ข้ามไปเนื้อหา

การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศภูฏาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศภูฏาน
โรคโควิด-19
สถานที่ประเทศภูฏาน
วันแรกมาถึง6 มีนาคม พ.ศ. 2563
(4 ปี 8 เดือน 7 วัน)
ผู้ป่วยยืนยันสะสม4,089 คน
เสียชีวิต3 คน

การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศภูฏาน ได้รับการยืนยันว่าได้ไปถึงประเทศภูฏานในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563

ภูมิหลัง

[แก้]

เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ยืนยันว่าไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยทางเดินหายใจในกลุ่มคนในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน ซึ่งรายงานต่อองค์การอนามัยโลกในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562[1][2]

อัตราป่วยตายของผู้ป่วยสำหรับโควิด-19 นั้นต่ำกว่าโรคซาร์ส พ.ศ. 2546 มาก[3][4] แต่การแพร่เชื้อน่าสังเกตมากกว่า ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตที่มีความหมาย[3][5]

เส้นเวลา

[แก้]

มีนาคม พ.ศ. 2563

[แก้]

22 มีนาคม: สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก กษัตริย์แห่งภูฏาน มีพระราชปราศัยระดับชาติว่าจะปิดพรมแดนของประเทศ[6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Elsevier. "Novel Coronavirus Information Center". Elsevier Connect. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  2. Reynolds, Matt (4 March 2020). "What is coronavirus and how close is it to becoming a pandemic?". Wired UK. ISSN 1357-0978. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2020. สืบค้นเมื่อ 5 March 2020.
  3. 3.0 3.1 "Crunching the numbers for coronavirus". Imperial News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  4. "High consequence infectious diseases (HCID); Guidance and information about high consequence infectious diseases and their management in England". GOV.UK (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
  5. "World Federation Of Societies of Anaesthesiologists – Coronavirus". www.wfsahq.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  6. "Instagram post by Her Majesty Queen Jetsun Pema • Mar 23, 2020 at 3:10am UTC". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-25.

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]