนวนทั้งสิ้น 10 ล้านทากา จัดตั้งเป็นกองทุนรีไฟแนนซ์จะนำไปเยียวยากลุ่มคนผู้มีรายได้น้อย อาทิ เกษตรกร และเจ้าของธุรกิจขนาดเล็กภายในประเทศบังกลาเทศ[58]
วันที่ 25 เมษายน มีผู้ติดเชื้อรวมทั้งหมด 4,689 ราย และเสียชีวิตรวม 131 รายในประเทศบังกลาเทศ และเป็นวันที่มียอดติดเชื้อมากที่สุดในประเทศบังกลาเทศ[59][60]
พฤษภาคม
[แก้]เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ทางการแถลงการณ์พบผู้ติดเชื้อรวมกว่า 8,000 ราย มีผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้นทั้งหมด 8,238 ราย มีผู้เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 กว่า 170 ราย รักษาหายแล้วรวม 174 ราย มีผู้อยู่กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจหาไวรัสทั้งหมดรวม 70,239 รายภายในประเทศ[61]
วันที่ 4 พฤษภาคม มีผู้ติดเชื้อเกินกว่า 10,000 รายในประเทศบังกลาเทศ พบผู้ติดเชื้อภายในวันเดียว 688 ราย รวมผู้ติดเชื้อทั้งหมด 10,143 ราย มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 182 ราย ผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้น 5 ราน[62]
วันที่ 6 พฤษภาคม มีผู้ติดเชื้อรวมทั้งหมดในประเทศบังกลาเทศ 11,719 ราย พบผู้ติดเชื้อเพิ่มในประเทศบังกลาเทศ 790 ราย มีผู้เสียชีวิตเพิ่ม 3 ราย รวมผู้เสียชีวิตทั้งหมด 186 ราย[63]
วันที่ 18 พฤษภาคม มีผู้ติดเชื้อเพิ่มในประเทศบังกลาเทศภายในวันเดียว 1,602 ราย รวมผู้ติดเชื้อทั้งหมด 23,870 ราย มีผู้เสียชีวิตเพิ่ม 21 ราย รวมผู้เสียชีวิตทั้งหมด 349 ราย[64]
วันที่ 19 พฤษภาคม มีผู้ติดเชื้อภายในวันเดียวรวมทั้งหมด 25,121 ราย ติดเชื้อเพิ่ม 1,251 ราย 21 รายเสียชีวิตเพิ่มจากการติดเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ รวมผู้เสียชีวิตกว่า 370 ราย[65]
วันที่ 24 พฤษภาคม มีผู้ติดเชื้อภายในประเทศบังกลาเทศกว่า 33,610 ราย ติดเชื้อเพิ่ม 1,532 รายภายในวันเดียว และมีผู้เสียชีวิตเพิ่ม 28 รายจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รวมมีผู้เสียชีวิต 480 ราย[66]
มิถุนายน
[แก้]เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน มีผู้ติดเชื้อเพิ่ม 2,381 ราย ติดเชื้อรวมทั้งหมด 49,534 ราย มีผู้เสียชีวิตเพิ่ม 22 ราย เสียชีวิตรวมทั้งหมด 672 ราย และรักษาหายเพิ่ม 816 ราย รักษาหายรวมทั้งหมด 10,597 ราย[67]
วันที่ 2 มิถุนายน มีผู้ติดเชื่อกว่า 50,000 ราย โดยมีผู้ติดเชือเพิ่ม 2,911 ราย มีผู้ติดเชื้อรวมทั้งหมด 52,445 ราย มีผู้เสียชีวิตเพิ่ม 37 ราย ผู้เสียชีวิตรวมทั้งหมด 709 ราย และรักษาหายเพิ่ม 523 ราย รักษาหายรวมทั้งหมด 11,120 ราย[68]
วันที่ 3 มิถุนายน มีผู้ติดเชื้อเพิ่ม 2,695 ราย รวมมีผู้ติดเชื้อทั้งหมด 55,140 ราย ผู้เสียชีวิตเพิ่ม 37 ราย ผู้เสียชีวิตรวมทั้งหมด 746 ราย และรักษาหายเพิ่ม 470 ราย รักษาหายรวมทั้งหมด 11,590 ราย[69]
ผลสืบเนื่อง
[แก้]การอพยพจากพื้นที่เสี่ยง
[แก้]เมื่อวันที่ 31 มกราคม ทางการได้จัดเที่ยวบินพิเศษจัดสรรอากาศยานโดยสายการบินบังคลาเทศพิมาน พร้อมกับแพทย์สวมชุดป้องกันพิเศษสามรายพร้อมอุปกรณ์เบื้องต้นทางการแพทย์ เพื่ออพยพประชาชนชาวบังกลาเทศที่ค้างจากเมืองอู่ฮั่นกลับมาสู่ราชอาณาจักร[70]
1 กุมภาพันธ์ พลเมืองบังกลาเทศ 312 ราย (ผู้ใหญ่ 297 รายและเด็ก 15 ราย) เตรียมความพร้อมในเมืองอู่ฮั่น ทางการจีนอนุมัติให้กลับไปยังประเทศบังกลาเทศได้ ชาวบังกลาเทศส่วนใหญ่เป็นผู้กำลังศึกษาในระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยในมณฑลหูเป่ย์ โดยก่อนที่จะไปยังอากาศยานได้มีการตรวจรับรองโดยเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นเพื่อความปลอดภัยในการเสี่ยงติดเชื้อ โดยทั้งหมดมาถึงถูกกักกันตัวเป็นระยะเวลา 14 วัน บางแห่งถูกกกักตัวที่ค่ายฮัจญ์ในกรุงธากา และบางแห่งก็ถูกกักกันตัวในโรงพยาบาลทหาร ทั้งหมดถูกปล่อยตัวหลังจากกักมาเป็นระยะสองสัปดาห์[71][72] ไม่มีผู้ทดสอบแล้วผลเป็นบวกต่อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่[73][74]
มาตรการการเว้นระยะห่างทางสังคม
[แก้]เมื่อวันที่ 17 มีนาคม เมื่อประเทศบังกลาเทศพบผู้ติดเชื้อแล้ว 8 ราย รัฐบาลได้สั่งหยุดโรงเรียนทั้งหมดในส่วนของวันภาคเรียนที่เหลือในเดือนมีนาคม มหาวิทยาลัยธากาก็สั่งหยุดช่วงเวลาเดียวกัน[75] มีรายงานว่า นักท่องเที่ยวจำนวนมากมาชายหาดในเมืองจิตตะกอง และเมืองคอกส์บาซาร์ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรการของทางการ[76] รัฐบาลไม่สามารถควบคุมการละหมาดของมุสลิมภายในประเทศได้ อิหม่ามปฏิเสธในการปฏิบัติตามคำแนะนำของมูลนิธิอิสลาม[77] นักวิชาการสภาแอตแลนติกสองรายได้แสดงความคิดเห็นว่า มาตรการของรัฐบาลเปรียบเสมือนแค่เงาเท่านั้น[76]
วันที่ 23 มีนาคม เมื่อประเทศบังกลาเทศพบผู้ติดเชื้อแล้ว 33 ราย รัฐบาลสั่งหยุดราชการในช่วงเวลา 26 มีนาคม - 4 เมษายน หวังหยุดการแพร่ระบาดของไวรัส กิจการสถานที่ราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชนถูกสั่งปิดในช่วงระยะเวลานี้ ยกเว้น สถานบริการฉุกเฉิน พลเมืองต้องทำความเข้าใจในเรื่องการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลและการกักกันตัวที่บ้าน การขนส่งสาธารณะถูกยกเลิกไปบางส่วน ประชาชนจำเป็นต้องหลีกเลี่ยงในการเดินทางโดยขนส่งสาธารณะ[78] มาตรการนี้ถูกเรียกว่าการล็อกดาวน์โดยสื่อ[79][80] แม้จะไม่เข้มงวด[81]
ทางการขอความร่วมมือกองทัพให้ส่งเสริมในการปฏิบัติมาตรการการเว้นระยะห่างระว่างบุคคล[82] เอบีซีนิวส์ออสเตรเลีย รายงานว่า มีการจัดตั้งทหาร 290 คณะควบคุมความสงบภายในประเทศ ถนนในเมืองใหญ่โล่ง ประชาชนภายในเมืองธากาต่างกลับไปยังภูมิลำเนาในประเทศบังกลาเทศ[83]
วันที่ 9 เมษายน ทางการบังกลาเทศสั่งล็อกดาวน์อำเภอคอกส์บาซาร์ อันเป็นที่ตั้งของค่ายลี้ภัยชาวโรฮิงญา "ไม่มีการเข้าและออก จนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้นกว่านี้" หนึ่งในข้อความคำสั่งล็อกดาวน์ของการเว้นระยะห่างทางสังคมโดยรัฐบาล[84]
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
[แก้]แม้ว่าโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าจะถูกยกเว้นในมาตรการ แต่แรงงานกว่าล้านคนในโรงงานดังกล่าวถูกเลิกจ้างงานสาเหตุจากอัตราการสั่งซื้อเสื้อน้อยลงกว่าที่ควรจะเป็น ซึ่งถือเป็นจำนวนแรงงานหนึ่งในสี่ของแรงงานทั้งประเทศบังกลาเทศ[85]
วันที่ 5 เมษายน นายกรัฐมนตรี ชีค ฮาสินา แถลงการณ์กระตุ้นเศรษฐกิจด้วยงบประมาณ 8.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[86]
สถิติ
[แก้]ตารางรายวัน
[แก้]ภายใน 24 ชั่วโมง | หมายเหตุ | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ว/ด/ป | รวมจำนวนเข้ารับการตรวจสอบ (ตั้งแต่ 21-01-2563) | รวมจำนวนกรณีติดเชื้อ (เหตุ) | รวมจำนวนผู้เสียชีวิต (ราย) | รวมจำนวนผู้หายจากการติดเชื้อ (ราย) | เข้ารับการตรวจสอบ (ราย) | เหตุติดเชื้อ (ราย) | เสียชีวิต (ราย) | รักษาหาย (ราย) | |
07-03-2563 | 111[88] | 0 | 0 | 0 | 0 | ||||
11-03-2563 | 142[89] | 3 | 0 | 2 | 0 | ||||
12-03-2563 | 163[90] | 3 | 0 | 2 | 0 | ||||
13-03-2563 | 187[91] | 3 | 0 | 2 | 0 | ||||
14-03-2563 | 211[92] | 5 | 0 | 3 | 0 | ||||
15-03-2563 | 231[93] | 5 | 0 | 3 | 0 | ||||
16-03-2563 | 241[94] | 8 | 0 | 3 | 0 | 0 | |||
17-03-2563 | 277[95] | 10 | 0 | 2 | 0 | 0 | |||
18-03-2563 | 351[96] | 14 | 1 | 3 | 10 | 4 | 1 | 1 | ชายสามเดินทางกลับจากประเทศอิตาลีและประเทศคูเวต ส่วนหญิงเป็นสมาชิกครอบครัวของผู้ติดเชื้อ |
19-03-2563 | 397 | 17 | 1 | 3 | 46 | 3 | 0 | 0 | ชายสองกลับมาจากประเทศอิตาลี ส่วนหญิงเป็นสมาชิกครอบครัวของผู้ติดเชื้อ |
20-03-2563 | 433 | 20 | 1 | 3 | 36 | 3 | 0 | 0 | |
21-03-2563 | 433*
(ดูหมายเหตุ) |
24 | 2 | 3 | 36*
(ดูหมายเหตุ) |
4 | 1 | 2 | พบผู้เสียชีวิตรายแรกจากการสัมผัสผู้คนบนสังคม[97] *รัฐบาลแถลงข่าวว่า มีผู้ได้รับการตรวจสอบภายใน 24 ชั่วโมงทั้งหมด 433 ราย และพบผู้ติดเชื้อจำนวนเป็นทั้งหมด 36 ราย จากข้อมูลคาดการณ์ว่า เป็นข้อความที่บิดเบือน |
22-03-2563 | 564 | 27 | 2 | 5 | 27 | 3 | 0 | 0 | พบผู้ติดเชื้อเป็นแพทย์รายแรกจากการรักษาผู้ที่ติดเชื้อซี่งเสียชีวิตเมื่อวันที่ 20 มีนาคม[98] |
23-03-2563 | 620 | 33 | 3 | 5 | 56 | 6 | 1 | 0 | พบกรณีติดเชื้อใหม่แบ่งเป็น: ชาย 3 ราย, หญิง 3 ราย; เป็นบุคลากรสาธรสุข 3 ราย, กลับจากต่างประเทศ 2 ราย มีผู้เสียชีวิตจากการสัมผัสผู้คนบนสังคม |
24-03-2563 | 712 | 39 | 4 | 5 | 92 | 6 | 1 | 0 | |
25-03-2563 | 794 | 39 | 5 | 5 | 82 | 0 | 1 | 6 | |
26-03-2563 | 920 | 44 | 5 | 11 | 126 | 5 | 0 | 0 | |
27-03-2563 | 1026 | 48 | 5 | 11 | 106 | 4 | 0 | 0 | |
28-03-2563 | 1076 | 48 | 5 | 15 | 47 | 0 | 0 | 4 | |
29-03-2563[99] | 1,185[100] | 48 | 5 | 15 | 109 | 0 | 0 | 4 | |
30-03-2563[101] | 1,338[102] | 49 | 5 | 19 | 153 | 1 | 0 | 4 | |
31-03-2563[103] | 1,602[104] | 51 | 5 | 25 | 140 | 2 | 0 | 6 | |
01-04-2563[105] | 1,759[106] | 54 | 6 | 26 | 157 | 1 | 1 | 1 | |
02-04-2563[107] | 1,906[108] | 56 | 6 | 26 | 141 | 2 | 0 | 0 | |
03-04-2563[109] | 2,113[110] | 61 | 6 | 26 | 203 | 5 | 0 | 0 | |
04-04-2563[111] | 2,547[112] | 70 | 8 | 30 | 434 | 9 | 2 | 4 | |
05-04-2563[113] | 2,914[114] | 88 | 9 | 33 | 367 | 18 | 1 | 3 | |
06-04-2563[115] | 3,610[116] | 164 | 17 | 33 | 468 | 41 | 5 | 0 | |
07-04-2563[111] | 4,289[117] | 164 | 17 | 33 | 792 | 41 | 5 | 0 | |
08-04-2563[118] | 5,194[119] | 218 | 20 | 33 | 981 | 54 | 3 | 0 | |
09-04-2563[120] | 6,175[121] | 330 | 21 | 33 | 905 | 112 | 1 | 0 | |
10-04-2563[120] | 7,359[122] | 424 | 27 | 33 | 1184 | 94 | 6 | 0 | |
11-04-2563[123] | 8,313 | 482 | 30 | 36 | 954 | 58 | 3 | 3 | |
12-04-2563[124] | 9,653 [125] | 621 | 34 | 39 | 1340 | 139 | 4 | 3 | |
13-04-2563[126] | 11,223 [127] | 803 | 39 | 42 | 1570 | 182 | 5 | 3 | |
14-04-2563[128] | 13,128 | 1,012 | 46 | 42 | 1905 | 209 | 7 | 0 | |
15-04-2563[129] | 14,868 | 1,231 | 50 | 49 | 1740 | 219 | 4 | 7 | |
16-04-2563[130] | 17,003 | 1,572 | 60 | 49 | 2135 | 341 | 10 | 0 | |
17-04-2563[131] | 19,193 | 1,838 | 75 | 58 | 2190 | 266 | 15 | 9 | |
18-04-2563[132] | 21,307 | 2,144 | 84 | 66 | 2114 | 306 | 9 | 8 | |
19-04-2563 | 23,941 | 2,456 | 91 | 75 | 2,634 | 312 | 7 | 9 | |
20-04-2563 | 26,604 | 2,948 | 101 | 85 | 2,779 | 492 | 10 | 10 | |
21-04-2563 | 29,578 | 3,382 | 110 | 87 | 2,974 | 434 | 9 | 2 | |
22-04-2563 | 32,630 | 3,772 | 120 | 92 | 3,043 | 390 | 10 | 5 | |
23-04-2563 | 36,090 | 4,186 | 127 | 108 | 3,460 | 414 | 7 | 16 | |
24-04-2563 | 39,476 | 4,689 | 131 | 112 | 3,386 | 503 | 4 | 4 | |
25-04-2563 | 43,113 | 4,998 | 140 | 113 | 3,637 | 309 | 9 | 1 | |
26-04-2563 | 46,589 | 5,416 | 145 | 122 | 3,476 | 418 | 5 | 9 | |
27-04-2563 | 50,401 | 5,913 | 152 | 131 | 3,812 | 497 | 7 | 9 | |
28-04-2563 | 54,733 | 6,462 | 155 | 139 | 4,332 | 549 | 3 | 8 | |
29-04-2563 | 59,701 | 7,103 | 163 | 150 | 4,968 | 641 | 8 | 11 | |
30-04-2563 | 64,666 | 7,667 | 168 | 160 | 4,965 | 564 | 5 | 10 | |
01-05-2563 | 70,239 | 8,238 | 170 | 174 | 5,573 | 571 | 2 | 14 | |
02-05-2563 | 76,066 | 8,790 | 175 | 177 | 5,827 | 552 | 5 | 3 | |
03-05-2563 | 81,434 | 9,455 | 177 | 177 | 5,368 | 665 | 2 | 0 | |
04-05-2563 | 87,694 | 10,143 | 182 | 1,209 | 6,260 | 688 | 5 | 146 | |
05-05-2563 | 93,405 | 10,929 | 183 | 1,403 | 5,711 | 786 | 1 | 194 | |
06-05-2563 | 99,646 | 11,719 | 186 | 1.403 | 6,241 | 790 | 3 | 194 | |
07-05-2563 | 105,513 | 12,425 | 199 | 1,910 | 5,867 | 706 | 13 | 507 | |
08-05-2563 | 111,454 | 13,134 | 206 | 2,101 | 5,941 | 709 | 7 | 191 | |
09-05-2563 | 116,919 | 13,770 | 214 | 2,414 | 5,518 | 636 | 8 | 313 | |
10-05-2563[133] | 122,657 | 14,657 | 228 | 2,650 | 5,738 | 887 | 14 | 236 | |
11-05-2563 | 129,865 | 15,691 | 239 | 2,902 | 7,208 | 1,034 | 11 | 252 | |
12-05-2563 | 136,638 | 16,660 | 250 | 3,147 | 6,773 | 969 | 11 | 245 | |
13-05-2563 | 144,538 | 17,822 | 269 | 3,361 | 7,900 | 1,162 | 19 | 214 | |
14-05-2563 | 151,930 | 18,863 | 283 | 3,603 | 7,392 | 1,041 | 14 | 242 | |
15-05-2563 | 160,512 | 20,065 | 298 | 3,882 | 8,582 | 1,202 | 15 | 279 | |
16-05-2563 | 167,114 | 20,995 | 314 | 4,117 | 6,602 | 930 | 16 | 235 | |
17-05-2563 | 175,228 | 22,268 | 328 | 4,373 | 8,114 | 1,273 | 14 | 256 | |
18-05-2563 | 185,086 | 23,870 | 349 | 4,585 | 9,858 | 1,602 | 21 | 212 | |
19-05-2563 | 193,645 | 25,121 | 370 | 4,993 | 8,559 | 1,251 | 21 | 408 | |
20-05-2563 | 203,852 | 26,738 | 386 | 5,207 | 10,207 | 1,617 | 16 | 214 | |
21-05-2563 | 214,114 | 28,511 | 408 | 5,602 | 10,262 | 1,773 | 22 | 395 | |
22-05-2563 | 223,841 | 30,205 | 432 | 6,190 | 9,727 | 1,694 | 24 | 588 | |
23-05-2563 | 234,675 | 32,078 | 452 | 6,486 | 10,834 | 1,873 | 20 | 296 | |
24-05-2563 | 243,583 | 33,610 | 480 | 6,901 | 8,908 | 1,532 | 28 | 415 | |
25-05-2563 | 253,034 | 35,585 | 501 | 7,334 | 9,451 | 1,975 | 21 | 433 | |
26-05-2563[134] | 258,550 | 36,751 | 522 | 7,579 | 5,516 | 1,166 | 21 | 245 | |
27-05-2563 | 266,456 | 38,292 | 544 | 7,925 | 7,906 | 1,541 | 22 | 346 | |
28-05-2563 | 275,776 | 40,321 | 559 | 8,425 | 9,320 | 2,029 | 15 | 500 | |
29-05-2563 | 287,067 | 42,844 | 582 | 9,015 | 11,291 | 2,523 | 23 | 590 | |
30-05-2563 | 297,054 | 44,608 | 610 | 9,375 | 9,987 | 1,764 | 28 | 360 | |
31-05-2563 | 308,930 | 47,153 | 650 | 9,781 | 11,876 | 2,545 | 40 | 406 | |
01-06-2563 | 320,969 | 49,534 | 672 | 10,597 | 12,039 | 2,381 | 22 | 816 | |
02-06-2563 | 333,073 | 52,445 | 709 | 11,120 | 12,104 | 2,911 | 37 | 523 | |
03-06-2563 | 345,583 | 55,140 | 746 | 11,590 | 12,510 | 2,695 | 37 | 470 | |
04-06-2563 | 358,277 | 57,563 | 781 | 12,161 | 12,694 | 2,423 | 35 | 571 | |
05-06-2563 | 372,365 | 60,391 | 811 | 12,804 | 14,088 | 2,828 | 30 | 643 | |
06-06-2563 | 384,851 | 63,026 | 846 | 13,325 | 12,486 | 2,635 | 35 | 521 | |
07-06-2563 | 397,987 | 65,769 | 888 | 13,903 | 13,136 | 2,743 | 42 | 578 | |
08-06-2563 | 410,841 | 68,504 | 930 | 14,560 | 12,854 | 2,735 | 42 | 657 | |
09-06-2563 | 425,595 | 71,675 | 975 | 15,337 | 14,754 | 3,171 | 45 | 777 | |
10-06-2563 | 441,560 | 74,865 | 1,012 | 15,900 | 15,965 | 3,190 | 37 | 563 | |
11-06-2563 | 457,332 | 78,052 | 1,049 | 16,747 | 15,772 | 3,187 | 37 | 847 |
แผนภูมิ
[แก้]ตารางรายท้องที่
[แก้]เมืองใหญ่ | เมือง/อำเภอ | รวมกรณีผู้ติดเชื้อ (ราย) | |
---|---|---|---|
ม. | มญ. | ||
ธากา | เมืองธากา | 14997 | 19979 |
ธากา (อำเภอ) | 629 | ||
คาชีปุระ | 618 | ||
กิโศรคัญชะ | 231 | ||
มาทารีปุระ | 107 | ||
มานิกคัญชะ | 132 | ||
นารายณคัญชะ | 1917 | ||
มุนสีคัญชะ | 655 | ||
นรสิงที | 175 | ||
ราชพาริ | 66 | ||
ผริทปุระ | 147 | ||
ฏางคาอิละ | 51 | ||
ศริยตปุระ | 89 | ||
โคปาลคัญชะ | 165 | ||
จิตตะกอง | จิตตะกอง | 1948 | 4057 |
คอกส์บาซาร์ | 470 | ||
คูมิลลา | 680 | ||
พราหมณพาริยา | 115 | ||
ลักษมีปุระ | 104 | ||
จันทปุระ | 107 | ||
โนยาขาลี | 417 | ||
พานทรพานะ | 22 | ||
รัฐกามฑิ | 63 | ||
เฟนี | 96 | ||
คาร์กาชาริ | 35 | ||
สิเลฏ | เมาลภีบาซาร์ | 103 | 597 |
สุนามคัญชะ | 97 | ||
หพิคัญชะ | 165 | ||
สิเลฏ | 232 | ||
รังปุระ | รังปุระ | 394 | 835 |
คาอิพานธา | 36 | ||
นีลผามารี | 90 | ||
ลาลมนิรหาฏะ | 35 | ||
กุริคราม | 64 | ||
ทินาชปุระ | 115 | ||
ฐากุระคามโอ | 61 | ||
ปัญจครห์ | 40 | ||
ขุลนา | ขุลนา | 67 | 505 |
นราอิละ | 26 | ||
จุยาฑางา | 88 | ||
เจสซอร์ | 144 | ||
พาเครหาฏะ | 17 | ||
มาคุระ | 24 | ||
เมเหรปุระ | 12 | ||
ฌินาอิทหะ | 48 | ||
กุษฏิยา | 39 | ||
สักกิหระ | 40 | ||
ไมมันสิงห์ | ไมมันสิงห์ | 409 | 908 |
ชามาลปุระ | 206 | ||
เนตรโกนา | 210 | ||
เศรปุระ | 83 | ||
แบริซาล | พรคุนา | 44 | 212 |
แบริซาล | 68 | ||
ปฏุยาขาลี | 36 | ||
ปิโรชปุระ | 23 | ||
ฌาลกาฐิ | 27 | ||
โภลา | 14 | ||
ราชชาฮี | ราชชาฮี | 56 | 643 |
ชยปุรหาฏะ | 135 | ||
ปาพนา | 37 | ||
ฌาปายนวะคัญชะ | 49 | ||
พคุฑา | 196 | ||
นาโฏระ | 51 | ||
สิราชคัญชะ | 17 | ||
นาฏกาโฏน | 51 | ||
รวม (8 เมืองใหญ่) | 27736 | ||
ข้อมูล ณ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2563[135] |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ [1] เก็บถาวร 2020-03-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Prothom Alo
- ↑ [2] (CSSE) Johns Hopkins University
- ↑ "Covid-19 Status Bangladesh". Institute of Epidemiology, Disease Control and Research (IEDCR). สืบค้นเมื่อ 3 May 2020.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Coronavirus: 5 more infected in Bangladesh, raising total to 61". Dhaka Tribune. 3 April 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2020. สืบค้นเมื่อ 3 April 2020.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 Research (IEDCR), Institute of Epidemiology, Disease Control and. "করোনা ইনফো". corona.gov.bd (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-27.
- ↑ Elsevier. "Novel Coronavirus Information Center". Elsevier Connect. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ Reynolds, Matt (4 March 2020). "What is coronavirus and how close is it to becoming a pandemic?". Wired UK. ISSN 1357-0978. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2020. สืบค้นเมื่อ 5 March 2020.
- ↑ 8.0 8.1 "Crunching the numbers for coronavirus". Imperial News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ "High consequence infectious diseases (HCID); Guidance and information about high consequence infectious diseases and their management in England". GOV.UK (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
- ↑ "World Federation Of Societies of Anaesthesiologists – Coronavirus". www.wfsahq.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ "করোনা ইনফো, Institute of Epidemiology, Disease Control and Research (IEDCR)". IEDCR. 9 April 2020.
- ↑ "Bangladesh confirms 6 more deaths from coronavirus, 94 new cases". bdnews24.com. 10 April 2020.
- ↑ "Five more coronavirus patients die, 182 test positive in 24hrs: health minister". The Daily Star. 13 April 2020.
- ↑ Kamrul Hasan; and Ashif Islam Shaon (8 March 2020). "First 3 cases of coronavirus confirmed in Bangladesh". Dhaka Tribune (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2020.
{{cite news}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ SM Najmus Sakib (8 March 2020). "Bangladesh confirms first case of coronavirus". Anadolu Agency (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 March 2020.
- ↑ "আরও ৩ জন করোনাভাইরাসে আক্রান্ত" (ภาษาเบงกอล). bdnews24. 16 March 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-16. สืบค้นเมื่อ 16 March 2020.
- ↑ "৩১ মার্চ পর্যন্ত শিক্ষাপ্রতিষ্ঠান বন্ধ" (ภาษาเบงกอล). Daily Prothom Alo. 16 March 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-25. สืบค้นเมื่อ 16 March 2020.
- ↑ "Dhaka University shut down over coronavirus fears". UNB. 16 March 2020. สืบค้นเมื่อ 16 March 2020.
- ↑ "বাংলাদেশে আক্রান্ত আরো ৩ জন, একজনের অবস্থা আশঙ্কাজনক" (ภาษาเบงกอล). BBC Bangla. 20 March 2020. สืบค้นเมื่อ 21 March 2020.
- ↑ "Sex workers in one of world's largest brothel appeal for funds due coronavirus". Reuters. 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 23 March 2020.
- ↑ "করোনাভাইরাসে বাংলাদেশে দ্বিতীয় মৃত্যু, আক্রান্ত আরও ৪" (ภาษาเบงกอล). bdnews24. 21 March 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-25. สืบค้นเมื่อ 21 March 2020.
- ↑ "তিন জন নতুন করে আক্রান্ত, পুরনোদের মধ্যে দুজন সুস্থ হয়ে বাড়ি যাবেন" (ภาษาเบงกอล). BBC Bangla. 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 22 March 2020.
- ↑ "এইচএসসি-সমমানের পরীক্ষা স্থগিত" (ภาษาเบงกอล). Prothom Alo. 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 22 March 2020.
- ↑ "1 more dies of coronavirus, 6 new cases confirmed: IEDCR". Daily Star. 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 23 March 2020.
- ↑ "Govt offices closed from March 26 to April 4: Cabinet secretary". Daily Star. 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 23 March 2020.
- ↑ "দেশে করোনায় আরেকজনের মৃত্যু, ২৪ ঘণ্টায় শনাক্ত নেই". প্রথম আলো (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "অভ্যন্তরীণ ফ্লাইট আজ রাত ১২টা থেকে বন্ধ". প্রথম আলো (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ Research (IEDCR), Institute of Epidemiology, Disease Control and. "করোনা ইনফো". result.dpe.gov.bd (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-25. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "নতুন পাঁচ রোগীর চারজনের বয়স ৩০ থেকে ৫০ বছর". প্রথম আলো (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "স্বাস্থ্যমন্ত্রীর দপ্তরের কর্মকর্তা করোনাভাইরাসে আক্রান্ত". প্রথম আলো (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Bangladesh observes Independence Day without celebrations". New Age | The Most Popular Outspoken English Daily in Bangladesh (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ Correspondent, Senior; bdnews24.com. "Bangladesh in virtual lockdown as coronavirus fight flares". bdnews24.com. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Dhaka wears deserted look as 10-day holiday begins". New Age | The Most Popular Outspoken English Daily in Bangladesh (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ 34.0 34.1 "Two doctors among four new cases". The Daily Star (ภาษาอังกฤษ). 2020-03-28. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "আরো ৪ জন করোনাভাইরাস আক্রান্ত বাংলাদেশে, দু'জন চিকিৎসক". BBC News বাংলা (ภาษาเบงกอล). 2020-03-27. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "দেশে আরও চারজন করোনায় আক্রান্ত: আইইডিসিআর". প্রথম আলো (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Delta Hospital's ICU head tests positive with Covid-19". The Business Standard (ภาษาอังกฤษ). 2020-03-27. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ Research (IEDCR), Institute of Epidemiology, Disease Control and. "করোনা ইনফো". result.dpe.gov.bd (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-25. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "হোম কোয়ারেন্টিনে নাইক্ষ্যংছড়ির ইউএনও". Dhaka Tribune Bangla. 2020-03-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-28. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "করোনাভাইরাসের উপসর্গ নিয়ে রোগীর মৃত্যু, চিকিৎসকসহ হোম কোয়ারেন্টাইনে চার". Dhaka Tribune Bangla. 2020-03-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-28. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "করোনাভাইরাসের উপসর্গ নিয়ে রাজশাহীতে নারীর মৃত্যু". Dhaka Tribune Bangla. 2020-03-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-28. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Biman folds its wings". The Daily Star (ภาษาอังกฤษ). 2020-03-28. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Coronavirus: Mosque attendance during Jumma prayer falls". Dhaka Tribune. 2020-03-27. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ কল্লোল, কাদির (2020-03-27). "বাংলাদেশের মসজিদগুলোয় জুম্মার ভিড়, সরকারি অনুরোধ মানা হচ্ছে না". BBC News বাংলা (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Bangladesh receives medical logistics from Jack Ma Foundation". Dhaka Tribune. 2020-03-27. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Jack Ma Foundation sends 30,000 testing kits to Bangladesh". Prothomalo (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "করোনাভাইরাসে নতুন আক্রান্ত নেই, মৃত্যুও নেই". প্রথম আলো (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ Correspondent, Staff; bdnews24.com. "No new coronavirus cases in Bangladesh as four more recover". bdnews24.com. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Coronavirus fatality rate highest in Bangladesh". New Age | The Most Popular Outspoken English Daily in Bangladesh (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "1 more dies of coronavirus, 3 new cases confirmed: health minister". The Daily Star (ภาษาอังกฤษ). 2020-04-01. สืบค้นเมื่อ 2020-04-02.
- ↑ "Two more infected with coronavirus: DGHS". The Daily Star (ภาษาอังกฤษ). 2020-04-02. สืบค้นเมื่อ 2020-04-02.
- ↑ "Coronavirus: 5 more infected, no new death in 24hrs". Dhaka Tribune. 2020-04-03. สืบค้นเมื่อ 2020-04-03.
- ↑ "Coronavirus outbreak: 100 N'ganj families put in self-isolation". The Daily Star (ภาษาอังกฤษ). 2020-04-03. สืบค้นเมื่อ 2020-04-03.
- ↑ "Bangladesh reports 2 more coronavirus deaths". The Daily Star (ภาษาอังกฤษ). 2020-04-04.
- ↑ করোনায় আক্রান্ত নতুন ১৮ রোগী কোন কোন এলাকার ? | Jamuna TV (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2020-04-05
- ↑ Correspondent, Senior; bdnews24.com. "Bangladesh confirms 18 more virus cases in highest single-day spike". bdnews24.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-05.
- ↑ "করোনায় দেশে আরও সাত জনের মৃত্যু, নতুন আক্রান্ত ২০৯". দি ডেইলি স্টার. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
- ↑ Harmachhi, Abdur Rahim (20 April 2020). "Bangladesh Bank announces Tk 30b lending scheme for low-income groups". BDNews24. BDNews24. สืบค้นเมื่อ 20 April 2020.
- ↑ Daily Star
- ↑ BangladeshUS
- ↑ করোনা শনাক্ত ৮০০০ ছাড়াল, মৃত্যু ১৭০
- ↑ Research (IEDCR), Institute of Epidemiology, Disease Control and. করোনা ইনফো. corona.gov.bd (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-05-04.
- ↑ "Bangladesh records highest spike in Covid-19 cases". en.somoynews.tv (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-28. สืบค้นเมื่อ 2020-05-08.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-28. สืบค้นเมื่อ 2020-06-02.
- ↑ corona.gov.bd, a2i |. "করোনা ভাইরাস ইনফো ২০১৯ |Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Information Bangladesh | corona.gov.bd". corona.gov.bd (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-05-23.
- ↑ corona.gov.bd, a2i |. "করোনা ভাইরাস ইনফো ২০১৯ |Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Information Bangladesh | corona.gov.bd". corona.gov.bd (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-05-24.
- ↑ "COVID-19 Bangladesh Update, 01 June, 2020". Embassy of France in Dhaka. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-28. สืบค้นเมื่อ 2020-06-03.
- ↑ "কোভিড-১৯ সংক্রান্ত পরিস্থিতির স্বাস্থ্য বুলেটিন (০২-০৬-২০২০)- স্বাস্থ্য অধিদপ্তর" (PDF). Corona_Bangladesh_Press Release. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 2020-06-03.
- ↑ "কোভিড-১৯ সংক্রান্ত পরিস্থিতির স্বাস্থ্য বুলেটিন (০৩-০৬-২০২০)- স্বাস্থ্য অধিদপ্তর" (PDF). Corona_Bangladesh_Press Release. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-07-14. สืบค้นเมื่อ 2020-06-03.
- ↑ "Government sends plane today to fly back citizens". New Age. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "312 Bangladeshis quarantined in Dhaka after arriving from Wuhan". New Age. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Govt brings 361 back from Wuhan early Saturday". New Age. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Expats asked to call IEDCR if in difficulties". New Age. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "23 Bangladeshis flown to Delhi from Wuhan". New Age. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ Educational institutions to remain closed till March 31, The Business Standard, 16 March 2020.
- ↑ 76.0 76.1 Irfan Nooruddin, Rudabeh Shahid, Defusing Bangladesh’s COVID-19 time bomb, Atlantic Council, 30 March 2020.
- ↑ Imam Hossain, Social distancing, at the masjid too, Prothomalo, 23 March 2020.
- ↑ Coronavirus outbreak: Govt orders closure of public, private offices from March 26 to April 4, The Daily Star, 23 March 2020.
- ↑ Bangladesh Introduces Country-Wide Lockdown, as Factories Already Face ‘Indefinite Shutdown’, Sourcing Journal, 25 March 2020.
- ↑ In Pictures: The effects of coronavirus lockdown in Bangladesh, Al Jazeera, 13 April 2020.
- ↑ Ina Ahmed, Shakhawat Liton, 21-day lockdown enough? Cambridge University study says: NO!, The Business Standard, 9 April 2020.
- ↑ Army to enforce social distancing, The Business Standard, 23 March 2020.
- ↑ News, A. B. C. "Soldiers enforce 10-day shutdown in Bangladesh to slow virus". ABC News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
{{cite web}}
:|last=
มีชื่อเรียกทั่วไป (help) - ↑ Coronavirus: Rohingya camps in Bangladesh put under 'complete lockdown', Straits Times, 9 April 2020.
- ↑ "1 Million Bangladeshi Garment Workers Lose Jobs Amid COVID-19 Economic Fallout". NPR.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 April 2020. สืบค้นเมื่อ 14 April 2020.
- ↑ "Bangladesh announces USD 8 billion stimulus package to fight coronavirus". The New Indian Express. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-06.
- ↑ "Corona Info Press Release". Corona Info. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-30.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ newsupload (2020-03-07). "দেশে যেকোনো সময় শনাক্ত হতে পারে করোনা: আইইডিসিআর". মত ও পথ (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2020-03-30.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Correspondent, Staff; bdnews24.com. "Two Bangladeshi patients recover from coronavirus infection, no new cases detected: IEDCR". bdnews24.com. สืบค้นเมื่อ 2020-03-30.
- ↑ "Coronavirus: 10 people in isolation, 4 quarantined in Bangladesh". Dhaka Tribune.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "করোনায় নতুন আক্রান্ত নেই, সুস্থ হয়ে ১ জন বাড়ি ফিরেছেন". প্রথম আলো (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2020-03-30.
- ↑ "No coronavirus patients in Bangladesh now". Dhaka Tribune. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-09.
- ↑ DhakaMarch 15, Sahidul Hasan Khokon; March 15, 2020UPDATED:; Ist, 2020 15:40. "Coronavirus outbreak: 5 confirmed cases in Bangladesh, 2,314 in quarantined, 10 in isolation". India Today (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-30.
{{cite web}}
: CS1 maint: extra punctuation (ลิงก์) CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์) - ↑ আরও ৩ করোনা রোগী শনাক্ত ; দুজন শিশু, একজন নারী | COVID19 (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2020-03-30
- ↑ "2 more coronavirus cases confirmed in Bangladesh". Dhaka Tribune. 2020-03-17. สืบค้นเมื่อ 2020-03-30.
- ↑ "Bangladesh reports first coronavirus death, number of active cases now 14". The Daily Star. 2020-03-18. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-30.
- ↑ "দেশে করোনায় আরও ৬ জন আক্রান্ত, একজনের মৃত্যু". প্রথম আলো (ภาษาเบงกอล). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "Delta Hospital's ICU head tests positive with Covid-19". The Business Standard. 2020-03-27. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-28.
- ↑ "করোনায় নতুন কেউ শনাক্ত হয়নি: আইইডিসিআর". প্রথম আলো. 2020-03-29. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ২৯ মার্চ" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-03-29. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "করোনায় নতুন কেউ শনাক্ত হয়নি: আইইডিসিআর". প্রথম আলো. 2020-03-30. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ৩০ মার্চ" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-03-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-09-09. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "নতুন করে আরও ২ জন করোনায় আক্রান্ত". বাংলা ট্রিবিউন. 2020-03-31. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ৩১ মার্চ" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-03-31. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-09-09. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "করোনাভাইরাসে দেশে আরও একজনের মৃত্যু: স্বাস্থ্যমন্ত্রী". প্রথম আলো. 2020-04-01. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ১ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-01. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "শনাক্ত নতুন আরও ২, মৃত্যু নেই: আইইডিসিআর". প্রথম আলো. 2020-04-01. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ২ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-02. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "দেশে করোনাভাইরাসে নতুন শনাক্ত ৫ জন: স্বাস্থ্যমন্ত্রী". প্রথম আলো. 2020-04-01. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ৩ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-03. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ 111.0 111.1 "নতুন করে ৯ জনের করোনা, মৃত ২". প্রথম আলো. 2020-04-01. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ৪ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-04. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "করোনায় আরও একজনের মৃত্যু, নতুন রোগী ১৮date=2020-03-31". বাংলা ট্রিবিউন. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ৫ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-05. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "নতুন করে ৯ জনের করোনা, মৃত ২". প্রথম আলো. 2020-04-01. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-09.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ৬ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-06. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-12.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ৭ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-07. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "২৪ ঘণ্টায় ৫৪ জনের করোনা শনাক্ত, মৃত ৩". প্রথম আলো. 2020-04-08. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ৮ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-08. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ 120.0 120.1 "এক দিনেই শনাক্ত ১১২, মৃত ১". প্রথম আলো. 2020-04-09. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ৯ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-09. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ১০ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-10. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "২৪ ঘণ্টায় নতুন শনাক্ত ৫৮, মৃত্যু ৩". প্রথম আলো. 2020-04-11. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "দেশে গত ২৪ ঘণ্টায় সবচেয়ে বেশি করোনা রোগী শনাক্ত". প্রথম আলো. 2020-04-12. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ১২ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-12. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "করোনা: বেড়েছে পরীক্ষা, বেড়েছে করোনা শনাক্ত, মৃত্যু ৫ জনের". prothomalo.com/. 2020-04-13. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "স্বাস্থ্য অধিদপ্তরের স্বাস্থ্য বুলেটিন ১৩ এপ্রিল" (PDF). করোনা বাংলাদেশ. 2020-04-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-09-09. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "দেশে করোনা শনাক্ত হাজার ছাড়াল". prothomalo.com/. 2020-04-14. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- ↑ "Covid-19 Status Bangladesh". Institute of Epidemiology, Disease Control and Research. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
- ↑ "Covid-19 Status Bangladesh". Institute of Epidemiology, Disease Control and Research. สืบค้นเมื่อ 2020-04-16.
- ↑ "Covid-19 Status Bangladesh". Institute of Epidemiology, Disease Control and Research. สืบค้นเมื่อ 2020-04-17.
- ↑ "Covid-19 Status Bangladesh". Institute of Epidemiology, Disease Control and Research. สืบค้นเมื่อ 2020-04-18.
- ↑ corona.gov.bd/graph
- ↑ https://bdnews24.com/bangladesh/2020/05/26/bangladesh-reports-21-more-virus-deaths-1166-new-cases
- ↑ "Confirmed COVID-19 cases upto 16 April 2020" (PDF). IEDCR. 14 April 2020. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)[ลิงก์เสีย]